The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความ น.ส.เกศริน อ่าวลึกน้อย มทร,ศรีวิชัย(แก้ไข)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sunshinekukkai, 2018-07-03 04:41:00

บทความ น.ส.เกศริน อ่าวลึกน้อย มทร,ศรีวิชัย(แก้ไข)

บทความ น.ส.เกศริน อ่าวลึกน้อย มทร,ศรีวิชัย(แก้ไข)

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ และนานาชาติ ครงั้ ท่ี 3 มหาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปจั จัยส่วนประสมทางการตลาดกบั พฤตกิ รรมการตดั สินใจเลือกใชบ้ รกิ ารโรงแรมของ
นักทอ่ งเทียวกล่มุ ฮันนมี ูนและแตง่ งาน อาเภอเกาะลนั ตา จงั หวัดกระบี่

The Relationships between Marketing Mix and Decision-Making Behavior in Hotel services
selecting of Honeymoon and Wedding tourists, Ko Lanta District, Krabi Province

เกศรนิ อา่ วลึกน้อย1* อรพรรณ จนั ทร์อินทร์2 และพนิ จิ ดวงจนิ ดา3
Kadsarin Aoluknoi1*, Oraphan Chanin2, and Pinit Duangchinda3

1นักศกึ ษา, คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย
1Student, Department of Management, Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Srivijava,

Thailand.
2ดร. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ยั
2Dr., Department of Management, Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Srivijava, Thailand.
3ดร. คณะเศรษฐศาสตรแ์ ละบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ
3Dr., Department of Economics, Faculty of Economics and Business Administration, Thaksin University, Thailand.

*[email protected]

บทคัดย่อ
การวจิ ัยครง้ั นมี้ วี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศึกษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปจั จัยส่วนประสมทางการตลาดกบั พฤติกรรมในการตัดสนิ ใจ

เลือกใช้บริการโรงแรมในอาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีคือนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและ
แต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ จานวน 130 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ
คา่ เฉลยี่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานตัดสินใจเลือกใช้
บริการโรงแรมอยู่ในระดับมากท้ัง 8 ปัจจัย โดยเรียงลาดับความสาคัญจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบุคลากร ด้าน
สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ดา้ นผลติ ภาพและคณุ ภาพ ด้านราคา ด้านสถานทีต่ ้งั ด้านการสง่ เสริมการตลาด และดา้ นกระบวนการ
ให้บริการ สาหรับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของ
นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบ่ี คือ ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านบุคลากร ณ ระดับนัยสาคัญ
ทางสถิติ 0.05 ดังนั้นผู้ประกอบการควรให้ความสาคัญในเรื่องของผลิตภัณฑ์โดยมีการจัดทาผลิตภัณฑ์สาหรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม
ฮันนีมูนและแต่งงาน เพื่อสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว และด้านบุคลากรโดยมีการจัดตั้งแผนกสาหรับต้อนรับ
นักท่องเทย่ี วกลุม่ ฮันนีมูนและแตง่ งาน เพ่ือดงึ ดูดให้นกั ทอ่ งเทยี่ วกลุ่มฮันนีมนู และแต่งงานเพิ่มขึ้น

คำสำคัญ: ปจั จัยส่วนประสมทางการตลาด, พฤติกรรมการตดั สนิ ใจเลอื กใชบ้ รกิ าร, ฮนั นมี นู และแต่งงาน

Abstract
This research has the objectives Study the relationship between the marketing mix factors and the

decision behavior to select the service of the hotel Ko Lanta district in Krabi province. The sample for this
research is the honeymoon and Wedding tourist Ko Lanta district in Krabi province about 130 persons. The
tool for analysis is questionnaire. The statistics of this research are decision to select the service of the hotel
honeymoon and Wedding tourist the marketing mix factors are in the high level, for instance, product,

การประชุมวชิ าการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

personal, physical environment, productivity and quality, price, location, promotion and process of service.
The marketing mix factors are, relate the decision behavior to select the service of the hotel of the tourists of
the honeymoon and Wedding tourist Ko Lanta district in Krabi province for instance, product and personal
with significance at 0.05 so the entrepreneurs should realize the importance of the Products are organized by
product for honeymoon and Wedding tourist to impress the tourists and personnel with the establishment of
a department for honeymooners and Wedding tourist to attract the honeymoon and Wedding groups
increasingly.

Keyword: marketing mix factors, decision behavior to select the service, honeymoon and Wedding.

บทนา
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Tourism Industry) เป็นธุรกิจท่ีเก่ียวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการซ้ือการบริการจาก

นักท่องเท่ียวชาวต่างประเทศ ถือได้ว่าเป็นการส่งออกท่ีมองไม่เห็นด้วยสายตา (Invisible Export) เพราะเป็นการซื้อด้วยเงินตรา
ซ่ึงผลประโยชนจ์ ะตกอยู่ในประเทศและจะช่วยให้เกิดอาชีพอีกหลายแขนง เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ (ฉันทัช วรรณถนอม,
2552)

องคก์ ารการท่องเท่ียวโลก (World Tourism Organization: UNWTO) ได้พยากรณ์ว่าแนวโน้มของนักท่องเท่ียวจะเพิ่ม
สูงข้ึน นักท่องเท่ียวจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยนักท่องเท่ียวจะมีแนวโน้มสนใจการท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ (Special
Interest Tourism) เพิม่ มากข้ึน ส่งผลใหม้ กี ารทอ่ งเท่ยี วในรปู แบบใหม่ๆ เกดิ ขึน้ มาอีกมากมายแต่ท่ีได้รับความนิยมและสนใจเป็น
อย่างมากคือ การทอ่ งเท่ยี วฮันนมี ูนและแต่งงาน (Honeymoon & Wedding tourism) (หวั หน้าทัวรด์ อทคอม, 2557, ออนไลน์)

ปัจจุบันการแต่งงานในต่างประเทศกาลังเป็นที่นิยมของคู่รักทั่วโลก เพราะการแต่งงานในต่างประเทศจะเป็นการสร้าง
ประสบการณ์ทแ่ี ปลกใหม่นา่ จดจาให้กับครู่ กั และแขกทม่ี าร่วมงานแต่งงาน โดยสถานทท่ี ีค่ ู่รักเลือกในการจัดงานแต่งงานมักจะเป็น
สถานที่ท่แี ตกต่างจากสภาพเปน็ อยู่ปจั จบุ ัน นอกจากนแ้ี ขกท่มี าร่วมงานสามารถใช้โอกาสสาหรับการท่องเที่ยวได้ จากกระแสการ
ท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานเป็นกลุ่มผู้ที่มีรายได้สูงและเป็นกลุ่มเฉพาะทาให้ประเทศที่มีความสวยงามต่างๆได้มีการจัดทา
แผนการท่องเท่ียว รวมไปถึงประเทศไทยที่ให้ความสนใจนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน เนื่องจากนักท่องเท่ียวกลุ่มน้ีเป็น
กลุ่มที่มีรายได้สูง ซ่ึงตลาดสาหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้คือ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส และ
สแกนดเิ นเวยี (การทอ่ งเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย, 2557, ออนไลน)์

ประเทศไทยถอื เป็นแหล่งท่องเที่ยวทม่ี ศี กั ยภาพในการแข่งขันสาหรับตลาดกลมุ่ ฮันนมี นู และแตง่ งาน โดยได้รับความนยิ ม
จากนักท่องเทีย่ วในหลายๆชาติ ทงั้ จากทางยุโรปและเอเชีย นอกจากนี้การเดินทางเข้ามาประกอบพิธีแตง่ งานในประเทศไทยยงั เปน็
ที่นยิ มในตลาดนักท่องเทย่ี วกลุ่มฮนั นมี นู และแต่งงานชาวอนิ เดยี อีกดว้ ย ประเทศไทยจึงได้มีการจัดวางแผนการท่องเที่ยวเจาะกลุ่ม
คู่รัก สาหรบั ประเทศไทยได้มคี ู่รกั ชาวตา่ งชาตไิ ด้เดินทางมาจัดงานแต่งงานโดยสถานที่ท่ีนิยมเดินทาง คือ จังหวัดริมทะเล และหมู่
เกาะทางภาคใต้ของประเทศไทย เน่ืองจากมีทัศนียภาพที่สวยงาม โดยมีนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน ท่ีเดินทางมา
ท่องเที่ยวในประเทศไทยคิดเป็นจานวน 1,043,684 คน โดยมีมูลค่าทางการตลาดคิดเป็น 34,624,040 ล้านบาท ซ่ึงธุรกิจท่ีมี
ความสาคญั โดยตรงตอ่ นกั ท่องเทีย่ วกลุ่มฮนั นีมูนและแตง่ งาน คือธรุ กิจโรงแรม (จิราวดี รตั นไพฑรู ยช์ ยั , 2557)

ธุรกิจโรงแรมเป็นธุรกิจท่ีมีความสาคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเท่ียวและเป็นบทบาทสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจใน
จังหวดั กระบ่ี รวมไปถงึ ธรุ กิจโรงแรมในอาเภอเกาะลนั ตา ซ่ึงเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวท่ีได้รับการสนใจเป็นอย่างมากจากนักท่องเท่ียว
ตา่ งประเทศ เนือ่ งจากโรงแรมในอาเภอเกาะลันตามีความเป็นธรรมชาติ ความเป็นส่วนตัว และมีวัฒนธรรมท่ีโดดเด่น ทาให้เป็นท่ี
นิยมของนักท่องเทย่ี วต่างชาติรวมไปถึงนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน แต่เน่ืองจากนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ และนานาชาติ ครงั้ ที่ 3 มหาวิทยาลัยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

เป็นนกั ทอ่ งเทีย่ วกล่มุ ใหม่ ทาให้ธรุ กจิ โรงแรมไมท่ ราบถงึ ความตอ้ งการของนกั ท่องเทย่ี วกล่มุ นีอ้ ย่างแทจ้ ริง ส่งผลให้ธรุ กิจโรงแรมไม่
สามารถตอบสนองความต้องการของนกั ท่องเทยี่ วกลมุ่ ฮนั นีมนู และแต่งงานไดม้ ากทสี่ ุด (Essential Krabi, 2557, ออนไลน)์

เกาะลนั ตาเปน็ แหล่งทอ่ งเทยี่ วอกี แห่งหนงึ่ ของจังหวัดกระบ่ที ่ีนกั ทอ่ งเท่ียวต่างชาติรู้จักและให้ความสนใจไปเที่ยวกันมาก
ธุรกิจต่างๆ บนเกาะมีชาวต่างชาติไปเปิดธุรกิจหลายราย เช่น ธุรกิจดาน้า บริษัททัวร์ต่างๆ จากเกาะเงียบๆ กลายมาเป็นแหล่ง
ทอ่ งเท่ียวทส่ี าคัญ เพราะความสวยงามและความเงียบสงบของเกาะลนั ตาทาให้นักทอ่ งเท่ยี วตดิ ใจ จึงทาให้ชื่อเสียงของเกาะลันตา
เปน็ ทีร่ จู้ ักในหม่ขู องนกั ท่องเทยี่ วตา่ งชาตใิ นเวลาอนั รวดเรว็ (ศนู ยข์ อ้ มูลเกาะลันตา จังหวดั กระบี่, 2557, ออนไลน์)

ดังนั้นการศกึ ษาคร้ังน้เี ห็นถึงความสาคญั ของธรุ กจิ โรงแรม จงึ ทาการศึกษา สว่ นผสมทางการตลาดของธรุ กิจโรงแรม และ
พฤติกรรมของนกั ทอ่ งเทย่ี วกลุม่ ฮนั นีมนู และแต่งงานในอาเภอเกาะลนั ตา จงั หวัดกระบี่ โดยการศึกษาครั้งนี้สามารถนาไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ต่อผู้บริหารกิจการโรงแรมในการวางแผนและพัฒนากิจการโรงแรมให้มีประสิทธิภาพรวมถึงยกระดับการให้บริการที่มี
คณุ ภาพและมาตรฐานเพื่อตอบสนองนักท่องเที่ยวกลมุ่ ฮนั นีมนู และแต่งได้มากทีส่ ุด
วตั ถุประสงค์

เพือ่ ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหว่างปจั จยั ส่วนประสมทางการตลาดกับพฤตกิ รรมในการตัดสนิ ใจเลือกใชบ้ ริการโรงแรมใน
อาเภอเกาะลนั ตา จังหวดั กระบ่ี
สมมุตฐิ านของการวิจยั

ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจโรงแรมมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของ
นักทอ่ งเท่ียวกลุม่ ฮนั นีมูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จงั หวดั กระบ่ี

วธิ ดี าเนนิ การวิจัย
ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง

ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา คือ นักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบ่ี ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจง (Purposive sampling) ผู้วิจัยได้ทาการกาหนดกลุ่มตัวอย่างเพ่ือให้มีจานวนกลุ่มตัวอย่างท่ีเหมาะสม โดยใช้สูตรการ
คานวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสูตรไม่ทราบจานวนประชากรของ Cochran W.G (1977) กาหนดสัดส่วนของประชากรที่
ต้องสุม่ ร้อยละ 10 มีค่าความเช่อื มนั่ รอ้ ยละ 95 และยอมรบั คา่ คลาดเคลอ่ื นรอ้ ยละ 5 ซึง่ ได้ขนากของกล่มุ ตัวอย่าง เท่ากับ 130 คน

เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ข้อคาถาม

เก่ยี วกบั ปัจจัยส่วนบุคคลของนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
และภมู ิลาเนา พฤติกรรมการตดั สินใจเลือกใช้บรกิ ารโรงแรมของนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จังหวัด
กระบ่ี และปัจจัยส่วนประทางการตลาดท่ีมีความสาคัญต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมและที่พักของนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและ
แต่งงานในอาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบ่ี ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมทาง
การตลาด ด้านบคุ ลากร ดา้ นลักษณะทางกายภาพ ดา้ นกระบวนการ และดา้ นผลติ ภาพ

การสร้างเครื่องมอื และการหาคุณภาพของเคร่อื งมอื
การสร้างเคร่ืองมือในการวจิ ัย ผวู้ จิ ัยดาเนนิ การได้ทาการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่ือสร้างเครื่องมือในการ

วิจัย โดยการหาความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) โดยการนาเสนอผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหารธุรกิจ จานวน 3 ท่าน
ตรวจสอบความครอบคลมุ ของเนอ้ื หา โดยพิจารณาเปน็ รายขอ้ ว่าแตล่ ะข้อคาถามนัน้ มคี วามสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคห์ รือไม่ เพอ่ื
หาดัชนีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (IOC) หลังจากนั้นทาการการหาความเชื่อม่ัน (Reliability) โดยการนาแบบสอบถามไป
ทดสอบกับประชากรท่ีมีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 คน (Tryout) โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ
(Accidental sampling) และนาไปทดสอบความเช่ือมั่นรวมโดยใช้วิธีวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคแอลฟ่า

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ และนานาชาติ คร้งั ที่ 3 มหาวิทยาลัยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

(Cronbach’s Coeffient Alpha) โดยกาหนดค่าความเช่ือมนั่ ทย่ี อมรบั ได้ไม่ต่ากว่า 0.70 (วาโร เพ็งสวัสด์ิ, 2551, หนา้ 258) ได้ค่า
ความเช่อื มนั่ ทท่ี ดสอบได้เทา่ กบั 0.95

สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
สถติ ิขนั้ พืน้ ฐานที่ใชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ี ได้แก่
1. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive analysis) ได้แก่ 1) การแจกแจงความถ่ี โดยแสดงเป็นจานวน
และร้อยละ 2) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง โดยการหาค่าเฉล่ีย 3) การวัดการกระจายของข้อมูล โดยการหาค่าส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน
2. การวเิ คราะห์ข้อมลู ทางสถิติเชิงอนุมาน (Inferential analysis) เพ่ือการทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบค่าไคสแควร์
(Chi – Squara Test) ในการวิเคราะห์ความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปรเชงิ คณุ ภาพ 2 กลุ่ม

ผลการวิจัย
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน

อาเภอเกาะลนั ตา จงั หวดั กระบ่ี
พบว่า นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานส่วนใหญ่จองห้องพักแบบห้อง Suite จานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 35.4

รองลงมา คือห้อง Deluxe จานวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 24.6 และห้องพักที่มีการจองน้อยท่ีสุด คือห้อง Connecting Room
จานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.1 โดยเหตผุ ลในการเลือกใช้บริการโรงแรมส่วนใหญ่คือ ทาเลที่ตั้ง จานวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ
22.5 รองลงมา คือบรรยากาศและการบรกิ ารของพนักงาน จานวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 15.5 และเหตุผลในการเลือกใช้บริการ

โรงแรมน้อยท่ีสุดคือ ความปลอดภัย จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 2.7 ซึ่งช่องทางในการรับรู้ข้อมูลโรงแรมส่วนใหญ่คือ

อินเตอร์เน็ต / เว็บไซต์ จานวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 50.5 รองลงมา คือบริษัทนาเที่ยว จานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 21.5
และช่องทางที่นกั ทอ่ งเทย่ี วกลมุ่ ฮันนมี นู และแต่งงานรับรูน้ อ้ ยทส่ี ุดคอื อ่นื ๆ จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.4 บุคคลท่ีมีส่วนร่วมใน
การตดั สนิ ใจในการเลือกใชบ้ รกิ ารโรงแรมคือ คูร่ ัก จานวน 35 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 26.9 รองลงมา คือพอ่ แม่ / ญาติ จานวน 30 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.1 และบคุ คลที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการเลอื กใช้บรกิ ารโรงแรมนอ้ ยทสี่ ดุ คือ บรษิ ทั ทวั รแ์ ละอ่นื ๆ จานวน 4
คน คิดเป็นร้อยละ 3.1 ซึ่งส่วนใหญ่จะมีการสารองห้องพักล่วงหน้าจานวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 85.4 และไม่มีการสารอง
ห้องพัก จานวน 19 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.6 โดยชอ่ งทางในการสารองห้องพักส่วนใหญค่ อื อนิ เตอร์เน็ต / เว็บไซต์ จานวน 70 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.8 รองลงมา คอื บริษทั นาเท่ยี ว จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 15.4 และช่องทางในการสารองห้องพักน้อยท่ีสุด
คือ อื่นๆ จานวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.4 ระยะเวลาในการเข้าพักโรงแรมสว่ นใหญ่คอื 5 วัน จานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8
รองลงมา คอื 3 และ 7 วนั จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 16.9 ระยะเวลาในการเข้าพักโรงแรมน้อยที่สุดคือ 11 วัน จานวน 1 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.8 โดยกจิ กรรมทีน่ ักท่องเที่ยวกลุม่ ฮนั นมี นู และแตง่ งานนิยมกิจกรรมแกะสลกั จานวน 43 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.1
รองลงมา คือทาอาหารไทย /ขนมไทย จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 31.5 และกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน
นิยมนอ้ ยทีส่ ดุ คือ อ่นื ๆ จานวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ และนานาชาติ คร้งั ท่ี 3 มหาวิทยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีความสาคัญต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรม

ของนกั ทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ ฮนั นมี ูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลนั ตา จังหวดั กระบี่

ตารางที่ 1ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานส่วนผสมทางการตลาดบริการทมี่ ีความสาคญั ตอ่ การเลือกใช้บริการโรงแรมและ

ทีพ่ กั ของนักทอ่ งเท่ยี วกล่มุ ฮนั นีมูนและแตง่ งาน

n=130

ส่วนผสมทางการตลาด คา่ เฉลย่ี ค่าเบีย่ งเบน ระดับความ

มาตรฐาน สาคญั

ด้านผลิตภณั ฑ์ 4.20 0.66 มาก

ดา้ นราคา 4.01 0.71 มาก

ดา้ นสถานทีต่ งั้ 3.94 0.72 มาก

ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด 3.94 0.72 มาก

ด้านบคุ ลากร 4.06 0.70 มาก

ด้านสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ 4.03 0.76 มาก

ดา้ นกระบวนการให้บริการ 3.92 0.71 มาก

ดา้ นผลติ ภาพและคณุ ภาพ 4.03 0.73 มาก

โดยรวม 4.02 0.71 มาก

พบวา่ นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานให้ความสาคัญในการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรม อยู่ในระดับมาก
ท้ัง 8 ปัจจัย โดยปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.66
รองลงมา คอื ดา้ นบุคลากร ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.70 สาหรับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีระดับ
ความสาคัญน้อยที่สุด คือ ด้านกระบวนการให้บริการ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.92 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.71 ซ่ึง
นักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานให้ความสาคัญในการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมด้านผลิตภัณฑ์มี 2 ระดับ ได้แก่
ระดับมากที่สุดและระดับมาก เมื่อหาค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์โดยพิจารณารายข้อพบว่า
ปจั จยั ที่มคี า่ เฉลย่ี สงู สดุ คือคุณภาพโดยรวมท้ังหมดของห้องพักสาหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน ค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.26 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.70 รองลงมาคือ การตกแต่งภายในห้องพักเหมาะสมกับการฮันนีมูนและแต่งงาน
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.58 สาหรับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีระดับความสาคัญน้อยที่สุด คือ
ห้องพักเงียบและความเป็นสว่ นตวั เหมาะสมกับการฮนั นีมนู และแตง่ งาน ค่าเฉลยี่ เทา่ กับ 4.15 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ
0.66 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาดด้านราคา นักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานให้ความสาคัญในการตัดสินใจเลือกใช้
บรกิ ารโรงแรมด้านราคามี 2 ระดับ ได้แก่ ระดับมากท่ีสุดและระดับมาก เมื่อหาค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ด้านราคาโดยพิจารณารายข้อ พบว่าปัจจัยท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือบริการที่ท่านได้รับสมราคากับท่ีท่านได้จ่ายหรือไม่ ค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 4.22 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.70 รองลงมา คือ ความพอใจโดยรวมของราคา ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.93 ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.75 สาหรับปัจจัยด้านราคาที่มีระดับความสาคัญน้อยที่สุด คือ ความคุ้มค่าของราคาแพ็คเกจ
ฮันนีมูนและแต่งงาน ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.88 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.69 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านสถาน
ทีต่ ้ัง นกั ทอ่ งเทยี่ วกล่มุ ฮนั นมี นู และแตง่ งานให้ความสาคญั ในการตดั สนิ ใจเลือกใช้บริการโรงแรมด้านสถานท่ตี ้งั ในระดบั มากทุก
ข้อ เมื่อหาค่าเฉลี่ยของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านสถานที่ต้ังโดยพิจารณารายข้อ พบว่าปัจจัยท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คื อ
ใกล้แหล่งท่องเที่ยว ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.11 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.73 รองลงมาคือ สถานที่จอดรถสะดวก และ

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 3 มหาวทิ ยาลัยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

ปลอดภัย ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.02 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.70 สาหรับปัจจัยด้านสถานท่ีต้ังที่มีระดับความสาคัญน้อย
ท่สี ุด คือความสะดวกในการเดินทาง ค่าเฉลี่ย = 3.92 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.79 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ด้านการสง่ เสริมการตลาด นกั ทอ่ งเท่ยี วกลุ่มฮนั นมี ูนและแตง่ งานให้ความสาคญั ในการตดั สินใจเลือกใช้บริการโรงแรมด้านการ
ส่งเสริมการตลาดในระดับมากทุกข้อ เม่ือหาค่าเฉล่ียของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดโดย
พจิ ารณารายข้อ พบวา่ ปัจจัยที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ การให้ส่วนลดหรือบริการเสริมเม่ือเข้าพักในแพ็คเกจฮันนีมูนและแต่งงาน
ของโรงแรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.01 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.72 รองลงมาคือ การโฆษณาจากสื่ออินเตอร์เน็ตต่างๆ
คา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 3.98 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.70 สาหรับปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดที่มีระดับความสาคัญน้อย
ทส่ี ุด คือการโฆษณาจากสอื่ , สิ่งพิมพ์ตา่ งๆ คา่ เฉลี่ยเท่ากับ 3.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.74 ปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดด้านบุคลากร นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานให้ความสาคัญในการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมด้าน
บคุ ลากรในระดบั มากทุกขอ้ เม่อื หาค่าเฉลยี่ ของปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาดด้านบุคลากรโดยพิจารณารายข้อ พบว่าปัจจัย
ทม่ี คี ่าเฉล่ยี สูงสดุ คือ คุณภาพโดยรวมของพนกั งานและการบรกิ าร ค่าเฉลีย่ เท่ากบั 4.13 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 0.63
รองลงมาคือ บุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ของพนักงาน ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.67 สาหรับ
ปจั จัยดา้ นบุคลากรท่ีมรี ะดับความสาคัญน้อยท่ีสุด คือ กริยา มารยาท การแสดงออกของพนักงาน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.88 ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.75 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูน
และแตง่ งานใหค้ วามสาคัญในการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพในระดับมากทุกข้อ เมื่อหา
คา่ เฉลย่ี ของปจั จยั สว่ นประสมทางการตลาดดา้ นสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพโดยพิจารณารายขอ้ พบว่าปจั จัยท่ีมคี ่าเฉลีย่ สงู สุด
คือ บรรยากาศของโรงแรมและบริการอินเตอร์เน็ต ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.72 รองลงมาคือ
สระว่ายน้าและอ่างน้าวน ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.08 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.83 สาหรับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพที่มีระดับความสาคัญน้อยที่สุด คือการจัดตกแต่งโรงแรมสวยงามและล็อบบ้ี เล้านจ์ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.94 ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.74 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านกระบวนการให้บริการ นักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและ
แตง่ งานใหค้ วามสาคญั ในการตัดสินใจเลือกใชบ้ ริการโรงแรมดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการในระดับมากทุกขอ้ เมื่อหาคา่ เฉลยี่ ของ
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านกระบวนการให้บริการโดยพิจารณารายข้อ พบว่าปัจจัยที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ บริการมี
ความใหม่ ทันสมยั คา่ เฉล่ียเท่ากบั 4.03ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 0.75 รองลงมาคือ มีรถไว้ให้บริการรับ – ส่ง ค่าเฉล่ีย
เท่ากบั 3.98 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน เทา่ กบั 0.72 สาหรบั ปัจจัยด้านกระบวนการใหบ้ รกิ ารทม่ี ีระดับความสาคัญน้อยท่สี ุด คือ
มีบรกิ ารเสรมิ นอกเหนอื จากบรกิ ารหอ้ งพัก คา่ เฉล่ยี เทา่ กบั 3.73 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.64 ปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดด้านผลิตภาพและคุณภาพ นักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานให้ความสาคัญในการตัดสินใจเลือกใช้บริการ
โรงแรมด้านผลิตภาพและคุณภาพในระดับมากทุกข้อ เมื่อหาค่าเฉล่ียของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภาพและ
คุณภาพโดยพิจารณารายข้อ พบว่าปัจจัยท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความรวดเร็วขณะคืนห้องพัก ค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.08 ส่วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.69 รองลงมาคือ ความรวดเร็วโดยรวมในการให้บริการของพนักงาน ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.03 ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 0.71 สาหรบั ปจั จยั ดา้ นผลิตภาพและคณุ ภาพทม่ี ีระดับความสาคัญน้อยท่ีสดุ คอื ความรวดเร็วขณะ
เชค็ อนิ คา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 3.98 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน เทา่ กบั 0.79

การประชมุ วชิ าการระดับชาติ และนานาชาติ คร้งั ที่ 3 มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

ตอนท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ความสัมพันธร์ ะหวา่ งปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้
บริการโรงแรมของนักทอ่ งเที่ยวกลุม่ ฮนั นีมนู และแตง่ งาน อาเภอเกาะลนั ตา จังหวัดกระบี่

ตารางท่ี 2 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปจั จัยส่วนประสมทางการตลาดกบั พฤติกรรมการการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรม
ของนกั ทอ่ งเท่ยี วกล่มุ ฮนั นมี นู และแต่งงาน อาเภอเกาะลนั ตา จงั หวัดกระบ่ี

พฤติกรรมของนกั ทอ่ งเที่ยวกลมุ่ ฮนั นีมนู และแต่งงาน

สว่ นประสมทาง
การตลาด
การเ ืลอกใช้บริการ
ห้อง ัพก

ุบคคลท่ีมีส่วนร่วม
ในการ ัตด ิสนใจ
การวางแผนสารอง
ห้อง ัพกล่วงหน้า
ช่องทางในการ
สารอง ้หอง ัพก
ระยะเวลาในการ
เ ้ขา ัพกโรงแรม

กิจกรรมใน
แ ็พคเกจฮันนีมูน

และแ ่ตงงาน

ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ 2 25.182 18.848 1.444 9.695 40.645 17.658

p 0.005* 0.042* 0.486 0.287 0.004* 0.007*

ดา้ นราคา 2 15.110 12.833 0.582 3.383 20.749 7.412
0.908 0.412 0.284
p 0.128 0.233 0.747

ดา้ นสถานทีต่ ้ัง 2 7.586 18.302 1.399 14.677 29.196 2.407
0.879
p 0.669 0.050 0.497 0.066 0.084

ดา้ นการ 2 10.914 12.791 1.207 12.865 26.226 3.826
ส่งเสรมิ p 0.364 0.236 0.547 0.547 0.158 0.700

การตลาด

ดา้ นบคุ ลากร 2 6.558 18.529 2.465 2.465 32.012 5.071
0.292 0.043* 0.535
p 0.766 0.047* 0.292

ดา้ น 2 15.739 18.980 1.959 1.959 19.342 8.545
สภาพแวดลอ้ ม p 0.400 0.215 0.581 0.581 0.933 0.480

ทางกายภาพ

ดา้ น 2 13.151 19.217 3.314 3.314 27.506 5.237
กระบวนการ p 0.591 0.204 0.346 0.346 0.597 0.813

ให้บริการ

ดา้ นผลติ ภาพ 2 11.251 5.119 5.695 5.695 28.810 4.166
และคุณภาพ p 0.338 0.883 0.058 0.058 0.092 0.654

*P< 0.05 หมายถงึ มนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดับ 0.05

จากตารางที่2 พบว่า ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการตัดสินใจ

เลอื กใช้บรกิ ารโรงแรมของนกั ทอ่ งเทยี่ วกล่มุ ฮันนมี ูนและแตง่ งาน อาเภอเกาะลันตา จงั หวัดกระบี่ มดี งั นี้

1) ดา้ นผลติ ภัณฑ์ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและ

แต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ ในด้านการเลือกใช้บริการห้องพัก ด้านบุคคลท่ีมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้าน

ระยะเวลาในการเข้าพักโรงแรม และด้านกิจกรรมในแพค็ เกจฮันนีมูนและแตง่ งาน อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ และนานาชาติ ครั้งท่ี 3 มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

2) ด้านราคา ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและ
แต่งงาน อาเภอเกาะลนั ตา จงั หวดั กระบี่

3) ดา้ นสถานทต่ี ั้ง ไมม่ ีความสมั พันธก์ ับพฤตกิ รรมการตดั สนิ ใจเลอื กใชบ้ ริการโรงแรมของนักทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ ฮนั นีมูนและ
แต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จงั หวัดกระบ่ี

4) ด้านการสง่ เสรมิ การตลาด ไมม่ ีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตดั สินใจเลือกใชบ้ ริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวกลุ่ม
ฮันนมี นู และแตง่ งาน อาเภอเกาะลนั ตา จงั หวดั กระบี่

5) ด้านบุคลากร มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและ
แตง่ งาน อาเภอเกาะลนั ตา จงั หวัดกระบี่ ด้านบคุ คลท่ีมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจ และด้านระยะเวลาในการเขา้ พกั โรงแรม อยา่ ง
มีนยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05

6) ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมของ
นกั ท่องเที่ยวกล่มุ ฮนั นีมูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลนั ตา จังหวดั กระบี่

7) ดา้ นกระบวนการให้บรกิ าร ไม่มีความสมั พันธก์ ับพฤติกรรมการตดั สินใจเลอื กใชบ้ ริการโรงแรมของนกั ท่องเท่ียวกลุ่ม
ฮันนีมูนและแตง่ งาน อาเภอเกาะลันตา จงั หวดั กระบี่

8) ด้านผลิตภาพและคุณภาพ ไม่มีความสมั พันธก์ บั พฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใชบ้ รกิ ารโรงแรมของนกั ท่องเท่ียวกลุ่ม
ฮนั นมี ูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบ่ี

การอภปิ รายผล
จากการศกึ ษา ความสมั พันธ์ระหว่างปัจจัยสว่ นประสมทางการตลาดกับพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรม

ของนักทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ ฮนั นีมูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลันตา จังหวดั กระบี่ ผูว้ จิ ยั ไดน้ า แนวคดิ ทฤษฎตี ่างๆ และผลงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องมาประกอบผลการการอภิปราย และได้อ้างอิงข้อมูลประกอบเพื่อยืนยันให้ผลที่ได้รับจากการวิจัยในคร้ังน้ีมีความ
น่าเช่อื ถือมากยงิ่ ขนึ้ สามารถสรุปประเด็นทสี่ าคญั ในการอภิปรายผลการวจิ ยั ได้ดังน้ี

จากการศกึ ษาพฤติกรรมของนักท่องเทีย่ วกลมุ่ ฮันนีมูนและแต่งงานการตดั สินใจเลอื กใช้บริการโรงแรม อาเภอเกาะลัน
ตา จังหวัดกระบี่ พบวา่ นักทอ่ งเทย่ี วกล่มุ ฮันนมี ูนและแตง่ งานนิยมจองหอ้ งพักแบบ Suite โดยเหตผุ ลท่ีเลอื กใชบ้ รกิ ารโรงแรม
คือทาเลที่ตั้ง มีช่องทางในการรับรู้ข้อมูลโรงแรมและมีการสารองห้องพักล่วงหน้าทางอินเตอร์เน็ต โดยผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการ
ตดั สนิ ใจเลือกใช้บริการโรงแรม คอื คูร่ ัก ซงึ่ ระยะเวลาในการเข้าพักโรงแรมของนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน จานวน
5 วัน โดยกิจกรรมท่ีนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงานนิยมคือการแกะสลัก ซึ่งสอดคล้องกับ บุญส่ง นับทอง (2553) ได้
ทาการศกึ ษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการท่ีพักของนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติ ในอาเภอเกาะลันตา จังหวัด
กระบ่ี ซึง่ พบวา่ นกั ท่องเท่ียวเลอื กห้องพักประเภทบังกะโลเน้นความเป็นส่วนตัว โดยเหตุผลท่ีเลือกคือทาเลที่ต้ังของท่ีพัก อยู่
ติดทะเล/ชายหาด มีการจองที่พักล่วงหน้า โดยได้แหล่งข้อมูลมาจากอินเทอร์เน็ต โดยระยะเวลาในการเข้าพัก 3 - 7 วัน ซึ่ง
เดินทางมากับคนรัก

นกั ท่องเท่ยี วกลุ่มฮนั นมี นู และแต่งงานการตดั สนิ ใจเลือกใช้บริการโรงแรม อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบ่ีมีความเห็น
ว่าปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาดโดยรวมและปจั จัยสว่ นประสมทางการตลาดรายด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้าน
ช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านการส่งเสริมทางการตลาด ด้านบุคลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านกระบวนการ และด้าน
ผลิตภาพ มีความสาคัญต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรม อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่อยู่ในระดับมาก และ
นักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนมี ูนและแต่งงานเหน็ ว่าปจั จยั ส่วนประสมทางการตลาดรายข้อของแต่ละด้าน ส่วนใหญ่มีความสาคัญต่อ
การตดั สินใจเลอื กใช้บรกิ ารโรงแรม อาเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบ่ีอยู่ในระดับมาก ซ่ึงไม่สอดคล้องกับ การะเกด แก้วมรกต
(2554) ได้ทาการศึกษาเรื่องปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเท่ียวชาวไทยใน

การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ และนานาชาติ ครงั้ ท่ี 3 มหาวทิ ยาลัยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

จังหวดั กระบี่ ซึ่งพบวา่ โดยรวมมีระดับความสาคญั ในระดบั ปานกลาง เมือ่ พจิ ารณารายดา้ น พบวา่ อยใู่ นระดับมาก 5 ด้านเรยี ง
ตามลาดับคอื ดา้ นชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย ด้านลกั ษณะทางกายภาพ ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ ด้านผลิตภัณฑ์ และอยู่
ในระดับปานกลาง 3 ดา้ น คือ ด้านราคา ดา้ นผลติ ภาพ ดา้ นการสง่ เสรมิ ทางการตลาด จากการศึกษาทาให้ผลการวิจัยคัดแย้ง
กนั เนอ่ื งจากการศึกษากล่มุ ตัวอย่างเป็นนกั ท่องเทย่ี วชาวไทยแตกตา่ งจากกลุม่ ตวั อยา่ งที่ผ้วู จิ ยั ไดศ้ ึกษาซง่ึ เป็นนักท่องเที่ยวกลุ่ม
ฮันนีมูนและแต่งงานทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ซึ่งมีพฤติกรรมท่ีแตกต่างกันส่งผลต่อความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวในด้าน
ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด และขนาดพ้นื ท่ีท่ที าการศึกษาตา่ งกนั จึงทาใหผ้ ลการวจิ ัยไม่สอดคล้องกัน

จากการทดสอบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาดด้านผลิตภณั ฑ์ ดา้ นราคา ด้านชอ่ งทางการจดั
จาหน่าย ดา้ นการสง่ เสรมิ ทางการตลาด ด้านบคุ ลากร ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านกระบวนการ และด้านผลติ ภาพโดย
ปัจจยั สว่ นประสมทางการตลาดดา้ นผลติ ภณั ฑ์ และด้านบคุ ลากรมคี วามสมั พันธก์ บั พฤตกิ รรมในการตดั สนิ ใจเลือกใชบ้ ริการ
โรงแรมของนกั ทอ่ งเท่ียวกลุ่มฮันนมี ูนและแต่งงาน อาเภอเกาะลนั ตา จังหวัดกระบ่ี ซ่งึ สอดคลอ้ งกับ จิรฐั ชวนชม (2556) ได้
ทาการศึกษาเรือ่ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งการตัดสนิ ใจเลอื กทพ่ี กั รสี อรท์ ของนกั ท่องเทย่ี วกบั การจัดการสว่ นประสมทางการตลาด
ทพี่ ักรีสอรท์ อาเภอเขาค้อ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ พบวา่ ด้านผลติ ภณั ฑ์ ดา้ นราคา ดา้ นชอ่ งทางการจดั จาหน่ายด้านการสง่ เสรมิ
การบรกิ าร ด้านบคุ ลากรด้านลักษณะทางกายภาพ และดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ มีความสัมพนั ธก์ นั อย่ใู นเกณฑ์ทด่ี ีและไม่
เกดิ ปญั หาความสมั พันธภ์ ายในระหวา่ งตวั แปรอสิ ระ อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิที่ระดับ 0.05

ข้อเสนอแนะจากการวิจยั
1. ผู้ประกอบการควรมกี ารปรบั ปรุงขนาดของโรงแรมเพอื่ รองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน เพราะในกรณี

ท่ีเปน็ การจัดงานแต่งงานโรงแรมตอ้ งรองรบั แขกท่มี าร่วมในงานแตง่ งานด้วย ดงั นั้นผู้ประกอบการจึงต้องมกี ารกาหนดแผนงาน
ในด้านต่างๆเพื่อรองรับนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนแต่งงาน เช่น ด้านผลิตภัณฑ์มีการจัดทาผลิตภัณฑ์เสริมให้กับนักท่องเที่ยว
กลมุ่ ฮนั นมี นู และแต่งงานเพอ่ื เป็นท่ีระลึกหรือสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ด้วยการจัดตกแต่งห้องพักสาหรับ
นักทอ่ งเท่ียวกลมุ่ นโี้ ดยเฉพาะ ด้านบุคลากรมีการจดั อบรมพนักงานในการให้บริการเพ่ือต้อนรับนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและ
แต่งงาน มแี ผนกเฉพาะไว้คอยต้อนรบั นักท่องเทีย่ วกลุ่มฮันนมี นู และแต่งงาน เป็นตน้ นอกจากนี้ในดา้ นบุคลากรผู้ประกอบการ
ควรมีการพฒั นาในเรอื่ งการใหบ้ ริการอยา่ งสมา่ เสมอ ไม่ว่าจะเป็นในด้านของทักษะการให้บริการ การสื่อสารกับนักท่องเท่ียว
ชาวตา่ งชาติ และมีการกาหนดมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารของพนกั งานอยา่ งชดั เจนเพอ่ื ใหก้ ารบริการมคี ุณภาพสรา้ งความพงึ พอใจ
ให้กบั นักทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ ฮันนมี ูนและแตง่ งานสงู สุด

2. ผู้ประกอบการควรมีการดาเนินงานโดยสร้างเครือข่ายกับผู้ประกอบการด้วยกันเอง หรือผู้ประกอบการรายอ่ืนที่
เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ในการสร้างเกาะลันตาให้เป็นเกาะสาหรับการฮันนีมูนและแต่งงาน โดยการร่วมมือกันของ
ผู้ประกอบการในการจัดกิจกรรมต่างๆในการดึงดูดนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูนและแต่งงาน เพ่ือเป็นการขยายฐานลูกค้ากลุ่ม
ฮนั นีมูนและแต่งงานเพิ่มขึ้น และเปน็ การสร้างความเขม้ แขง็ ใหก้ ับธุรกิจโรงแรมในอาเภอเกาะลนั ตา จังหวัดกระบี่

กิตตกิ รรมประกาศ
วทิ ยานิพนธฉ์ บบั นี้สาเร็จลงได้ด้วยความกรุณาอย่างย่ิงจาก ดร.อรพรรณ จันทร์อินทร์ อาจารย์ที่ปรึกษา และดร.พินิจ

ดวงจินดา อาจารยท์ ่ปี รึกษารว่ ม รวมทัง้ คณะกรรมการสอบทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาปรึกษา ตลอดจนตรวจแก้ไขข้อบกพร่อง
ต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่เป็นอย่างยิ่ง จนการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองสาเร็จสมบูรณ์ได้ ขอกราบขอบพระคุณ ผศ.พนิดา รัต
นสุภา ดร.เพียงพิศ ศรีประเสริฐ และนางอัจฉรา ภูพันธ์วิวัตฒน์ ผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบแบบสอบถาม คณาจารย์
เจ้าหน้าที่ทุกท่านในหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ท่ีกรุณาให้คาแนะนา แก้ไข และตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

การประชุมวชิ าการระดับชาติ และนานาชาติ คร้ังท่ี 3 มหาวทิ ยาลัยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ NEUNIC 2015 11 July 2015 North Eastern University

งานวจิ ัยคร้งั น้ี จนทาให้การวิจัยคร้ังนี้สมบูรณ์ และมีคุณค่า รวมทั้งผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและนักท่องเท่ียวกลุ่มฮันนีมูน
และแต่งงานทกุ ทา่ นทีใ่ หค้ วามอนุเคราะห์ ในการเก็บข้อมูลและตอบแบบสอบถาม

เอกสารอ้างองิ
การะเกด แก้วมรกต. (2554). ปจั จยั สว่ นประสมทางการตลาดที่มผี ลต่อการเลอื กใช้บริการโรงแรมของนกั ท่องเทย่ี วชาวไทยใน

จงั หวดั กระบ.ี่ วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาบรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑติ สาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ ,
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี.
กองวจิ ัยงานตลาด การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย. (2557). โครงการศึกษาสถานการณ์และแนวโนม้ ดา้ นการตลาดสาหรบั การ
ทอ่ งเทยี่ วกล่มุ Honeymoon & Wedding. ออนไลน์. http://tourisminvest.tat.or.th/.
สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 20 ธนั วาคม 2557.
จริ าวดี รตั นไพฑรู ยช์ ยั . (2557). อาเซยี น: จดุ หมายตลาดท่องเทีย่ วกลุ่มฮนั นมี นู และแตง่ งาน. สถาบนั ระหว่างประเทศเพอ่ื
การคา้ และการพฒั นา. กรงุ เทพธรุ กิจ.
จริ ฐั ชวนชม. (2556). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการตัดสนิ ใจเลอื กที่พักรสี อรท์ ของนกั ทอ่ งเทยี่ วกับการจดั การส่วนประสมทาง
การตลาดทพ่ี ักรสี อรท์ อาเภอเขาค้อ จังหวดั เพชรบูรณ.์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดุสติ
ฉนั ทชั วรรณถนอม. (2552). ค่มู อื การท่องเทยี่ วมคี วามสาคญั ต่อพวกเราอยา่ งไร.กรุงเทพมหานคร:
กองเผยแพร่ความรู้ด้านการทอ่ งเที่ยว ททท.
บญุ ส่ง นับทอง. (2553). ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อการตดั สินใจเลอื กใชบ้ ริการทีพ่ กั ของนกั ทอ่ งเที่ยวชาวตา่ งชาติในอาเภอเกาะลันตา
จงั หวดั กระบ่ี. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ ,
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี.
วาโร เพง็ สวสั ด.ิ์ (2551). วิธีวทิ ยาการวจิ ยั . กรุงเทพฯ: สุวรี ยิ าสาสน์ , 488 หน้า.
ศนู ยข์ อ้ มูลเกาะลันตา จังหวัดกระบ่ี. (2557). ข้อมลู เกาะลันตา. ออนไลน์
http://www.lantainfo.com/th_about_ko_lanta.htm. สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 15 ธันวาคม 2557
หวั หน้าทัวร์ดอทคอม. (2557). รูปแบบการทอ่ งเทยี่ วในประเทศไทย. ออนไลน์.
http://www.huanatour.com/?name=blog&file=view&id=59. สืบค้นเม่อื วันที่ 22 ธันวาคม 2557
Essential Krabi. (2557). ขอ้ มลู เกาะลันตา. ออนไลน์. http://www.essentialkrabi.com/th_koh_lanta.htm.
สืบค้นเม่ือวันท่ี 15 ธันวาคม 2557.


Click to View FlipBook Version