The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของห้องสมุดโรงเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunshinekukkai, 2018-03-27 03:06:29

การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของห้องสมุดโรงเรียน

การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของห้องสมุดโรงเรียน

Keywords: แผนเชิงกลยุทธ์

บทที่ 3

วธิ ดี าํ เนนิ การวจิ ยั

การวิจัยครั้งนี้มุงศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาตามทัศนะของ
ขาราชครูสังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้

1. ประชากร และกลุมตัวอยาง
2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
3. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมขอมูล
5. การวเิ คราะหข อ มลู
6. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

กาวิจยั ครง้ั น้ี ไดศึกษากับประชากรและกลุมตัวอยาง ดงั น.้ี
1. ประชากร ไดแก ขา ราชการครทู ป่ี ฏิบตั กิ ารสอนในโรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดสํานัก
งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร จาํ นวน 410 คน จาก 17 โรงเรยี น
2. กลุมตัวอยาง ไดแก ขาราชการครูปฏิบัติการสอนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานัก
งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ที่ไดจากการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (stratified random samplings)
โดยใชต ารางการกาํ หนดกลมุ ตวั อยา งของ เครจซี่ และมอรแกน (Krejcie & Morgan, 1970 : 8 )ไดกลุม
ตวั อยา งทง้ั หมด 206 คน แยกเปน ขา ราชการครโู รงเรยี นขนาดเลก็ 51 คน ขาราชการครูโรงเรียน
ขนาดกลาง จาํ นวน 89 คน และขา ราชการครโู รงเรยี นขนาดใหญ จาํ นวน 66 คน จาํ แนกเปน รายโรง
เรยี นดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย จาํ แนกตามขนาดของโรงเรยี นในเขตธนบรุ ี

กรงุ เทพมหานคร

ขนาดของโรงเรยี น ประชากร กลมุ ตวั อยา ง

เล็ก 104 51

กลาง 176 89

ใหญ 130 66

รวม 410 206

38

เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรง

เรยี นทผ่ี วู จิ ยั สรา งขน้ึ เอง แบง เปน แบง ออกเปน 2 ตอน ไดแก

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ลักษณะคําถามที่ใชเปนแบบเลือกตอบ เกี่ยวกับ

เพศ อายุ วฒุ ิ ตาํ แหนง ระยะเวลาทป่ี ฏบิ ตั กิ ารสอนและขนาดของโรงเรยี นทป่ี ฏิบตั กิ ารสอน

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

3 ดาน ไดแก ทักษะดานเทคนิควิธี ทักษะดานมนุษย และทักษะดานความคิดรวบยอด ลักษณะของแบบ

สอบถาม เปน แบบมาตรประมาณคา (rating scale) จาํ นวน 48 ขอ มีรายละเอียดดังนี้

1. ทักษะดานเทคนิควิธี ขอ 1-18 จาํ นวน 18 ขอ

2. ทักษะดานมนุษย ขอ 19-35 จาํ นวน 17 ขอ

3. ทักษะดา นความคิดรวบยอด ขอ 36-48 จาํ นวน 13 ขอ

ในการตอบแบบสอบถามแตล ะขอ จะมีมาตรวัดสําหรับประมาณคาเปนน้ําหนักของคะแนน

ตามระดับทักษะการบริหารวามีมากนอยเพียงใด โดยไดกําหนดคะแนนของชวงน้ําหนักแตละระดับ

ดงั น้ี

1 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับนอยที่สุด

2 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับนอย

3 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับปากลาง

4 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับมาก

5 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับมากที่สุด

การสรา งเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั

1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน ทั้ง 3 ดาน
ตามทฤษฎีของ โรเบริ ต แคทช ไดแก ทักษะดานเทคนิควิธี ทักษะดานมนุษย และทักษะดานความคิด
รวบยอด

2. สรางแบบสอบถามเปนขอคําถาม เกี่ยวกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนทั้ง 3
ดาน นาํ แบบสอบถามทส่ี รา งขน้ึ มาใหป ระธานกรรมการและกรรมการควบคมุ การทาํ ปรญิ ญานพิ นธ
ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของภาษาและความสมบูรณของเนื้อหา

39

3. นําแบบสอบถามที่ไดรับการปรับปรุงแลวไปใหกรรมการผูเชี่ยวชาญ 5 คนตรวจสอบ
ความเที่ยงตรงของขอคําถาม และใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม

4. นาํ แบบสอบถามมาดาํ เนนิ การปรบั ปรุงแกไ ขตามขอเสนอแนะของกรรมการผูเ ช่ยี วชาญ
5. นาํ เครอ่ื งมอื ทไ่ี ดร บั การตรวจสอบ และปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ
แลวนําไปทดลองใช (Try Out) กับครูผูสอนที่ไมใชกลุมตัวอยาง จาํ นวน 30 คน หลังจากนั้นนําแบบ
สอบถามทั้งหมดที่ไดมาทําการวิเคราะห เพื่อหาความเชื่อมั่น โดยใชว ธิ กี ารหาคา สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา
ของครอนบาค( Cronbach อางใน ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543 : 137) ไดคาความเชื่อมั่นของแบบสอบ
ถามเทากับ 0.97
6) นําแบบสอบถามที่หาคาความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นแลว ไปดําเนินการจัดพิมพเปนแบบ
สอบถามฉบับสมบูรณเพื่อใชในการเก็บรวบรวมขอมูลตอไป

การเกบ็ รวบรวมขอ มลู

ผูวิจัยไดดําเนินการแจกแบบสอบถามไปยังกลุมตัวอยางและเก็บรวบรวมขอมูลตามลําดับดังนี้
1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ขอความอนเุ คราะห
จากผูอํานวยการสํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร ในการเก็บรวบรวมขอมูล
2. นําหนังสือจากสํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร เรียนผูอํานวยการเขตธนบุรี เพอ่ื ขอ
ความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูลจากขาราชการครูในสังกัด ที่เปนกลุมตัวอยาง และแจกแบบ
สอบถามไปให จาํ นวน 206 ชุด
3. ผวู จิ ยั ไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามดว ยตนเอง จากโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานคร ไดร บั คนื จาํ นวน 206 ชุด คิดเปนรอยละ 100

การวเิ คราะหข อ มลู

ผวู จิ ยั นาํ แบบสอบถามทร่ี วบรวมไดม าตรวจสอบขน้ั ตน โดยทาํ การตรวจสอบขอ มู(Editing)
ตรวจดคู วามสมบรู ณข องการตอบแบบสอบถาม ตอจากนั้นนําแบบสอบถามมาลงรหัส ใหคะแนนตาม
น้ําหนักของคะแนนแตละขอ และบันทึกลงในคอมพิวเตอรเพื่อวิเคราะหขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร
โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู SPSS for Window (Statistical Package for the Social Science)

บทที่ 3

วธิ ดี าํ เนนิ การวจิ ยั

การวิจัยครั้งนี้มุงศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาตามทัศนะของ
ขาราชครูสังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้

1. ประชากร และกลุมตัวอยาง
2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
3. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
4. การเก็บรวบรวมขอมูล
5. การวเิ คราะหข อ มลู
6. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

กาวิจยั ครง้ั น้ี ไดศึกษากับประชากรและกลุมตัวอยาง ดงั น.้ี
1. ประชากร ไดแก ขา ราชการครทู ป่ี ฏิบตั กิ ารสอนในโรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดสํานัก
งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร จาํ นวน 410 คน จาก 17 โรงเรยี น
2. กลุมตัวอยาง ไดแก ขาราชการครูปฏิบัติการสอนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานัก
งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ที่ไดจากการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (stratified random samplings)
โดยใชต ารางการกาํ หนดกลมุ ตวั อยา งของ เครจซี่ และมอรแกน (Krejcie & Morgan, 1970 : 8 )ไดกลุม
ตวั อยา งทง้ั หมด 206 คน แยกเปน ขา ราชการครโู รงเรยี นขนาดเลก็ 51 คน ขาราชการครูโรงเรียน
ขนาดกลาง จาํ นวน 89 คน และขา ราชการครโู รงเรยี นขนาดใหญ จาํ นวน 66 คน จาํ แนกเปน รายโรง
เรยี นดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย จาํ แนกตามขนาดของโรงเรยี นในเขตธนบรุ ี

กรงุ เทพมหานคร

ขนาดของโรงเรยี น ประชากร กลมุ ตวั อยา ง

เล็ก 104 51

กลาง 176 89

ใหญ 130 66

รวม 410 206

73

ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควา จาํ แนกเปน รายโรงเรยี น
ในสงั กัดสาํ นักงานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร

ลาํ ดบั ประชากร กลุมตัวอยาง
ท่ี
โรงเรียน ขนาดโรงเรียน ขนาดโรงเรียน

เลก็ กลาง ใหญ รวม เลก็ กลาง ใหญ รวม

1 วดั โพธนิ มิ ติ ร - - 43 43 - - 22 22
2 วัดประยุรวงศ
3 วดั กลั ยาณมติ ร 20 - - 20 10 - 10
4 วัดประดิษฐาราม
5 วัดใหญศรีสุพรรณ - 27 - 27 14 - 14
6 วดั ราชคฤห
7 วดั บางสะแกนอก 20 - - 20 10 - - 10
8 วดั บางสะแกใน
9 วดั ขนุ จนั ทร 18 - - 18 9 - - 9
10 วดั กระจบั พนิ จิ
11 วดั เวฬรุ าชนิ - 17 - 17 - 8 - 8
12 วัดบางน้ําชน
13 วดั ราชวรนิ ทร 9- -94- -4
14 วดั ดาวคนอง
15 วัดบุคคโล - - 39 39 - - 20 20
16 กนั ตทาราราม
17 วดั ใหมย ายนยุ 11 - - 11 5 - - 5

รวม - - 48 48 - - 24 24

- 29 - 29 - 15 - 15

12 - - 12 6 - - 6

- 18 - 18 - 9 - 9

- 29 - 29 - 15 - 15

- 28 - 28 - 14 - 14

- 28 - 28 - 14 - 14

14 - - 14 7 - - 7

104 176 130 410 51 89 66 206

38

เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรง

เรยี นทผ่ี วู จิ ยั สรา งขน้ึ เอง แบง เปน แบง ออกเปน 2 ตอน ไดแก

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ลักษณะคําถามที่ใชเปนแบบเลือกตอบ เกี่ยวกับ

เพศ อายุ วฒุ ิ ตาํ แหนง ระยะเวลาทป่ี ฏบิ ตั กิ ารสอนและขนาดของโรงเรยี นทป่ี ฏิบตั กิ ารสอน

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

3 ดาน ไดแก ทักษะดานเทคนิควิธี ทักษะดานมนุษย และทักษะดานความคิดรวบยอด ลักษณะของแบบ

สอบถาม เปน แบบมาตรประมาณคา (rating scale) จาํ นวน 48 ขอ มีรายละเอียดดังนี้

1. ทักษะดานเทคนิควิธี ขอ 1-18 จาํ นวน 18 ขอ

2. ทักษะดานมนุษย ขอ 19-35 จาํ นวน 17 ขอ

3. ทักษะดา นความคิดรวบยอด ขอ 36-48 จาํ นวน 13 ขอ

ในการตอบแบบสอบถามแตล ะขอ จะมีมาตรวัดสําหรับประมาณคาเปนน้ําหนักของคะแนน

ตามระดับทักษะการบริหารวามีมากนอยเพียงใด โดยไดกําหนดคะแนนของชวงน้ําหนักแตละระดับ

ดงั น้ี

1 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับนอยที่สุด

2 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับนอย

3 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับปากลาง

4 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับมาก

5 หมายถึง มีทักษะการบริหาร อยูในระดับมากที่สุด

การสรา งเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั

1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน ทั้ง 3 ดาน
ตามทฤษฎีของ โรเบริ ต แคทช ไดแก ทักษะดานเทคนิควิธี ทักษะดานมนุษย และทักษะดานความคิด
รวบยอด

2. สรางแบบสอบถามเปนขอคําถาม เกี่ยวกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนทั้ง 3
ดาน นาํ แบบสอบถามทส่ี รา งขน้ึ มาใหป ระธานกรรมการและกรรมการควบคมุ การทาํ ปรญิ ญานพิ นธ
ตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของภาษาและความสมบูรณของเนื้อหา

39

3. นําแบบสอบถามที่ไดรับการปรับปรุงแลวไปใหกรรมการผูเชี่ยวชาญ 5 คนตรวจสอบ
ความเที่ยงตรงของขอคําถาม และใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม

4. นาํ แบบสอบถามมาดาํ เนนิ การปรบั ปรุงแกไ ขตามขอเสนอแนะของกรรมการผูเ ช่ยี วชาญ
5. นาํ เครอ่ื งมอื ทไ่ี ดร บั การตรวจสอบ และปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ
แลวนําไปทดลองใช (Try Out) กับครูผูสอนที่ไมใชกลุมตัวอยาง จาํ นวน 30 คน หลังจากนั้นนําแบบ
สอบถามทั้งหมดที่ไดมาทําการวิเคราะห เพื่อหาความเชื่อมั่น โดยใชว ธิ กี ารหาคา สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา
ของครอนบาค( Cronbach อางใน ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543 : 137) ไดคาความเชื่อมั่นของแบบสอบ
ถามเทากับ 0.97
6) นําแบบสอบถามที่หาคาความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นแลว ไปดําเนินการจัดพิมพเปนแบบ
สอบถามฉบับสมบูรณเพื่อใชในการเก็บรวบรวมขอมูลตอไป

การเกบ็ รวบรวมขอ มลู

ผูวิจัยไดดําเนินการแจกแบบสอบถามไปยังกลุมตัวอยางและเก็บรวบรวมขอมูลตามลําดับดังนี้
1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ขอความอนเุ คราะห
จากผูอํานวยการสํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร ในการเก็บรวบรวมขอมูล
2. นําหนังสือจากสํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร เรียนผูอํานวยการเขตธนบุรี เพอ่ื ขอ
ความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูลจากขาราชการครูในสังกัด ที่เปนกลุมตัวอยาง และแจกแบบ
สอบถามไปให จาํ นวน 206 ชุด
3. ผวู จิ ยั ไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามดว ยตนเอง จากโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานคร ไดร บั คนื จาํ นวน 206 ชุด คิดเปนรอยละ 100

การวเิ คราะหข อ มลู

ผวู จิ ยั นาํ แบบสอบถามทร่ี วบรวมไดม าตรวจสอบขน้ั ตน โดยทาํ การตรวจสอบขอ มู(Editing)
ตรวจดคู วามสมบรู ณข องการตอบแบบสอบถาม ตอจากนั้นนําแบบสอบถามมาลงรหัส ใหคะแนนตาม
น้ําหนักของคะแนนแตละขอ และบันทึกลงในคอมพิวเตอรเพื่อวิเคราะหขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร
โปรแกรมสาํ เรจ็ รปู SPSS for Window (Statistical Package for the Social Science)

40

สถติ ทิ ใ่ี ชใ นการวเิ คราะหข อ มลู

การดําเนินการวิเคราะหขอมูล โดยใชโปรแกรมสําเร็จรปู ทางสถิติ SPSS for Window ในการ
ดาํ เนนิ การวจิ ยั ดงั น้ี

1. การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม โดยการหาคารอยละ
2. การวิเคราะหเพื่อหาระดับทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา
ตามทศั นะของครู สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยการหาคาเฉลี่ย ( X ) และความ
เบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD) และแปลความหมายตามเกณฑที่กําหนด ( กรมวิชาการ,2537 : 27) ดงั น้ี

คาเฉลี่ยระหวาง 1.00-1.79 หมายถึง มีทักษะในระดับนอยที่สุด
คาเฉลี่ยระหวาง 1.80-2.59 หมายถึง มีทักษะในระดับนอย
คาเฉลี่ยระหวาง 2.60-3.39 หมายถึง มีทักษะในระดับปากลาง
คาเฉลี่ยระหวาง 3.40-4.19 หมายถึง มีทักษะในระดับมาก
คาเฉลี่ยระหวาง 4.20-5.00 หมายถึง มีทักษะในระดับมากที่สุด
3. เปรียบเทียบความแตกตางของทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา
ตามทัศนะของขาราชการครูสังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานครทป่ี ฏบิ ตั งิ านอยใู นโรงเรยี น 3
ขนาด และประสบการณในการทํางานของขาราชการครู สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
โดยทดสอบความแปรปรวนทางเดยี ว (ANOVA) กรณีผลการทดสอบคา F มีนัยสําคัญทางสถิติ จะทํา
การทดสอบรายคูภายหลังดวยวิธีของ เชฟเฟ ( Scheffe')

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมลู

การศกึ ษาทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา ตามทศั นะของขาราชการครู
สงั กัดสํานกั งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานครในครง้ั นี้ ผวู ิจยั เสนอผลการวเิ คราะหขอ มูลตามลาํ ดบั ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหข อมลู ทวั่ ไปของกลุมตัวอยา งทศ่ี ึกษา จาํ แนกตามขนาด
โรงเรียนและประสบการณในการปฏิบัตงิ าน

ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหทักษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทัศนะ
ของขา ราชการครู สงั กัดสํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบทักษะการบริหารของผบู ริหาร โรงเรียนประถมศกึ ษา
ตามทศั นะของขาราชการครู สังกดั สํานกั งานเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานครจําแนกตามขนาดโรงเรียน

ตอนที่ 4 ผลการเปรียบเทยี บทกั ษะการบริหารของผบู ริหารโรงเรยี นประถมศึกษา ตาม
ทศั นะของขา ราชการครสู ังกัดสาํ นักงานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร จําแนกตามประสบการณในการ
ทํางาน

ผลการวิเคราะหขอมลู

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของกลมุ ตัวอยา งท่ีศึกษา จําแนกตามขนาดโรงเรยี นและประสบการณ
ในการปฏิบัตงิ าน ดงั ตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 จํานวนรอยละของกลุมตวั อยางท่ีศึกษา จําแนกตามขนาดโรงเรยี นและประสบการณในการ

ปฏิบัตงิ าน

ระยะเวลา เล็ก ขนาดโรงเรียน รวม
ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน จํานวน รอยละ กลาง ใหญ จํานวน รอยละ
จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

นอ ยกวา 12 ป 11 5.3 16 7.8 13 6.3 40 19.4

13 - 22 ป 12 5.8 9 4.4 10 4.9 31 15.0

23 - 32 ป 17 8.3 32 15.5 20 9.7 69 33.5

33 ปข ึ้นไป 11 5.3 32 15.5 23 11.2 66 32.0

รวม 51 24.8 89 43.2 66 32.0 206 100

42
จากตารางที่ 2 พบวา กลุมตวั อยา งท่ศี กึ ษา จํานวน 206 คน สว นใหญเปน ครผู ูสอนในโรง
เรียนขนาดกลาง จํานวน 89 คน คดิ เปน รอ ยละ 43.2 เปน ครูผสู อนในโรงเรยี นขนาดใหญ จํานวน
66 คน คดิ เปน รอ ยละ 32.0 และครูผสู อนในโรงเรียนขนาดขนาดเลก็ จํานวน 51 คน คิดเปน รอ ยละ
24.8 ตามลําดบั

สวนประสบการณใ นการปฏบิ ัติงาน พบวา เวลาสวนใหญเ ปน ครูผสู อนทมี่ ปี ระสบการณใน
การปฏิบัตงิ าน 22-32 ปข ึ้นไป จํานวน 69 คน คิดเปนรอ ยละ 33.5 ครผู สู อนท่มี ีระยะเวลาในการที่
ปฏบิ ตั ิงาน 33 ปข้นึ ไป จํานวน 66 คน คิดเปนรอ ยละ 32.0 และครูผสู อนที่มีระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิ
งานนอยกวา 12 ป จาํ นวน 40 คน คิดเปน รอ ยละ 19.4 ตามลาํ ดบั

ตอนที่ 2 ทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศึกษา ตามทัศนะของขา ราชการ
ครูสังกัดสาํ นักงานเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร ดงั ตารางที่ 3-6

ตารางท่ี 3 คะแนนเฉลี่ย ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ทักษะการบรหิ าร และอันดับท่ีเกยี่ วกบั
ทกั ษะการบรหิ ารของผบู ริหารโรงเรยี นประถมศกึ ษา ตามทศั นะของขาราชการครู
สงั กดั สํานักงานเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร

ขา ราชการครสู ังกัดสํานักงานเขตธนบรุ ี

ดา น ทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี น (n = 206)
ที่
ระดบั ทกั ษะ อันดับ
X SD การบริหาร

1 เทคนคิ วธิ ี 4.155 .716 มาก 2
2 มนษุ ย
3 ความคดิ รวบยอด 4.170 .762 มาก 1

ภาพรวม 4.151 .747 มาก 3

4.160 .718 มาก -

จากตารางที่ 3 พบวา ทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา ตามทัศนะของ
ขา ราชการครู สังกัดสํานักงานเขตเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานครโดยรวมอยใู นระดบั มาก เม่อื พิจารณา
เปนรายดา นพบวา อยใู นระดับมาก ทุกดา น ซึ่งเรียงลาํ ดับจากคะแนนเฉลี่ยมากไปหานอ ยคือ ทักษะ
ดา นมนษุ ย ทักษะดา นเทคนคิ วธิ ี และทกั ษะดา นความคิดรวบยอด ตามลาํ ดบั

ตารางที่ 4 คะแนนเฉล่ีย ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับทกั ษะการบริหาร และอันดับทเี่ กย่ี วกบั

43

ทกั ษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศึกษา ดา นเทคนิควิธี ตามทศั นะของ
ขา ราชการครสู ังกดั สาํ นักงานเขตเขตธนบุรกี รุงเทพมหานคร

ขาราชการครสู ังกัดสํานักงานเขตธนบุรี

ขอท่ี ทักษะการบรหิ ารของผูบ รหิ ารโรงเรียน X SD ระดับทักษะ อันดับ
การบรหิ าร
ทักษะดา นเทคนคิ วิธี
1 ผบู รหิ ารนําความรใู นการจัดทําแผนมาปฏิบตั ิ 4.155 .716 มาก -

ไดเหมาะสมกบั สภาพของโรงเรยี น 3.961 .704 มาก 9
2 ผบู รหิ ารนาํ เทคโนโลยีมาใชในการจดั ทาํ สถิติ
3.859 .755 มาก 13
และแผนภมู ิเก่ยี วกับขอมลู ทางการศกึ ษาของ 3.476 .966 มาก 18
โรงเรียนไดอยางชัดเจน
3 ผูบ ริหารมคี วามสามารถในการนําเสนอวธิ ีการ 4.243 .739 มากท่ีสดุ 1
สอนเปน ตัวอยางใหครูไดเมอื่ ครูตอ งการ
4 ผบู รหิ ารมีความสามารถในการทาํ หนา ที่ 3.985 .716 มาก 8
ประธานในท่ปี ระชุมครไู ดอ ยา งมีประสทิ ธิ
ภาพ 3.825 .802 มาก 16
5 ผูบรหิ ารใชเทคนิคตาง ๆในการส่ังการและ
มอบหมายงานใหผ ปู ฏบิ ตั ิตามเขา ใจและปฏบิ ัติ 3.840 .732 มาก 14
ตามไดถ กู ตอ งและชดั เจน
6 ผูบริหารมคี วามสามารถในการจดั หาวัสด-ุ 4.063 .713 มาก 3
อปุ กรณด วยวิธีการตา ง ๆมาใชในการเรียนการ
สอนไดเหมาะสมกับสภาพของโรงเรยี น
7 ผบู ริหารนําความรแู ละความเขาใจในการจัด
ระบบการเกบ็ รักษาวสั ดอุ ุปกรณและครุภัณฑ
มาใชในการปฏบิ ตั ิงาน
8 ผบู ริหารนาํ ความรคู วามเขาใจในระเบียบการ
เงินและควบคมุ กํากบั ตดิ ตามมาใชใ นการ
ปฏิบตั ิงานไดถ ูกตองตามระเบียบ

ตารางท่ี 4 (ตอ)

44

ขาราชการครสู ังกัดสาํ นักงานเขตธนบุรี

ขอที่ ทกั ษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน ระดับทกั ษะ อันดับ
SD การบรหิ าร
X

9 ผบู ริหารนําความรคู วามเขาใจระเบียบการ

สารบรรณและควบคุมกาํ กับติดตามให

สามารถปฏบิ ัตไิ ดอยางถกู ตอง 3.918 .711 มาก 10

10 ผูบรหิ ารสามารถจัดทาํ เกณฑม าตรฐานการ
ทํางานของบุคลากรในโรงเรียนไดอยา ง

เหมาะสม 3.903 .784 มาก 11

11 ผบู รหิ ารสามารถพฒั นาวธิ ีการตา ง ๆเพอื่

เสนอรายงานเกี่ยวกับความกา วหนา หรอื

ปญหาของนกั เรียนไปยงั ผูปกครองไดอ ยาง

เหมาะสม 3.757 .802 มาก 17

12 ผบู ริหารมีความสามารถในการเตรียมและจัด

ทํารายงานผลปฏบิ ตั งิ านของโรงเรียนเสนอ

สนศ. ไดอยา งถกู ตองเรยี บรอ ย 4.005 .666 มาก 6
13 ผบู รหิ ารใชวิธกี ารอยางหลากหลายในการ

เสนอขอ มลู ขาวสารตอชมุ ชนเพื่อการประชา

สมั พนั ธโรงเรียนไดอยางตอเนอื่ ง 3.825 .795 มาก 15

14 ผบู รหิ ารมีความรูในการวางแผนการประชา

สมั พันธไดสอดคลอ งกบั ลกั ษณะงานของ

โรงเรยี น 3.869 .763 มาก 12

15 ผบู ริหารมีการพฒั นาตนเองและคนควา หา

ความรอู ยเู สมอ 4.233 .704 มากท่สี ดุ 2

16 ผูบ ริหารสามารถนาํ ความรูมาประยุกตใชใ น

งานทป่ี ฏบิ ตั ิไดอ ยางเหมาะสม 4.015 .722 มาก 4

17 ผบู ริหารมีความสารถในการพัฒนาผใู ตบงั คบั

บัญชาใหสามารถทาํ งานแทนได 4.005 .742 มาก 7

ตารางท่ี 4 (ตอ )

ขอ ที่ ทักษะการบริหารของผูบรหิ ารโรงเรยี น ขา ราชการครูสังกัดสํานักงานเขตธนบุรี

X SD ระดับทักษะ 45
การบริหาร
อนั ดบั
18 ผูบ ริหารมคี วามรแู ละความเขาใจในการรวบ
5
รวมขอ มลู และจัดเก็บอยางเปน ระบบ เพ่อื

ประโยชนในการกําหนดนโยบายและวางแผน

ปฏิบัตงิ าน 4.015 .729 มาก

จากตารางที่ 4 พบวาทกั ษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรียนประถมศกึ ษา ดานเทคนิควิธี ตามทัศนะของขา
ราชการครู สังกดั สาํ นักงานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานครโดยรวมอยูใ นระดบั มาก เม่อื พิจารณาเปนรายขอ ปรากฏวา
อยูในระดบั มากทกุ ขอ ยกเวน อนั ดบั ที่ 1 และอันดบั ท่ี 2 อยใู นระดับมากท่สี ดุ คอื ผูบ ริหารมคี วามสามารถในการทํา
หนาท่ีประธานในที่ประชุมครูไดอยางมีประสิทธิภาพ และผูบรหิ ารมกี ารพฒั นาตนเองและคนหาความรอู ยูเสมอ
สว นทกั ษะทีอ่ ยใู นอนั ดับสุดทา ย คอื ผูบ รหิ ารมีความสามารถในการนาํ เสนอวธิ ีการสอนเปน ตวั อยางใหครูไดเมอ่ื ครู
ตองการ

ตารางที่ 5 คะแนนเฉลย่ี ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดับทักษะการบริหาร และอนั ดบั ทเ่ี กย่ี วกบั ทกั ษะ
การบรหิ ารของผบู ริหารโรงเรียนประถมศึกษาดานทกั ษะมนุษยต ามทัศนะของขา ราชการ
ครูประถมศึกษากรุงเทพมหานคร สังกัดสาํ นักงานเขตธนบรุ ี

ขา ราชการครสู งั กดั สํานกั งานเขตธนบรุ ี

ขอท่ี ทกั ษะการบรหิ ารของผูบรหิ ารโรงเรียน X SD ระดบั ทักษะ อันดบั
การบรหิ าร
ทักษะดานมนุษย
1 ผบู ริหารสามารถปรบั ตวั ใหเ ขา กับบคุ คลอ่นื ใน 4.170 .762 มาก -

สถานการณต าง ๆ ไดอยา งเหมาะสม 4.505 .766 มากที่สุด 1
2 ผูบรหิ ารเปดโอกาสใหผูรว มงานมสี วนรว มใน
4.121 .752 มาก 2
การปฏบิ ตั ิงานตามความถนดั และความ
สามารถเปน ประจาํ

ตารางท่ี 5 (ตอ )

ขา ราชการครสู ังกดั สํานักงานเขตธนบรุ ี

ขอ ท่ี ทักษะการบรหิ ารของผบู ริหารโรงเรยี น SD ระดบั ทักษะ อันดบั
การบริหาร
X

3 ผูบริหารใหค วามสําคัญและยกยองผูร ว มงาน 46

บอ ยครง้ั 4.038 .795 มาก 8
.808 มาก 4
4 ผูบรหิ ารใหความเปนกันเองกบั ทุกคนโดย .798 มาก 7
.806 มาก 3
สมา่ํ เสมอและถว นหนา 4.072
.845 มาก 6
5 ผบู รหิ ารมเี วลาใหกบั ทุกคนในการให .746 มาก 5

คําปรึกษาอยา งจรงิ ใจ 4.043 .799 มาก 9

6 ผูบริหารเปดโอกาสใหผ ูร ว มงานไดแสดง 4.092 .969 มาก 17
.834 มาก 14
ความคิดเหน็ และรว มตดั สนิ ใจในเรือ่ งตา ง ๆ .855 มาก 13
.917 มาก 16
อยางสม่าํ เสมอ

7 ผูบริหารสามารถสรา งบรรยากาศใหเ กิดความ

รวมมือรวมใจในกลมุ ผูรวมงานไดเปน อยางดี 4.053

8 ผูบริหารรับฟง และพยายามชว ยเหลอื ในการ

แกป ญหาของทุกคนดวยความเตม็ ใจ 4.063

9 ผบู รหิ ารแสดงความยนิ ดีและยกยอง

ชมเชยผรู ว มงานท่ปี ระสบความสําเรจ็ ในการ

ปฏิบัตหิ นา ทีท่ ไี่ ดรบั มอบหมายอยางสม่าํ เสมอ 4.014

10 ผูบ รหิ ารจัดใหมีการพบปะสงั สรรคก ันนอก

เวลาเพอ่ื สรางสัมพนั ธไมตรอี นั ดตี อ กัน

ระหวางบุคลากรระดบั ตา งๆ ไดอ ยางเหมาะสม 3.746

11 ผูบริหารสามารถเปนผนู ําการอภปิ รายที่

สามารถจงู ใจใหค นเหน็ คลอ ยตามได 3.898

12 ผูบรหิ ารปฏบิ ตั ิตอทกุ คนอยา งยุตธิ รรมโดยเทา

เทยี มกัน 3.927

13 ผูบรหิ ารใชวิธกี ารตา งๆในการใหร างวลั แกผู

รว มงานในโอกาสตางๆ ไดอยางเหมาะสม 3.835

ตารางที่ 5 (ตอ)

ขา ราชการครูสังกัดสํานักงานเขตธนบุรี

ขอท่ี ทักษะการบรหิ ารของผูบรหิ ารโรงเรียน X SD ระดับทกั ษะ อันดับ
14 ผูบริหารสามารถแกป ญ หาขอ ขัดแยงท่เี กิดข้ึน การบรหิ าร

47

ระหวา งผรู วมงานไดอ ยา งมผี ลดี 3.859 .840 มาก 15

15 ผบู รหิ ารใหโ อกาสแกผูใตบ งั คบั บัญชามีสว น

รวมรบั ผดิ ชอบในการบรหิ ารงานไดอยาง

หมาะสม 3.980 .745 มาก 10

16 ผูบรหิ ารสามารถจดั ระบบการติดตอส่ือสาร

และการประสานงานระหวา งโรงเรยี นกบั ชุม

ชนหรอื หนวยงานอ่ืนอยางมีประสทิ ธิภาพ 3.942 .709 มาก 12

17 ผบู รหิ ารสามารถแสวงหาความชว ยเหลือจาก

บคุ คลหรือหนวยงานอ่ืนมาใชใ นการบริหาร

โรงเรียนอยเู สมอ 3.956 .741 มาก 11

จากตารางที่ 5 พบวา ทักษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรียนประถมศึกษา ดานมนุษย
ตามทศั นะของขาราชการครูสังกดั สํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยรวม อยใู นระดบั มาก
เม่อื พิจารณาเปน รายขอปรากฏวา อยใู นระดับมากทกุ ขอ โดยทกั ษะท่ีอยูในอันดบั แรก คือผบู รหิ ารสามารถปรบั ตัว
ใหเ ขากบั บคุ คลอ่ืนในสถานการณตาง ๆไดอ ยางเหมาะสม รองลงมาอยูในระดบั มากคือ ผูบริหารเปดโอกาสใหผ ูร วม
งานไดแสดงความคดิ เหน็ และรวมตดั สินใจในเร่อื งตา งๆ อยางสมา่ํ เสมอ สว นทักษะท่ีอยใู นอันดับสดุ ทาย คือผู
บรหิ ารจดั ใหม กี ารพบปะสงั สรรคก นั นอกเวลา เพ่อื สรางสมั พันธไมตรีอนั ดตี อกันระหวา งบคุ คลระดับตาง ๆ ได
อยางเหมาะสม

ตารางที่ 6 คะแนนเฉล่ยี ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับทักษะการบริหาร และอนั ดับที่เก่ยี วกับ
ทักษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา ดา นความคิดรวบยอด ตามทศั นะ
ของขาราชการครกู รงุ เทพมหานคร สังกัดสาํ นักงานเขตธนบุรี

ขา ราชการครสู งั กดั สาํ นักงานเขตธนบุรี

ขอที่ ทกั ษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรียน SD ระดบั ทักษะ อันดับ
การบรหิ าร
X

ทกั ษะดานความคิดรวบยอด 4.151 .747 มาก 48
มาก
1 ผูบรหิ ารสามารถนาํ นโยบาย จดุ -มุง หมาย และ มาก -
มาก 4
ขอบขายของงานทช่ี ดั เจนไปใชในการปฏบิ ัติงาน 4.019 .691
มาก 1
2 ผูบรหิ ารนาํ นโยบายของผบู ังคบั บัญชาเหนอื ชัน้ มาก 6
มาก
ขนึ้ ไปทุกระดับมากําหนดแนวทางในการปฏบิ ัติ มาก 3
มาก
ไดอยา งเหมาะสม 4.083 .683 5
2
3 ผูบ ริหารสามารถวิเคราะหงานของโรงเรียนไดถูก
13
ตอง 4.005 .729
10
4 ผูบ ริหารมคี วามรคู วามเขาใจในนโยบายเกีย่ วกับ

การจดั การศกึ ษาของชาติและนํามากาํ หนดทําเปน

นโยบายในการบรหิ ารโรงเรียนไดส อดคลอง

เหมาะสม 4.034 .722

5 ผูบรหิ ารมคี วามรใู นเรือ่ งหลกั สตู รการศึกษาทุก

ระดับชวงชนั้ ที่จัดในโรงเรียนแลสามารถดําเนิน

ใหบ รรลุจุดมุงหมายของหลกั สูตร 4.005 .717

6 ผูบรหิ ารสามารถอํานวยการและใหค าํ ปรกึ ษาเกย่ี ว

กับโครงการตาง ๆ ที่จดั ข้ึนในโรงเรียนได 4.065 .724

7 ผบู รหิ ารรแู ละเขา ใจในความตอ งการของชุมชน

ทางดานการศึกษาและนาํ มาเปนแนวทางในการจัด

การศึกษาของโรงเรียนไดส อดคลองเหมาะสม 3.859 .729

8 ผบู รหิ ารมแี นวคิดที่ชดั เจนเกย่ี วกับ

การกาํ หนดงบประมาณใหส อดคลอ งกับแผน

พัฒนาประจําปของโรงเรียน 3.971 .745

ตารางท่ี 6 (ตอ) ขาราชการครสู งั กัดสํานกั งานเขตธนบุรี
ขอ ท่ี ทักษะการบรหิ ารของผบู ริหารโรงเรยี น
SD ระดบั ทกั ษะ อันดับ
X การบริหาร

9 ผูบริหารมคี วามสามารถในการวางการแผนการ

ใชอ าคารสถานท่ไี ดเหมาะสมกบั การจัดกิจ 49

กรรมการเรยี นรู 4.005 .755 มาก 8
มาก 6
10 ผูบริหารสามารถจัดลําดับความสาํ คัญกอ น-หลงั มาก 9
มาก 12
ของการปฏิบตั ิ และการแกปญหาไดอ ยา งเหมาะ มาก 11

สม 4.005 .729

11 ผูบรหิ ารมอบหมายอํานาจหนา ที่ในการบงั คบั

บัญชาตามลําดับชั้นของสายการบังคับบญั ชาอยาง

เหมาะสม 3.985 .742

12 ผบู รหิ ารใชกระบวนการในการพจิ ารณาความดี

ความชอบของผใู ตบงั คบั บัญชาไดอ ยา งเหมาะสม

และยตุ ิธรรม 3.864 .844

13 ผบู ริหารมีวธิ กี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของผู

ใตบ งั คบั บัญชา เพอื่ พิจารณาความดคี วามชอบได

อยา งถกู ตอง 3.893 .837

จากตารางที่ 6 พบวา ทกั ษะการบรหิ ารของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา ดานความคิดรวบยอด ตาม
ทัศนะของขาราชการครสู ังกดั สาํ นกั งานเขตเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร โดยรวมอยูใน
ระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาเปน รายขอ ปรากฏวา อยูในระดบั มาก ทุกขอ โดยทกั ษะที่อยูใน อันดบั แรกคอื ผบู ริหารนํา
นโยบายของผบู ังคบั บัญชาเหนอื ช้นั ขึ้นไปทุกระดบั มากําหนดแนวทางการปฏบิ ัตไิ ดอยางเหมาะสม รองลงมา คอื ผู
บริหารสามารถอํานวยการ และใหค ําปรึกษา เกย่ี วกบั โครงการตา ง ๆ ทจ่ี ดั ข้ึนในโรงเรยี นได สว นทกั ษะท่อี ยใู น
อนั ดบั สุดทา ยคอื ผูบ รหิ ารรแู ละเขาใจในความตองการของชมุ ชนทางดา นการศึกษา และนํามาเปน แนวทางในการจดั
การศกึ ษาของโรงเรียนไดอยางเหมาะสม

ตอนที่ 3 ผลการวเิ คราะหเปรียบเทยี บทักษะการบริหารของผบู ริหารโรงเรียนประถมศกึ ษา ตาม
ทศั นะของขาราชการครกู รุงเทพมหานคร สังกัดสาํ นกั งานเขตธนบรุ ี จําแนกตามขนาดโรงเรยี น ดงั ตารางที่ 7-8

ตารางที่ 7 คะแนนเฉลีย่ และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทักษะการบริหารของผบู ริหาร
ดาน
โรงเรียนประถมศกึ ษา ตามทศั นะของขาราชการครูกรุงเทพมหานคร สังกัดสาํ นกั งาน

เขตธนบุรี จําแนกตามขนาดโรงเรียน

ทักษะการบริหารของ โรงเรยี นขนาด โรงเรียนขนาด โรงเรยี นขนาด
ผบู ริหารโรงเรยี น เล็ก (n = 51) กลาง (n = 89) ใหญ (n = 66)

X SD X SD X SD

1 เทคนิควิธี 50
4.235 .586 4.023 .825 4.273 .621
2 มนุษย 4.314 .547 4.101 .840 4.152 .789
3 ความคิดรวบยอด 4.137 .601 4.045 .838 4.303 .701

ภาพรวม 4.216 .577 4.090 .821 4.212 .668

จากตารางท่ี 7 พบวา ทักษะการบริหารของผบู ริหารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทัศนะของ
ขา ราชการครูสังกัดสาํ นกั งานเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร จําแนกตามขนาดโรงเรยี น โรงเรียนขนาด
เลก็ โรงเรียนขนาดกลางและโรงเรียนขนาดใหญ ปรากฏผลดังน้ี

ทกั ษะ การบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นเรียนประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร ของโรงเรยี น
ขนาดเลก็ โดยรวม อยูในระดบั มากทสี่ ุด เมือ่ พิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดบั มากทส่ี ุดโดยเรยี ง
ลําดับคะแนนเฉลยี่ มากไปหานอย คือทกั ษะดานมนุษย ทักษะดา นเทคนคิ วธิ ี สว นทักษะดาน ความคดิ
รวบยอด อยใู นระดบั มาก

ทกั ษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนเรยี นประถมศกึ ษาสงั กัดสาํ นกั งานเขตธนบรุ ี
กรงุ เทพมหานคร ของโรงเรียนขนาดกลาง โดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพจิ ารณาเปน รายดา น พบวา
อยูใ นระดับมากทกุ ดาน โดยเรียงลาํ ดับคะแนนเฉลีย่ จากมากไปหานอย คอื ทักษะดา นมนษุ ย ทักษะ
ดานความคิดรวบยอด และทักษะดานเทคนิควธิ ี ตามลาํ ดบั

ทักษะการบรหิ ารของผูบรหิ ารโรงเรยี นเรยี นประถมศกึ ษาสงั กดั สาํ นักงานเขตธนบรุ ี
กรงุ เทพมหานคร ของโรงเรียนขนาดใหญโ ดยรวม อยใู นระดบั มากท่ีสดุ เม่ือพจิ ารณาเปน รายดา น
พบวา อยูในระดับมากทสี่ ดุ โดยเรียงลําดับคะแนนเฉลย่ี จากมากไปหานอ ย คอื ทกั ษะดานความคิดรวบ
ยอด ทกั ษะดา นเทคนิควธิ ี สวนทกั ษะดานมนุษย อยูในระดบั มาก

ตารางที่ 8 เปรยี บเทยี บทักษะการบรหิ ารของผูบรหิ ารโรงเรยี นประถมศึกษา ตามทศั นะของ
ขาราชการครกู รงุ เทพมหานคร สงั กดั สํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จาํ แนกตาม
ขนาดโรงเรียน

ดา น ทักษะการบรหิ ารของ df SS MS F p
ผูบริหารโรงเรียน
2 2.807 1.403 2.787 .064
ดานเทคนคิ วธิ ี 203 102.222 .504
205 105.029 -
ระหวางกลมุ

ภายในกลุม

รวม

51

ดา นมนษุ ย 2 1.498 .749 1.294 .277
ระหวางกลมุ 203 117.555 .579
ภายในกลุม 205 119.053
รวม
2 2.536 .749 1.294 .277
ดา นความคิดรวบยอด
ระหวางกลมุ 203 111.779 .551
ภายในกลมุ
รวม 205 114.335 รวม

ภาพรวม 2 .775 .387 .750 .474
ระหวางกลุม 203 104.939 .517
ภายในกลมุ 205 105.714
รวม

จากตาราง 8 พบวา ทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทศั นะของ
ขาราชการครู สังกัดสาํ นกั งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร จาํ แนกตามขนาดโรงเรียนโดยรวม พบวา
แตกตางกนั อยางไมมนี ัยสําคัญทางสถติ ิ ทั้งในภาพรวมและรายดาน

ตอนที่ 4 ผลการวเิ คราะหเ ปรยี บเทียบทกั ษะการบริหารของผูบรหิ ารโรงเรียนประถมศึกษา
ตามทัศนะของขาราชการครูสงั กัดสาํ นักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จําแนกตามประสบการณใ น
การปฏิบัติงาน ดังตารางท่ี 9-10

ตารางท่ี 9 คะแนนเฉลี่ย และความเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของทกั ษะการบริหารของผูบ ริหารโรงเรียนประถมศึกษา
ตามทศั นะของขาราชการครูสงั กัดสํานกั งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร จําแนกตามประสบการณใน
การปฏบิ ัติงาน

ดา น ทักษะการบรหิ าร ประสบการณใ นการทํางาน

52

ของ นอ ยกวา 12 ป 13-22 ป 23-32 ป 33 ป ขึน้ ไป
ผูบรหิ ารโรงเรียน (n = 40 ) (n = 31) (n = 69) (n = 66 )

1 เทคนิควธิ ี X SD X SD X SD X SD

4.100 .778 3.968 .752 4.130 .746 4.303 .607

2 มนุษย 4.075 .797 3.839 .735 4.188 .862 4.364 .572

3 ความคดิ รวบยอด 4.050 .783 3.871 .718 4.174 .857 4.318 .559

ภาพรวม 4.100 .709 3.871 .670 4.174 .822 4.318 .586

จากตารางที่ 9 พบวา ทักษะการบรหิ ารของผบู ริหารโรงเรยี นประถมศึกษา ตามทัศนะของ
ขาราชการครูกรงุ เทพมหานคร สงั กดั สํานกั งานเขตธนบุรี จาํ แนกตามประสบการณก ารในการปฏบิ ตั ิงาน ปรากฎดงั
น้ี

ทักษะการบริหารของผบู ริหารโรงเรยี นเรียนประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ตามทัศนะของขา
ราชการครูกรุงเทพมหานคร สงั กัดสํานกั งานเขตธนบรุ ี ทมี่ ปี ระสบการณการในการปฏบิ ตั นิ อ ยกวา 12 ป โดย
รวมอยูในระดบั มาก เมือ่ พจิ ารณาเปน รายดาน พบวา อยใู นระดับมาก
ทุกดาน โดยเรียงลาํ ดับจากคะแนนเฉลี่ยมากไปหานอย คอื ทักษะดา นเทคนคิ วิธี ทักษะดา นมนษุ ย และทักษะดา น
ความคดิ รวบยอด ตามลําดบั

ทกั ษะการบรหิ ารของผูบรหิ ารโรงเรียนเรยี นประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร ตาม
ทัศนะของขาราชการครูกรุงเทพมหานคร สังกัดสาํ นักงานเขตธนบรุ ี ที่มปี ระสบการณก ารในการ
ปฏบิ ัตงิ าน 13-22 ป โดยรวม อยูในระดบั มาก เมือ่ พจิ ารณาเปนรายดา น พบวา อยูในระดบั มาก
ทกุ ดา น โดยเรียงลาํ ดับจากคะแนนเฉล่ียมากไปหานอ ย คือทกั ษะดา นเทคนคิ วธิ ี ทกั ษะดา นความคิด
รวบยอด และทกั ษะดานมนุษย ตามลาํ ดับ

ทกั ษะการบรหิ ารของผูบรหิ ารโรงเรียนเรียนประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร ตาม
ทศั นะของขาราชการครูกรงุ เทพมหานคร สงั กัดสํานกั งานเขตธนบุรี มีประสบการณการในการปฏิบัติ
งาน 23-32 ป โดยรวม อยูในระดับ มาก เม่ือพจิ ารณาเปนรายดาน พบวา อยใู นระดบั มาก ทุกดา น
โดยเรยี งลาํ ดับจากคะแนนเฉลย่ี มากไปหานอย คอื ทักษะดา นมนษุ ย ทักษะดา นความคดิ รวบยอด
และทักษะดา นเทคนิควธิ ี ตามลําดบั

ทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรียนเรียนประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร
ตามทศั นะของขา ราชการครกู รุงเทพมหานคร สงั กัดสาํ นักงานเขตธนบุรี ทม่ี ีประสบการณการในการ
ปฏบิ ตั ิงานอยูใ นระดับมากทีส่ ดุ เมอ่ื พจิ ารณาเปน รายดาน พบวา อยูใ นระดับมากที่สดุ ทกุ ดา น โดยเรียง
ลาํ ดับจากคะแนนเฉลีย่ มากไปหานอ ย คือทักษะดานมนษุ ย ทกั ษะดา นความคดิ รวบยอด และทักษะ
ดา นเทคนคิ วิธี ตามลาํ ดับ

53

ตารางที่ 10 เปรยี บเทยี บทักษะการบรหิ ารของผูบ ริหารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทศั นะของ
ขาราชการครสู งั กดั สาํ นกั งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร จําแนกตามประสบการณการ
ในการปฏิบตั ิงาน

ทักษะการบรหิ ารของ df SS MS F p
ผบู รหิ ารโรงเรยี น

ดา นเทคนคิ วิธี 1.774 .153

ระหวางกลุม 3 2.696 .899

ภายในกลมุ 202 102.333 .507

รวม 205 105.029

ดานมนุษย 3.738* .012

ระหวางกลมุ 3 6.261 2.087

ภายในกลมุ 202 112.792 .558

รวม 205 119.053

ความคดิ รวบยอด 2.899* .036

ระหวา งกลมุ 3 4.270 1.573

ภายในกลุม 202 94.123 .543

รวม 205 109.615

ภาพรวม 2.923* .035

ระหวา งกลุม 3 4.398 1.466

ภายในกลุม 202 101.315 .502

รวม 205 105.174

* p < .05

จากตารางที่ 10 พบวา ทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรียนประถมศกึ ษา ตามทัศนะของ

ขาราชการครู สังกดั สาํ นักงานเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร จําแนกตามประสบการณก ารปฏิบัติงาน

โดยรวม แตกตา งกนั อยางมนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ิ ทร่ี ะดบั .05 เม่ือพิจารณาเปน รายดา น พบวา ทกั ษะดา น

มนษุ ย และทักษะดา นความคิดรวบ แตกตา งกันอยา งนยั สําคัญทางสถิติ ที่ระดับ.05 สวนทกั ษะดา น

เทคนคิ วิธี พบวา แตกตางกันอยา งไมม ีนัยสาํ คัญทางสถติ ิ

54

ตารางที่ 11 การทดสอบความแตกตา งของคะแนนเฉลยี่ ทกั ษะการบริหารของผูบรหิ ารโรงเรยี นตาม
ทศั นะของขาราชการครสู ังกดั สาํ นกั งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ดานมนุษย
จําแนกตามประสบการณใ นการปฏบิ ตั งิ าน

ประสบการณการปฏิบัติ X นอ ยกวา 12 ป 13-22 ป 23-32 ป 33 ปขึ้นไป
งาน 4.075 3.839 4.188 4.363

นอยกวา 12 ป 4.075 .236 .133 .289

13-22 ป 3.839 .350 .525*

23-32 ป 4.188 .175

33 ป ขึ้นไป 4.363

*p < .05

จากตารางท่ี 11 พบวา ทกั ษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศึกษา ตามทศั นะของ

ขา ราชการครูสังกดั สาํ นกั งานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ทีม่ ีประสบการณในการปฏิบัตงิ าน 13-22

ปกบั ประสบการณในการปฏิบตั ิงาน 33 ปข ึน้ ไป มีทัศนะตอ ทักษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรียน

ประถมศกึ ษา ดา นมนษุ ย แตกตางกนั อยา งมีนยั สาํ คัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดับ .05 สวนคูอนื่ แตกตางกัน

อยา งไมม นี ัยสาํ คัญทางสถิติ

ตารางที่ 12 การทดสอบความแตกตา งของคะแนนเฉลยี่ ทกั ษะการบรหิ ารของผบู ริหารโรงเรียน
ประถมศกึ ษาตามทัศนะของขาราชการครสู ังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร
ดานความคิดรวบยอด จาํ แนกตามประสบการณใ นการปฏบิ ัติงาน

ประสบการณการปฏิบตั งิ าน นอ ยกวา 12 ป 13-22 ป 23-32 ป 33 ปข นึ้ ไป
3.871 4.174 4.318
X 4.050 .179 *
.124 .268
นอยกวา 12 ป 4.050 .303 .447
3.831 .144
13-22 ป 4.174
23-32 ป 3.318
33 ป ขนึ้ ไป
*p < .05

55

จากตาราง ที่ 12 พบวา ทักษะการบริหารของผูบ รหิ ารโรงเรยี นประถมศึกษา ตามทศั นะของขา ราชการ
ครู สังกัดสาํ นักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ท่ีมีประสบการณใ นการปฏิบัติงาน นอยกวา
12 ป กบั ประสบการณใ นการปฏบิ ัติงาน 13-22 ป มีทัศนะตอ ทกั ษะการบริหารของผูบริหารโรงเรยี น
ประถมศึกษา ดานความคิดรวบยอด แตกตา งกันอยา งมนี ยั สําคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .05 สว น คูอ ่นื แตก
ตา งกันอยางไมม นี ัยสําคัญทางสถิติ

ตารางที่ 13 การทดสอบความแตกตางของคะแนนเฉลี่ย ทักษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรียน
ประถมศึกษาตามทัศนะของขาราชการครสู ังกดั สาํ นักงานเขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานคร ในภาพรวม จาํ แนกตามประสบการณในการปฏิบัตงิ าน

ประสบการณก ารปฏบิ ตั งิ าน นอ ยกวา 12 ป 13-22 ป 23-32 ป 33 ปข ึ้นไป
3.891 4.174 3.318
X 4.100 .299 .074 .218

นอยกวา 12 ป 4.100

13-22 ป 3.831 .303* .447*

23-32 ป 4.174 .144

33 ป ขึน้ ไป 3.318

*p < .05

จากตาราง ที่ 13 พบวา ทักษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทศั นะ

ของขา ราชการครู สงั กัดสํานักงานเขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร ในภาพรวม ที่มตี ามประสบการณใ น

การปฏบิ ตั ิงาน 13-22 ป กับประสบการณในการปฏบิ ตั งิ าน 23-32 และประสบการณในการปฏิบตั งิ าน

33 ปขึน้ ไป มที ัศนะตอ ทกั ษะการบรหิ ารของผูบรหิ ารโรงเรียนประถมศกึ ษา แตกตา งกันอยา งมีนยั

สําคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 สว น คอู ื่นแตกตางกนั อยา งไมม ีนัยสาํ คัญทางสถติ ิ

บทที่ 5

สรปุ อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนตามทัศนะของขาราชการครู
สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร

2. เพอ่ื เปรยี บเทยี บทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นตามทศั นะของขา ราชการ
ครูสังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร จาํ แนกตามขนาดโรงเรยี นและ ประสบการณใ นการ
ปฎิบัติงาน

สมมติฐานในการวิจยั

1. ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน ตามทัศนะของขาราชการครูสังกัดสํานักงานเขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานครจาํ แนกตามขนาดโรงเรียนแตกตา งกนั

2. ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน ตามทัศนะของขาราชการครูสังกัดสํานักงานเขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานครจําแนกตามประสบการณในการทํางานแตกตางกัน

ประชากรทใ่ี ชใ นการวจิ ยั

ประชากรในการวจิ ัยนี้ เปนขาราชการครูปฏิบัติการสอนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
สํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร จาํ นวน 410 คน จาก 17 โรงเรียน

กลมุ ตวั อยา งทใ่ี ชใ นการวจิ ยั

กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยนี้เปนขาราชการครูกรุงเทพมหานคร จาํ นวน 206 คน ซึ่งไดมา
ดวยวิธีการสุมแบบแบงชั้น เปน ขา ราชการครใู นโรงเรยี นขนาดเลก็ จาํ นวน 51 คน โรงเรยี นขนาดกลาง
จาํ นวน87 คน และโรงเรียนขนาดใหญจํานวน 66 คน

58

เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการวจิ ยั

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามประเภทมาตรประมาณคา ทผ่ี วู จิ ยั
สรางขึ้นและใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และทดลองใชกับครูผูปฏิบัติการสอน
โรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดสํานักงานเขต ที่ไมใชกลุมตัวอยาง จาํ นวน 30 คน แลวนํามาหาคาความเชื่อ
มั่น ดวยวิธีการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา ของ ครอนบาค (Cronbach) ไดคาสัมประสิทธิ์ความเที่ยง เทา
กับ 0.97

การเกบ็ รวบรวมขอ มลู

ผูวิจัยไดดําเนินการแจกแบบสอบถามไปยังกลุมตัวอยางและเก็บรวบรวมขอมูลตามลําดับ
ดงั น้ี

1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา ขอความอนเุ คราะห
จากผูอํานวยการสํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร ในการเก็บรวบรวมขอมูล

2. นําหนังสือจากสํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร ถึงผูอํานวยการเขตธนบุรีเพื่อขอความ
อนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูลจากขาราชการครูในสังกัดที่เปนกลุมตัวอยาง และแจกแบบสอบ
ถามไปให

3. ผูว ิจัยไปเก็บรวบรวมแบบสอบถามดวยตนเอง จากโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานคร ปรากฏวาจากจํานวนแบบสอบถามที่แจกไป 206 ฉบับ ไดร บั คนื 206 ฉบับ คดิ เปน
รอ ยละ 100

การวเิ คราะหข อ มลู
1. นําแบบสอบถามมาลงรหัส ใหคะแนนตามน้ําหนักของคะแนนแตละขอ และบันทึกลง

ในคอมพวิ เตอรเ พอ่ื วเิ คราะหข อ มลู ดว ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอรโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รปู SPSS for Window
(Statistical Package for the Social Science)

2. ดําเนนิ การวิเคราะหม ลู ตามวัตถปุ ระสงคข องการวิจยั ดงั น้ี
2.1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไป สถานภาพผตู อบแบบสอบถาม โดยการหาคา รอ ยละ
2.2 วเิ คราะหเพอื่ หาระดบั ทกั ษะการบรหิ ารงานของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา

ตามทัศนะของขา ราชการครู สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร โดยการหาคาเฉลี่ย ( X )
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และแปลความหมายตามเกณฑที่กําหนด

2.3 ความแตกตางของทักษะการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาตามทัศนะ

59

ของขาราชการครูสังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานครที่ปฏิบัติงานอยูในโรงเรียน 3 ขนาด และ
ประสบการณในการทํางานของขาราชการครู สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยทดสอบ
ความแปรปรวนทางเดยี ว (ANOVA) กรณผี ลการทดสอบ คา F มีนัยสําคัญทางสถิติ จะทําการทดสอบ
รายคูภายหลังดวยวิธีของ เชฟเฟ (Scheffe)

สรปุ ผลการวจิ ยั

ผลจากการวิจัยสรุปไดดังนี้
1. ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน ตามทศั นะของขา ราชการครูกรุงเทพมหานคร
สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี พบวา โดยภาพรวมผบู รหิ ารโรงเรยี นมที กั ษะในการบรหิ ารอยใู นระดบั มาก
เมอ่ื จาํ แนกเปน รายดา นกพ็ บวา อยใู นระดบั มาก ทุกดาน โดยเรียงลําดับจากคะแนนเฉลี่ยมากไปหานอย
คือ ทักษะดานมนุษย ทักษะดานเทคนิควิธี ทักษะและดาน ความคิดรวบยอด ตามลําดับ เมอ่ื พจิ ารณา
เปนรายขอ ในแตล ะดา น ปรากฏผลดังนี้

1.1 ดานเทคนิควิธี พบวา ขอที่มีทักษะอยูในระดับมากที่สุด อนั ดบั แรก คอื ผบู รหิ ารมี
ความสามารถการทําหนาที่ ประธานในที่ประชุมครูไดอยางมีประสิทธิภาพ รองลงมาคอื ผบู รหิ ารมกี าร
พัฒนาตนเองและ คนควาอยูเสมอ สวนทักษะที่อยูอันดับสุดทาย คือ ผูบริหารมีความสามารถในการนํา
เสนอวิธีการสอนเปนตัวอยางใหครูไดเมื่อครูตองการ

1.2 ดานมนุษย พบวา ขอที่มีทัศนะอยูในระดับมาก อนั ดบั แรก คือ ผบู รหิ ารปรบั ตวั ให
เขากับบุคคลอื่นในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รองลงมาคือ ผบู รหิ ารเปด โอกาสใหผ รู ว มงาน
มีรวมในการปฏิบัติงานตามความถนัดและความสามารถเปนประจํา สวนทักษะที่อยูอันดับสุดทาย คือ ผู
บริหารจัดใหมีการพบปะสังสรรคกันนอกเวลาเพื่อสัมพันธไมตรีอันดีตอกันระหวางบุคลากรระดับ
ตางๆไดอยางเหมาะสม

1.3 ดานความคิดรวบยอด พบวา ขอที่มีทัศนะอยูในระดับมาก อนั ดบั แรก คือ ผบู รหิ ารนาํ
นโยบายของผูบังคับบัญชาเหนือชั้นขึ้นไปทุกระดับมากําหนดแนวทางการปฏิบัติไดอยางเหมาะสม รอง
ลงมาคือ ผูบริหารสามารถอํานวยการและใหคําปรึกษาเกี่ยวกับโครงการตางๆ ทจ่ี ดั ขน้ึ ในโรงเรยี นได
สวนทักษะที่อยูอันดับสุดทาย คือ ผูบริหารรูและเขาใจในความตองการของชุมชนทางดานการศึกษา
และนํามาเปนแนวทางในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไดส อดคลอ งเหมาะสม

60

2. ผลการเปรยี บเทยี บทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นตามทศั นะของขา ราชการครู
สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร จาํ แนกตามขนาดโรงเรยี น โดยรวม แตกตางกันอยางไมมี
นัยสําคัญทางสถิติ

3. ผลการเปรยี บเทยี บทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นตามทศั นะของขา ราชการครู
สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานครจําแนกตามประสบการณในการทํางาน โดยรวม พบวา
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทักษะดานมนุษย และทักษะ
ดานความคิดรวบยอด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนทักษะดานเทคนิควิธี แตก
ตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

อภปิ รายผลการวจิ ยั

การศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนตามทัศนะของขาราชการครูสังกัดสํานัก

งานเขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร มปี ระเดน็ ในการอภปิ รายผลดงั น้ี

1. ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนตามทัศนะของขาราชการครู สังกัดสํานักงานเขต

ธนบุรี กรงุ เทพมหานคร โดยรวมอยูในระดับมาก เนื่องมาจากสํานักการศึกษา มีนโยบายในการจัดการ

ศึกษาโดยเนนประสิทธิภาพและคุณภาพของการบริหารงาน เพื่อใหการจัดการศึกษาของ

กรงุ เทพมหานคร บรรลุวัตถุประสงคตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 โดยมียุทธศาสตร

การกระจายอาํ นาจสรู ะดบั โรงเรยี น ใหโ รงเรยี นเปน ฐานในการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา ดงั นน้ั การ

คัดเลือกผูบริหารเขาสูตําแหนงจึงมีการกําหนดคุณสมบัติไวคอนขางสูง และเมื่อเขาสูตําแหนงแลว ผู

บรหิ ารยงั ไดร บั การพฒั นาตนเองอยา งตอ เนอ่ื ง ซึ่งเรื่องนี้ แคทซ (Katz, 1955 : 33-42) ไดกลาวถึงผู

บริหารที่มีประสิทธิภาพไว 3 ประการ คือ ประการแรก ความสามารถทจ่ี ะใชใ นกิจกรรมใดกจิ กรรม

หนึ่งซึ่งจําเปนตองใชวิธีการ กระบวนการ ขน้ั ตอนหรอื เทคนคิ ตา ง ๆ ทจ่ี าํ เปน คือ การปฏิบัติงานในหนา

ที่ ประการที่สองคือ ความสามารถที่จะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพในฐานะสมาชิกของกลุม และ

สรางความรวมมือกับกลุมในฐานะผูนํา รวมถึงความเขาใจ ความตอ งการของคนอน่ื และกระตุนคนอื่น

ในองคกรหรือหนวยงานใหมีสวนรวมในการวางแผนกิจกรรมตาง ๆ ใหบรรลุเปาหมาย และประการสดุ

ทายคือ มคี วามสามารถในการมองเห็นความสมั พันธข องกิจกรรมตาง ๆ ในองคการหรอื หนวยงาน รวม

ถึงความสัมพันธของบุคคลอื่น ๆ ในองคก ารหรอื หนว ยงาน รวมถึงความสัมพันธของบุคคลอื่น ๆ การ

สื่อสาร และลักษณะทางการเมือง สังคม และพลังเศรษฐกิจของชาติทั้งหมด เมื่อพิจารณาในรายขอของ

แตละดาน พบประเด็นในการอภิปรายผลดังนี้

61

1.1 ดานเทคนิควิธี พบวา ขอที่มีทักษะอยูในระดับมากเปนอันดับแรก คอื ผบู รหิ าร
สามารถทําหนาที่ประธานในที่ประชุมครูไดอยางมีประสิทธิภาพ เนอ่ื งมาจากผบู รหิ ารโรงเรยี นไดใ ห
ความสําคัญตอการประชุมครูเพื่อชี้แจงนโยบายและแนวทางปฏิบัติใหกับครู จึงไดเตรียมความพรอมใน
การประชมุ เปน อยา งดี

ขอที่มีทักษะอยูในระดับมากเปนอันดับรองลงมา คือ ผูบริหารมีการพัฒนาตนเองและคน
ควาอยูเสมอ เนื่องมาจากกรุงเทพมหานครและหนวยงาน องคกรการศึกษาตาง ๆ ไดจัดและใหการอ
บรมเกี่ยวกับการจัดการศึกษา และพัฒนาผูบริหารสู ผบู รหิ ารมอื อาชพี ใหกับผูบริหารโรงเรียนทุกโรง
เรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร และเกณฑในการแตงตั้งผูบริหาร ในตําแหนงที่สูงขึ้น จะตองเปนผู
ที่ จบการศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา อีกทั้งจะตองเสนอวิสัยทัศนการ
บริหารการศึกษาได ดังนั้นผูบริหารจะตองใฝเรียน ใฝรูอยูตลอดเวลา

ขอที่มีทักษะอยูในอันดับสุดทายคือ ผูบริหารมีความสามารถในการนําเสนอวิธีการสอน
เปนตัวอยางใหครูไดเมื่อตองการ เพราะการจัดการเรียนการสอนและการสาธิตการสอนนั้น เปน หนา ท่ี
โดยตรงของครูผูสอนที่จะมาสาธิตการสอนเพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเทคนิคและประสบการณซึ่งกันและ
กัน ในขณะทผ่ี บู รหิ ารโรงเรยี นจะเปน ผใู หก ารสนบั สนนุ และอาํ นวยการจดั การเรยี นการสอนมากกวา
การปฏิบัติการสอน ดังนั้นการปฏิบัติงานมักจะเนนการประสานสัมพันธมากกวา จึงทําใหลดทักษะใน
เรอื่ งนไี้ ป

1.2 ทักษะดานมนุษย จากผลการวิจัยพบวา ขอที่มีทักษะอยูในระดับมากที่สุดเปนอันดับ
แรก คือ ผูบริหารปรบั ตัวใหเขา กบั บุคคลอน่ื ในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ทั้งนี้เปนเพราะผู
บริหารโรงเรียนสวนใหญเปนผูที่มีมนุษยสัมพันธดี เขากับบุคคลอื่นไดงาย และมักจะใหความชวยเหลือ
ผอู น่ื อยเู สมอ ทําใหเปนที่รักใครของบุคคลทั่วไป

ขอที่มีทักษะอยูในระดับสูงเปนอันดับรองลงมาคือ ผบู รหิ ารเปด โอกาสใหผ รู ว มงานได
แสดงความคิดเห็นและรวมตัดสินใจในเรื่องราวตางๆอยางสม่ําเสมอ เพราะผบู รหิ ารโรงเรยี นสว นใหญ
ตระหนักถึงความสําคัญในการมีสวนรวมในการทํางาน โดยเหน็ วา บคุ ลากรในโรงเรยี นเปน ตวั จกั ร
สําคัญที่จะทําใหการดําเนินงานดานตาง ๆ ของโรงเรยี นประสบความสาํ เรจ็ ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพและ
เกิดประสิทธิผล ซึ่ง ถวิล เกื้อกูลวงศ (2530, : 3) ไดกลาวถึง การใชทักษะดานบุคคลวาเปนความ
สามารถของผูบริหารที่จะใชดุลพินิจวินิจฉัยในการทํางานรวมกันกับบุคคลอื่นหรือโดยบุคคลอื่น และ
การประยุกตใชภาวะผูนําที่มีประสิทธิผล

ขอที่มีทักษะอยูในระดับมากเปนอันดับสุดทาย คือ ผูบริหารจัดใหมีการพบปะสังสรรค
กันนอกเวลา เพื่อสรางความสัมพันธไมตรีอันดีตอกันระหวางบุคลากรระดับตางๆไดอยางเหมาะสม

62

ผูบริหารโรงเรียนยังใหความสําคัญกับเรื่องนี้นอยกวาที่ควรจะเปน เพราะการใหการพบปะสังสรรคกัน
นอกเวลานน้ั เวลาของบุคลากรที่จะมารวมงานนั้นอาจไมตรงกันรืออาจมีภารกิจทางครอบครัวเขามา
เปน ตวั แทรกจงึ ทาํ ใหด าํ เนินการไดน อย

1.3 ทกั ษะดานความคดิ รวบยอด พบวา ขอที่มีทักษะอยูในระดับมาก เปนอนั ดับแรกคอื
ผูบริหารมีความสามารถนํานโยบายของผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไปทุกระดับชั้นมากําหนดแนวทางการ
ปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสมนั้น ผบู ริหารสวนใหญไ ดร บั การอบรมสัมมนาเกย่ี วกับความรูความเขาใจ
ในการจัดและดําเนินการตามนโยบายและการวางแผน ซึ่งสํานักงานเขตธนบุรี ไดจ ดั ขน้ึ ทําใหสามารถ
นํานโยบายมาสูการปฏิบัติไดเปนอยางดี

ขอที่มีทักษะระดับมาก รองลงมา คือ ผูบริหารสามารถอํานวยการและใหคําปรึกษาเกี่ยวกับ
โครงการตา ง ๆ ทจ่ี ดั ขน้ึ ในโรงเรยี นไดน น้ั เปน ผบู รหิ ารสว นใหญใ นสงั กดั สาํ นกั งานเขตธนบรุ ี เปนผูที่
มีความรูและประสบการณเกี่ยวกับการดําเนินงานตามโครงการตาง ๆ เปน อยา งดี ซง่ึ เปน คุณสมบัตขิ อง
ผนู าํ ทด่ี ี ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2528, : 15) ไดกลาวถึงความสําเร็จของ
การปฏิบัติงานนั้น ผูบริหารตองมีความรูความสามารถ คุณธรรมและคุณลักษณะที่ดี

ขอที่มีทักษะอยูในระดับมากเปนอันดับสุดทาย คือ ผูบริหารรูและเขาใจในความตองการ
ของชุมชนทางดานการศึกษาและนํามาเปนแนวทางในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไดสอดคลอง
เหมาะสมนั้น นื่องมาจากขาดขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับชุมชนหรือขาดการประสานงานและการรวมงาน
ระหวางโรงเรียนกับชุมชน มีโอกาสนอยไปจึงทําใหดําเนินการไดนอยหรือไมชัดเจนเทาที่ควร

2. เปรียบเทียบทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนตามทัศนะของขาราชการครูสังกัด
สํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร จําแนกตามขนาดโรงเรียน พบวาแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ทั้งนี้เนื่องมาจากการบริหารโรงเรียนในสังกัด
กรงุ เทพมหานครในปจ จบุ นั นน้ั ผูบริหารมีทักษะ และความรูความสามารถในการบริหาร โดยมีการเพิ่ม
พูนความรูอยางตอเนื่อง เชนการศึกษาตอในระดับมหาบัณฑิต และหนวยงานราชการใหก ารอบรมและ
พัฒนาผูบริหารอยูเสมอ ๆทั้ง 431 โรงเรยี น อีกทั้งการพิจารณาผูที่จะเขาสูตําแหนงสายงานการบริหาร
การศึกษา ในตาํ แหนง ผชู ว ยอาจารญใหญ อาจารยใ หญ และผอู าํ นวยการโรงเรยี น จะตองมีคุณสมบัติ
ตามที่กลาว (แผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 6 พ.ศ.2545-2549,2545:24) ดงั นน้ั
ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทัศนะของขาราชการครูสังกัด สํานักงานเขต
ธนบุรี กรุงเทพมหานคร จึงแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

63

3. เปรียบเทยี บทกั ษะการบรหิ ารงานของผบู ริหารโรงเรยี นตามทัศนะของขาราชการครสู ังกัด
สํานักงานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร จําแนกตามประสบการณในการปฎิบัติงาน พบวา แตกตางกัน
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ทร่ี ะดบั .05 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

เมอ่ื พจิ ารณาประสบการณใ นการปฎบิ ตั งิ านเปน รายคู พบวาขาราชการครูที่มีประสบการณ
การปฎิบัติงาน ตง้ั แต 12-22 ป กับ ขาราชการครูที่มีประสบการณการปฎิบัติงาน 23-33 ป มีทัศนะตอ
ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
จาํ นวน 2 ทักษะ คือทักษะดานมนุษย และทักษะดานความคิดรวบยอด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากประสบ
การณก ารทาํ งานของขาราชการครู ตง้ั แต 12 ปขึ้นไปถึง 33ป ไดมีสวนรวมในการทํางาน กําหนด
นโยบาย รวมทง้ั มสี วนรว มในการตดั สินใจ ซง่ึ เปน ไปตามการบริหารงานของผบู รหิ ารโรงเรียนใน
ปจจุบันที่เนนการบริหารงานแบบมีสวนรวม ดังนั้นขาราชการครูสวนใหญจึงไดทราบถึงทักษะการ
บรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี น ในลักษณะ หรือรูปแบบการบริหารอยางหลากหลาย สามารถคิดและ
พิจารณาจากประสบการณตรงที่ไดรับ จงึ มที ศั นะตอ ทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถม
ศึกษา แตกตางกัน

สาํ หรบั ขา ราชการครู ที่มีประสบการณการปฎิบัติงานต่ํากวา 12 ปกับขาราชการครูที่มี
ประสบการณการทํางาน 13- 33 ปขึ้นไป มีทัศนะตอทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนไมแตกตาง
กัน ทั้งนี้เปนเพราะการปฏิบัติงานและการบริหารงานในปจจุบัน ผูบริหารเนนการบริหารแบบใหทุกคน
มีสวนรวมในการปฎิบัติงาน จึงทําใหทราบและเห็นทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนรวมกัน แม
วาจะมีประสบการณในการทํางานตางกันก็ตาม (เสรี เลิศสุชาตวนิช, 2531: 11)

ขอ เสนอแนะจากการวจิ ยั

จากผลการศึกษาคนควาเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน ตามทัศนะของ
ขา ราชการครกู รงุ เทพมหานคร สังกัดสํานักงานเขตธนบุรี ในครั้งนี้ ผวู จิ ยั มขี อ เสนอแนะดงั น้ี

ขอ เสนอแนะทว่ั ไป
1. สํานักการศึกษา ควรจดั ใหม โี ครงการอบรม สัมมนา เพอ่ื เพม่ิ พนู ความรใู หก บั ผบู รหิ าร
โรงเรยี นอยา งตอ เนอ่ื ง ทาํ ใหผ บู รหิ ารมกี ารพฒั นาตนเอง อนั จะสง ผลตอ ทกั ษะในการบรหิ ารโรงเรยี น
ไดอยางมีประสิทธิภาพ
2. โรงเรยี นและสาํ นกั งานเขต ควรจดั ใหม กี ารพฒั นาและเพม่ิ ทกั ษะในการบรหิ ารโรงเรยี น
และพัฒนาผูบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เพอ่ื ใหโ รงเรยี นและสาํ นกั งานเขตไดมกี ารบหิ ารจดั การได
ตอ เนื่องและสอดคลองกัน

64

ขอ เสนอแนะสาํ หรบั การวจิ ยั ตอ ไป
1. ควรทําการศึกษาเกี่ยวกบั ทักษะการบริหารของผบู รหิ ารโรงเรยี น ตามทัศนะของขาราช
การครกู รงุ เทพมหานคร หรือผูที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา ในระดบั กรงุ เทพมหานคร
2. ควรทําการศึกษาเกี่ยวกับวิสัยทัศนและทักษะของผูบริหารโรงเรียนในสังกัดสํานัก
งานเขตอื่น ๆ โดยการใชเทคนิคเดลฟาย
3. ควรศกึ ษาเกย่ี วกบั การบรหิ ารเวลาของผบู รหิ ารโรงเรยี น เนื่องจากผลการวิจัยพบวา สวน
ใหญผูบริหารโรงเรียนเนนในดานเทคนิควิธีมากเกินไป

บรรณานกุ รม

กรงุ เทพมหานคร. สํานักการศึกษา. ประมวลกฏหมายและระเบียบในการปฎิบัติงานการศึกษา
ของกรงุ เทพมหานคร.กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย,
2536.
. มาตรฐานโรงเรยี นประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร.กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ ชุมนุมสหกรณการ
เกษตรแหง ประเทศไทย, 2540.
. แผนพัฒนาการศึกษาของกรุงเทพานมหคร ระยะแผนพฒั นากรงุ เทพมหานคร ฉบับที่ 6
(พ.ศ.2545-2549). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2545.
. มาตรฐานโรงเรยี นประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการ
เกษตรแหง ประเทศไทย, 2542.
. รายงานสถิติการศึกษา ป 25444 ของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ
ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2544.
. รายงานผลการประเมินความสําเรจ็ ในการจัดการเรียนการสอน ปก ารศกึ ษา 2544.กรุงเทพฯ:
โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย, 2544.

กติ ติ ตยัคคานนท. เทคนิคการสรางภาวะผูนํา. (พิมพครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: บัตเตอรฟลาย, 2536.
กิติมา ปรดี ดี ลิ ก. ทฤษฎบี รหิ ารองคก าร. กรุงเทพฯ: ธนะการพิมพ, 2529.
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ,สํานักงาน. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง

ชาติ ฉบับที่ 8( 2540-2544) กรุงเทพฯ:สํานกั นายกรฐั มนตรี,2540
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ,สํานักงาน. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง

ชาติ ฉบับที่ 9( 2545-2550) กรุงเทพฯ:สาํ นกั นายกรฐั มนตรี,2545.
คณะกรรมการขา ราชการคร,ู สํานักงาน มาตรฐานเฉพาะตําแหนงผูบริหารสถานศึกษา.กรุงเทพฯ:

สาํ นกั งานคณะกรรมการขา ราชการคร,ู 2540.
. บทบาทหนา ทข่ี องผบู รหิ ารสถานศกึ ษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา 2542.
ชารี มณศี รี. การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ: บูรพาสาสน, 2527.
ดาวเรอื ง รตั นนิ . งานบรหิ ารการศกึ ษาโรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดกรมสามัญศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ าร
การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, 2518.

66

ถวิล เกื้อกูลวงศ. การบรหิ ารการศกึ ษาสมยั ใหม ทฤษฎี วิจัย แนวปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช,
2530.

ธงชัย สันติวงษ. องคก ารและการบรหิ าร. (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, 2533.
ทองพูน นาบอ ทอง. ความพึงพอใจของครทู ม่ี ตี อ พฤติกรรมการบรหิ ารงานโรงเรยี นของครใู หญโ รง

เรยี นประถมศกึ ษา สงั กดั องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั กาฬสนิ ธุ. วิทยานิพนธปริญญาการ
ศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, 2524.
ทวิ า พุทธรักษาทกั ษะการบรหิ ารของผบู รหิ ารโรงเรยี น สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา
จังหวัดชลบุร.ี วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, 2534.
นพพงษ บญุ จติ ราดลุ ย. หลกั การบรหิ ารการศกึ ษา. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:เอส เอม็ เอม็ , 2525.
นวลศรี ตาสิน. ทักษะทางการนิเทศการศึกษาของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาดีเดนสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ ตามการรบั รขู องตน. วิทยานิพนธครุศาสตรมหา
บัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2533.
นิพนธ กินาวงศ. หลกั บรหิ ารสถานศกึ ษา. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ, 2540
บญุ ชม ศรีสะอาด และบุญสง นิลแกว. การอางอิงประชากรเมื่อใชเครื่องมือแบบมาตราสวนประมาณคา
กับกลุมตัวอยาง. วารสารการวดั ผลการศกึ ษา มศว.มหาสารคาม, 2535.
บญุ ทวิ า บุญยะประภัศร. ภาระหนาที่ของผูบังคับบัญชา. วารสารขาราชการ, 2537.

ปกรณ ศรีดอนไผ. การบริหารการศึกษา. นครปฐม: สถาบนั พฒั นาผบู รหิ ารการศกึ ษา, 2528.

เปรมสรุ ยี  เชอ่ื มทอง. จิตลักษณะของผูบริหารและสภาวะการณของกลุมที่เกี่ยวของกับประสิทธิผลของ
โรงเรยี น. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร, 2536.

พนัส หนั นาคนิ ทร. หลกั การบรหิ ารโรงเรยี น. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช, 2531.
…………..พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542. โรงพมิ พค รุ สุ ภา ลาดพรา ว, 2542
…………..รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2540 . กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา, 2540
ไพฑูรย เจรญิ พนั ธุวงศ. พฤติกรรมผูน ํากบั บริหารองคการ. กรุงเทพฯ: โอเดย้ี นสโตร, 2529.

.พฤติกรรมองคการและการบริหาร. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮาส, 2530.
ภิญโญ สาธร. การบรหิ ารการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ศ.ส. การพิมพ. 2523.

.หลกั การบรหิ ารการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค รุ สุ ภา, 2526.

67

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. เทคนคิ การวจิ ยั ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ:ศูนยสงเสริมวิชาการ,
2536.

วจิ ติ ร ศรสี อา น. ( สิงหาคม-กันยายน 2520). บทบาทของผบู รหิ ารในการปรบั ปรงุ สง เสรมิ งานวชิ าการ.
วารสารสภาการศึกษาแหงชาต,ิ 11, 22-23.

วิชิต ทองนยุ และคนอื่น ๆ. การวเิ คราะหพ ฤติกรรมการบรหิ ารและผลของผบู รหิ ารดเี ดน โรงเรยี น
ประถมศึกษา ป 2527. กรงุ เทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต,ิ 2527.

วิชาการ, กรม. คมู ือการประเมนิ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี น ระดับประถมศกึ ษา
กรุงเทพฯ : สํานักงานทดสอบทางการศึกษา,2537.

วิเชียร เย็นกาย. ทกั ษะทเ่ี ปน จรงิ ของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา ตามทัศนะของหัวหนา
การประถมศึกษาอําเภอและครู ในสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเขตการศึกษา 1. วิทยา
นิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยบูรพา, 2535.

วนิ ยั เกษมเศรษฐ. หลกั การและเปาหมายของการนเิ ทศการศกึ ษา. ประมวลบทความนิเทศการศึกษาป
2521. (หนา 5-10). กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา, 2521.

วนิ คิ นาควิเชียร. การศึกษาทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามทัศนะของ
ผบู รหิ ารโรงเรยี นและครอู าจารย สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสงขลา.วิทยานิพนธปริญญา
การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี คริน
ทรวิโรฒ ภาคใต.,2535.

วริ ชั ธรี ประยูรความคิดเหน็ ของผบู รหิ ารโรงเรยี นเกย่ี วกบั ทกั ษะทางการบรหิ ารทพ่ี งึ ประสงค
ของผูบรหิ ารโรงเรียนประถมศกึ ษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ
เขตการศกึ ษา 1. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิต
วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2532.

สนอง เครอื มาก. (ม.ป.ป.) คูมือสอบและปฏิบัติการของผูบริหาร. ม.ป.ท.
สมบูรณ พรรณาภพ. หลกั เบอ้ื งตน ของการบรหิ ารโรงเรยี น. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2521
สมพงษ เกตนุ อ ย. สมรรถภาพการเปน ครใู หญโ รงเรยี นชุมชน สงั กดั องคก ารบรหิ ารสว น

จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ พิษณุโลก, 2523.
สมยศ นาวีการ. การบรหิ าร. กรงุ เทพฯ: ดอกหญา.,2536
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต.ิ แนวคดิ ในการบรหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา.

กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต,ิ 2528.

68

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต.ิ คูมือบริหารงบประมาณโรงเรียนประถมศึกษา.
กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต,ิ 2537.
. แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-
2539). กรุงเทพฯ: รุงเรืองสาสนการ พิมพ, 2540.
. ความรทู ว่ั ไปเกย่ี วกบั การบรหิ าร:ชุดฝก อบรมผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ระดบั สงู เลม ท่ี 1.
กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง, 2541 ก .
. บรหิ ารศาสตร. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. 2541 ข.

สํานักพัฒนาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เขตการศกึ ษา 1. การพัฒนาตนเองและเพื่อนรวมงาน .
ในเอกสารประกอบการฝกอบรม (หนา 14-21). นครปฐม: ศนู ยฝ ก อบรมประจาํ เขตการ
ศึกษา 1 จงั หวดั นครปฐม, 2540.

สํานักงานเขตธนบุร.ี ศูนยวิชาการเขต. การประเมนิ ผลการจดั การเรยี นการสอน ปก ารศกึ ษา2544. 2545
สุกิจ จุลละนันท. หลกั การบรหิ าร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสวนทองถิ่น, 2510.
สุเมธ เดยี วอศิ เรศ. พฤตกิ รรมผนู าํ ทางการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพวัฒนาการพิมพ, 2527.
สุรพันธ ยันทอง. การบรหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัดพิมพอักษร, 2525.

. การบรหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: แพรพิทยา, 2526.
สุวิทย ฤทธิ์เดช. การบรหิ ารงานธรุ การในโรงเรยี น. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช, 2514.
เสรี เลิศสุชาตวนิช. ทกั ษะและพฤตกิ รรมการบริหารของครใู หญโรงเรียนประถมศึกษาสังกดั

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติกอนและหลังการฝกอบรม.วิทยานิพนธ
ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2531.
โสภณ ชนิ คาํ . ความคิดเห็นของครูผูสอนที่มีตอทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียน
มัธยมศกึ ษาขนาดใหญ สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศกึ ษา 7. วิทยานิพนธปริญญาการ
ศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร,
2536.
หวน พินธุพันธ. การบรหิ ารโรงเรยี น. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร, 2528.
อทุ ยั ธรรมเดโช. หลักบริหารการศึกษา (ฉบบั ปรบั ปรงุ ). กรุงเทพฯ: เจาพระยาการพิมพ, 2531.
เอกชยั กี่สุขพันธ. การบรหิ ารงานวชิ าการ. กรุงเทพฯ: อนงคศิลปการพิมพ, 2527.

69

Bello & Howell: Selected by leading higher education E-learning providers. (2000).[Online].
Available: http://www.umi.com/hp/PressRel/2000/20000925.html.

Campbell, Ronald F. (1972). Introduction to education administration. New York:Allyn and
Bacon.

Cronbach, Lee J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York:Harper Collins.
Campbell, R.E. and other. Introduction to Educatioal Administration . 6 th ed.Boston : Allyn

and Bacon, 1983.

Coats, Thomas. “Educatio Community,” College. 57 (4) : 151-152; October , 1986

Diekhoff, G. (1992). Statistics for the social and behavioral science: Univeriate bivariate, multivariate.
Dubuque, LA: Wm.C. Brown.

Drake, Thelbert L. and H. Roe. William H. Roe. The Principalship. 3rd ed.
Eckhant, Edware E. (1978). Selection criteria, practices and procedures of elementary and

secondary school. Dissertation Abstracts International, 39(2), 562-563.
Gorton, Richard D. School Administration and Supervision. Dubuque : W.m.c.

Brown, 1983
Fish, Robert S. The task of educational administration. New York: Harper and Row ; 1963.
Howell, David C. (1992). Statistics methods for psychology. (3rd ed.). Boston: PWS-Kent.
Katz, Robert L. January-February). Skill of effective administrator. Harvard Business

Review, 33(1) ,1955.
Krejcie, Robert V. & Morgan, Daryle W. Autumn). Determining sample size for research

activities. Journal of Educational and Psychological Measurement, 30(3): 607-609; 1970.
Miller, V. The public administration of school. New York: Macmillan ;1965.
Slone, Etta K. Principals and inservice training: Knowledge attitude and Mainstreaming

practices. Dissertation Abstracts International, 44(1), 38-A;1983..
Stogdill, Ralph M. Handbook of Leadership. New York : The Free Press, 1984.

Wiersma, William & Jurs, Stephen G. Educational measurement and testing.(2nd ed.). Boston:
Allyn and Bacon; 1990.

……………………………………………

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก.

ตารางประชากรและกลุมตัวอยาง
แบบสอบถามเพื่อการวิจัย
รายชอ่ื ผเู ชย่ี วชาญตรวจสอบเครอ่ื งมอื

74

แบบสอบถามเพอ่ื การวจิ ยั

เรอ่ื ง ทักษะการบริหารของผูบรหิ ารโรงเรียนตามทัศนะของขาราชการครู
สังกดั สาํ นกั งานเขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร

-----------------------------
คําชี้แจง

1. แบบสอบถามฉบับนี้ แบง เปน 2 ตอน คือ
ตอนท่ี 1 สถานภาพของผตู อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

2. กรุณาตอบแบบสอบถามใหครบทุกขอ และตอบใหตรงกับสภาพความเปนจริง
3. ขอมูลที่ไดจากการตอบแบบสอบถามนี้ จะนําเสนอเปนภาพรวมและจะนําไปใช

สาํ หรบั การวิจยั เทานน้ั

ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู อบแบบสอบถาม
คําชี้แจง โปรดเขียนคําตอบหรอื เครอ่ื งหมาย  ในวงเล็บหนาขอความที่ตรงกับสภาพความเปน
จริงเกี่ยวกับตัวทานมากที่สุด

1. ประสบการณในการปฏิบัติงาน
( ) นอ ยกวา 12 ป
( ) 13 - 22 ป
( ) 23 - 32 ป
( ) 33 ป ขึ้นไป

2. ปจจุบันนี้ปฏิบัติการสอนอยูในโรงเรียน
( ) โรงเรยี นขนาดเล็ก (โรงเรียนที่มีนักเรียน 1- 400 คน)
( ) โรงเรียนขนาดกลาง (โรงเรียนที่มีนักเรียน 401-800 คน)
( ) โรงเรยี นขนาดใหญ (โรงเรียนที่มีนักเรียน 801 ขึ้นไป)

75

ตอนที่ 2 ทักษะการบริหารของผูบริหารโรงเรียนตามทัศนะของขาราชการครูสังกัดสํานักงานเขตธน
บรุ ี กรงุ เทพมหานคร

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม
ใหทานพิจารณาขอคําถามในแบบประเมิน แลวกาเครื่องหมาย √ ลงในแบบประเมิน

ตามระดบั คณุ ภาพ ทท่ี า นเหน็ วา ผบู รหิ ารโรงเรยี น ปฏบิ ัตจิ ริงเก่ยี วกับทกั ษะในการบรหิ ารโรงเรยี น
ตามทัศนะของทาน เพียงใด ตามระดับคุณภาพดังนี้

1. หมายถึง ผบู รหิ ารปฏบิ ตั ิ / หรือมีทักษะดังกลาว จริงนอยที่สุด
2. หมายถึง ผบู รหิ ารปฏบิ ตั ิ / หรือมีทักษะดังกลาว จรงิ นอ ย
3. หมายถึง ผบู รหิ ารปฏบิ ตั ิ / หรือมีทักษะดังกลาว จริงปานกลาง
4. หมายถึง ผบู รหิ ารปฏบิ ตั ิ / หรือมีทักษะดังกลาว จรงิ มาก
5. หมายถึง ผบู รหิ ารปฏิบตั ิ / หรือมีทักษะดังกลาว จริงมากที่สุด

ระดับการปฏิบัติ

ขอ ทักษะการดําเนินงาน มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย
ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ
1
5 432

ทักษะดา นเทคนิควธิ ี

1 ผบู รหิ ารนาํ ความรใู นการจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารมาปฏบิ ตั ไิ ด

เหมาะสมกบั สภาพของโรงเรยี น

2 ผบู รหิ ารนาํ เทคโนโลยมี าใชใ นการจดั ทาํ สถติ แิ ละแผนภมู ิ

เกย่ี วกบั ขอ มลู ทางการศกึ ษาของโรงเรยี นไดอ ยา งชดั เจน

3 ผบู รหิ ารมคี วามสามารถในการนาํ เสนอวธิ กี ารสอนเปน ตวั

อยา งใหก บั ครไู ดเ มอ่ื ครตู อ งการ

4 ผบู รหิ ารมคี วามสามารถในการทําหนา ที่ประธานในท่ปี ระชุม

ครูไดอยางมีประสิทธภิ าพ

5 ผูบริหารใชเทคนิคตาง ๆในการสง่ั การและมอบหมายงานให

ผปู ฏบิ ตั เิ ขา ใจและปฎบิ ตั ติ ามไดถ กู ตอ งชดั เจน

6 ผบู รหิ ารมคี วามสามารถในการจดั หาวสั ดุ -อปุ กรณดวยวธิ ีการ

ตาง ๆมาใชในการเรียนการสอนไดเหมาะสมกบั สภาพของโรง

เรียน

76

ระดับการปฏิบัติ

ขอ ทักษะการดําเนินงาน มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย
ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ

54321

7 ผบู รหิ ารนาํ ความรแู ละความเขา ใจในการจดั ระบบการเกบ็

รกั ษาวสั ดุอปุ กรณและครุภัณฑมาใชใ นการปฏบิ ัตงิ าน

8 ผบู รหิ ารนาํ ความรคู วามเขา ใจในระเบยี บการเงนิ และควบคมุ

กาํ กบั ตดิ ตามมาใชป ฏบิ ตั งิ านไดถ กู ตอ งตามระเบยี บ

9 ผูบริหารนําความรูความเขาใจในระเบียบการสารบรรณและ

ควบคมุ กาํ กบั ตดิ ตาม มาปฏบิ ตั ไิ ดอ ยา งถกู ตอ ง

10 ผบู รหิ ารสามารถจดั ทาํ เกณฑม าตรฐานการทาํ งานของ

บคุ ลากรในโรงเรยี นไดอ ยา งเหมาะสม

11 ผบู ริหารสามารถพฒั นาวธิ ีการตาง ๆเพอ่ื เสนอรายงานเกย่ี วกบั

ความกา วหนา หรอื ปญ หาของนกั เรยี นไปยงั ผปู กครองไดอ ยา ง

เหมาะสม

12 ผบู รหิ ารมคี วามสามารถในการเตรยี มและจดั ทาํ รายงานผล

ปฏบิ ตั งิ านของโรงเรยี นเสนอ สนศ. ไดอ ยา งถกู ตอ งเรยี บรอ ย

13 ผบู รหิ ารใชว ธิ กี ารอยา งหลากหลายในการเสนอขอ มลู ขาวสาร

ตอ ชมุ ชนเพอ่ื การประชาสมั พนั ธโ รงเรยี นไดอ ยา งตอิ เนอ่ื ง

14 ผบู รหิ ารมคี วามรใู นการวางแผนการประชาสมั พนั ธไ ดส อด

คลอ งกบั ลกั ษณะงานของโรงเรยี น

15 ผบู รหิ ารมกี ารพฒั นาตนเอง คน ควา หาความรอู ยเู สมอ

16 ผบู รหิ ารสามารถนาํ ความรทู ไ่ี ดม าประยกุ ตใ ชใ นงานทป่ี ฏบิ ตั ิ
ไดอ ยา งเหมาะสม

17 ผบู รหิ ารมคี วามสามารถในการพฒั นาผใู ตบ งั คบั บญั ชาให
สามารถทํางานแทนได

18 ผบู รหิ ารมคี วามรแู ละความเขา ใจในการรวบรวมขอ มลู และจดั
เกบ็ อยา งเปน ระบบ เพอ่ื ประโยชนใ นการกาํ หนดนโยบายและ
วางแผนปฏบิ ตั งิ าน

77

ระดับการปฏิบัติ

ขอ ทักษะการดําเนินงาน มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย
ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ

54321

ทกั ษะดา นมนษุ ย

19 ผูบ รหิ ารสามารถปรับตวั ใหเขากบั บุคคลอนื่ ในสถานการณ

ตาง ๆ ไดอ ยา งเหมาะสม

20 ผบู รหิ ารเปด โอกาสใหผ รู ว มงานมสี ว นรว มในการปฏบิ ตั งิ าน

ตามความถนดั และความสามารถเปน ประจาํ

21 ผบู รหิ ารใหค วามสาํ คญั และยกยอ งผรู ว มงานบอ ยครง้ั

22 ผบู รหิ ารใหค วามเปน กนั เองกบั ทกุ คนโดยสมาํ่ เสมอและถว น
หนา

23 ผบู รหิ ารมเี วลาใหก บั ทกุ คนในการใหค าํ ปรกึ ษาอยา งจรงิ ใจ

24 ผบู รหิ ารเปด โอกาสใหผ รู ว มงานไดแ สดงความคดิ เหน็ และ
รว มตดั สนิ ใจในเรอ่ื งตา ง ๆ อยา งสมาํ่ เสมอ

25 ผูบริหารสามารถสรางบรรยากาศใหเกิดความรวมมือรวมใจ
ในกลมุ ผรู ว มงานไดเ ปน อยา งดี

26 ผบู รหิ ารรบั ฟง และพยายามชว ยเหลอื ในการแกป ญ หาของทกุ
คนดวยความเต็มใจ

27 ผบู รหิ ารแสดงความยนิ ดแี ละยกยอ งชมเชยผรู ว มงานทป่ี ระสบ
ความสาํ เรจ็ ในการปฏบิ ตั หิ นา ทท่ี ไ่ี ดร บั มอบหมายอยา ง
สมาํ่ เสมอ

28 ผบู รหิ ารจดั ใหม กี ารพบปะสงั สรรคก นั นอกเวลาเพอ่ื สรา ง
สมั พนั ธไ มตรอี นั ดตี อ กนั ระหวา งบคุ ลากรระดบั ตา งๆไดอ ยา ง
เหมาะสม

29 ผบู รหิ ารสามารถเปน ผนู าํ การอภปิ รายทจ่ี งู ใจใหผอู น่ื ปฎบิ ตั ิ
ตามได

30 ผูบรหิ ารปฏบิ ตั ติ อทกุ คนอยา งยุตธิ รรมโดยเทาเทยี มกัน

78

ระดับการปฏิบัติ

ขอ ทักษะการดําเนินงาน มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย
ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ

54321

ทกั ษะดา นมนษุ ย (ตอ)

31 ผูบริหารใชวิธีการตาง ๆในการใหร างวลั แกผ รู ว มงานใน

โอกาสตาง ๆ ไดอ ยา งเหมาะสม

32 ผบู รหิ ารสามารถแกป ญ หาขอ ขดั แยง ทเ่ี กดิ ขน้ึ ระหวา งผรู ว ม

งานไดอ ยา งมผี ลดี

33 ผบู รหิ ารใหโ อกาสแกผ ใู ตบ งั คบั บญั ชามสี ว นรว มรบั ผดิ ชอบ

ในการบริหารงานไดอยางหมาะสม

34 ผูบริหารสามารถจัดระบบการติดตอสื่อสารและการประสาน

งานระหวา งโรงเรยี นกบั ชมุ ชนหรอื หนว ยงานอน่ื อยา งมปี ระ

สิทธิภาพ

35 ผบู รหิ ารสามารถแสวงหาความชว ยเหลอื จากบคุ คลหรอื หนว ย

งานอื่นมาใชในการบริหารโรงเรียนอยูเสมอ

ทักษะดานความคิดรวบยอด

36 ผูบริหารสามารถนํานโยบาย จดุ มงุ หมาย และขอบขา ยของ
งานทช่ี ดั เจนไปใชใ นการปฏบิ ตั งิ าน

37 ผบู รหิ ารนาํ นโยบายของผบู งั คบั บญั ชาเหนอื ชน้ั ขน้ึ ไปมา

กาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ไิ ดอ ยา งเหมาะสม

38 ผบู รหิ ารสามารถวเิ คราะหง านของโรงเรยี นไดถ กู ตอ ง

39 บรหิ ารมคี วามรคู วามเขา ใจในนโยบายกย่ี วกบั การจดั การ
ศึกษาของชาติและนํามากาํ หนดปนนโยบายในการบริหารโรง
เรยี นไดส อดคลอ งเหมาะสม

40 ผบู รหิ ารมคี วามรใู นเรอ่ื งหลกั สตู รการศกึ ษาทกุ ระดบั ชว งชน้ั ท่ี
จดั ในโรงเรยี น และสามารถดาํ เนนิ ใหบ รรลจุ ดุ มงุ หมายของ
หลกั สตู ร

79

ระดับการปฏิบัติ

ขอ ทักษะการดําเนินงาน มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย
ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ

54321

41 ผูบริหารสามารถอํานวยการและใหค ําปรึกษาเกี่ยวกับโครง

การตาง ๆ ทจ่ี ดั ขน้ึ ในโรงเรยี นได

42 ผบู รหิ ารรแู ละเขา ใจในความตอ งการของชมุ ชนทางดา นการ

ศกึ ษาและนาํ มาเปน แนวทางในการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น

ไดส อดคลอ งและเหมาะสม

43 ผบู รหิ ารมแี นวคดิ ทช่ี ดั เจนเกย่ี วกบั การกาํ หนดงบประมาณให

สอดคลอ งกบั แผนพฒั นาประจาํ ปข องโรงเรยี น

44 ผูบริหารมีความสามารถในการวางแผนการใชอาคารสถานที่

ไดเหมาะสมกับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู

45 ผบู รหิ ารสามารถจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั กอ น-หลงั ของการ

ปฏบิ ตั ิ และการแกป ญ หาไดอ ยา งเหมาะสม

46 ผบู รหิ ารมอบหมายอาํ นาจหนา ทใ่ี นการบงั คบั บญั ชาตามลาํ ดบั

ชน้ั ของสายการบงั คบั บญั ชาอยา งเหมาะสม

47 ผูบริหารใชกระบวนการในการพิจารณาความดีความชอบของ

ผใู ตบ งั คบั บญั ชาไดอ ยา งเหมาะสมและยตุ ธิ รรม

48 ผบู รหิ ารมวี ธิ กี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของผใู ตบ งั คบั

บญั ชา เพอ่ื พจิ ารณาความดคี วามชอบไดอ ยา งถกู ตอ ง

ขอขอบคุณ

ภาคผนวก ข.

หนังสือราชการที่เกี่ยวของ
หนงั สือเชญิ ผูเชย่ี วชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื
หนังสอื ขอความอนุเคราะหทดลองใชเ ครอ่ื งมอื
หนังสือขออนึญาตเก็บขอมูล

80

รายชื่อผูเชี่ยวชาญผูตรวจสอบเครื่องมือ

1. นายไพรัช อรรถกามานนท รองผูอํานวยการสํานักการศึกษา
สํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร

2. นางสาวมาสวิมล รกั บานเกิด ผูอํานวยการกองวิชาการ
สํานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร

3. นางประนอม ทวีกาญจน
ผูอํานวยการโรงเรียนพระยามนธาตุราชศรีพิจิตร
สาํ นกั งานเขตบางบอน กรงุ เทพมหานคร

4. ดร.สรายุทธ เศรษฐข จร อาจารยประจําสถาบันราชภัฏบานสมเด็จ
เจาพระยา

5. ผศ.สุภรณ ลิ้มบริบูรณ อาจารยประจําสถาบันราชภัฏบานสมเด็จ
เจาพระยา

…………………………………………………

ภาคผนวก ค.

ประวตั ผิ วู จิ ยั

90

ประวตั ผิ วู จิ ยั

ชื่อ- สกุล นายจริ ภทั ร ศริ พิ รรณาภรณ

ที่อยูปจจุบัน 3/38 หมูที่ 5 ซ.รตั นประเสรฐิ แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทยี น
กรงุ เทพมหานคร 10150
โทร. 0-2451-6174

ประวัติการการศึกษา

พ.ศ. 2504 ประถมศึกษา จากโรงเรยี นเทศบาลวดั แหลมสุวรรณาราม
ตาํ บลทา ฉลอม อําเภอเมือง จงั หวดั สมทุ รสาคร

พ.ศ. 251 มัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนสมุทรสาครวิทยาลัย
จงั หวดั สมทุ รสาคร

พ.ศ. 2525 ปรญิ ญาตรี วิทยาลัยจากเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (วิทยาเขต
เพาะชาง)

ปจ จุบนั ดาํ รงตําแหนง อาจารยใหญโรงเรียนวัดนินสุขาราม เขตบางบอน กรงุ เทพมหานคร


Click to View FlipBook Version