The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรภาษาไทย ป.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phunsuk27, 2022-04-02 09:54:41

หลักสูตรภาษาไทย ป.4

หลักสูตรภาษาไทย ป.4

I

II

บันทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นอนบุ าลบางมูลนาก “ราษฎร์อทุ ิศ”

ที่ พิเศษ/2565 วันที่ 31 มนี าคม พ.ศ. 2565

เรอ่ื ง ส่งหลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลบางมูลนาก “ราษฎรอ์ ทุ ิศ”

ตามทข่ี ้าพเจ้า นางพูนสขุ วงศศ์ รีรักษา ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ไดร้ ับมอบหมายให้
จัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และมอบหมายให้จัดทำหลักสูตร
กลุ่มสาระการเรยี นรซู้ งึ่ ประกอบดว้ ยสาระและมาตรฐานการเรียนรรู้ ายวชิ าวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษา
ปีที่ 4 ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างวิชาเรียนภาษาไทย วิเคราะห์หน่วย
การเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตวั ชี้วัด และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง นนั้

บัดนี้ข้าพเจ้าได้ดำเนินงาน ดังกล่าวเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว จึงขออนุญาตส่งหลักสูตรรายวิชาภาษาไทย
สำหรับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 เล่มน้ี

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบและพจิ ารณา

ลงชอ่ื ...............................................................
( นางพูนสขุ วงศศ์ รรี กั ษา )

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ

ความเห็นผ้อู ำนวยการโรงเรยี น

....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................

( นายดำรงคเ์ กียรติ โพธ์ิพกุ )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลบางมูลนาก “ราษฎรอ์ ุทิศ”



คำนำ

` หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ จัดทำตามมาตรฐานการเรียนรู้ และ
ตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
การวเิ คราะหต์ วั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้รายชั้นปี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สาระสำคญั แนวการจดั ทำแผนการเรียนรู้
ซง่ึ สอดคล้องกบั หลกั สูตรรายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4

ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรรายวิชาพื้นฐานภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ จะเป็น
ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ของตัวข้าพเจ้า ผู้เรียน และเป็นประโยชน์กับครูผู้สอนที่ศึกษาหลักสูตรรายวิชา
ภาษาไทยเล่มนี้ เป็นสว่ นในการพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

นางพูนสขุ วงศ์ศรีรกั ษา
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

สารบัญ ข

เรื่อง หน้า

- วิสัยทัศน์ 1
- พันธกจิ 1
- สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1
- คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 2
- สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีว้ ัด 2
- คุณภาพผู้เรยี น 3
- มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 4
- คำอธบิ ายรายวิชา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 9
- โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 10
- การประเมนิ ผลการเรียน 21



กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

วสิ ัยทศั น์

ม่งุ ใหน้ ักเรยี นนำความรไู้ ปใชใ้ นการสอื่ สารท้ังดา้ นการอ่าน การฟงั ดู พูดและเขยี น มคี วามคิดสร้างสรรค์
รักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้ ตระหนักในวัฒนธรรม การใช้ภาษาไทยและความเป็นไทย ภูมิใจและ
ชื่นชมในวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปัญญาทางภาษา สามารถนำทักษะทางภาษามาพัฒนาตนเองและประยุกตใ์ น
การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมตามสถานการณ์ มีคุณธรรม
จริยธรรม กา้ วไปในสากลบนพืน้ ฐานความเป็นไทยอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

พนั ธกจิ
1. พฒั นาผเู้ รียนให้มคี ณุ ภาพในการใชภ้ าษาไทยให้มีมาตรฐานการศกึ ษาชาติ
2. พฒั นาระบบการเรียนการสอนกลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
3. พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีทกั ษะการอ่าน การเขียน การฟงั การดู และการพดู ตลอดจนการใชภ้ าษาให้มี
ประสทิ ธิภาพ
4. พฒั นาผูเ้ รียนให้เป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรู้ โดยใช้ภาษาไทยเป็นเคร่อื งมอื ในการแสวงหาความรจู้ าก
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ
5. ปลูกฝงั ให้ผเู้ รยี นเหน็ คุณค่าและภาคภมู ิใจในภาษาไทย ภูมิปัญญาไทย ในฐานะท่ีเปน็ มรดกของชาติ
6. นำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย

สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณภาพมาตรฐาน

การเรยี นรู้ ซง่ึ การพัฒนาผู้เรยี นให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรูท้ ก่ี ำหนดนัน้ จะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสำคญั
5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร และ
ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชนต์ ่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอ่ รองเพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้
วิธกี ารสื่อสารที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทีม่ ีตอ่ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และคิดอยา่ งเปน็ ระบบ เพือ่ นำไปสูก่ ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพือ่ การตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ในสังคม
แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดย
คำนึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล้อม



4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม
ความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ
การเปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อมและการรจู้ ักหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมท่ไี มพ่ ึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อ
ตนเองและผู้อ่ืน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน
การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมคี ุณธรรม

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนให้มคี ุณลักษณะ

อนั พึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถอย่รู ่วมกบั ผู้อ่นื ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
3. มวี ินยั
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพียง
6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้วี ัด
สาระที่ 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หาในการ

ดำเนนิ ชีวติ และมีนสิ ัยรกั การอา่ น
สาระท่ี 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวใน

รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกใน

โอกาสต่างๆ อย่างมีวจิ ารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลัง

ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ
สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดี



คณุ ภาพผู้เรยี น
จบชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบายความหมายโดยตรง

และความหมายโดยนยั ของคำ ประโยค ขอ้ ความ สำนวนโวหารจากเรื่องทอี่ ่าน เขา้ ใจคำแนะนำ คำอธบิ ายในคู่มือ
ตา่ ง ๆ แยกแยะข้อคดิ เห็นและขอ้ เท็จจรงิ จบั ใจความสำคญั ของเร่ืองท่ีอ่าน และนำความรู้ ความคิดจากเรอ่ื งที่อ่าน
ไปตัดสินใจแกป้ ัญหาในการดำเนนิ ชีวติ มมี ารยาทและมีนสิ ัยรักการอ่าน และเหน็ คุณค่าสงิ่ ทอ่ี ่าน

 มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ แต่งประโยคและเขียน
ข้อความ ตลอดจนเขยี นสือ่ สารโดยใช้ข้อความที่ชัดเจนเหมาะสม ใชแ้ ผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคดิ เพื่อ
พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและ
ความคดิ เหน็ เขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขยี น

 พูดแสดงความรู้ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องที่ฟังและดู ตั้งคำถาม
ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังและดู รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูด
ตามลำดบั ขน้ั ตอนเร่ืองต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรอื ประเดน็ ค้นคว้าจากการฟงั การดู การสนทนา และพูด
โน้มน้าวไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล รวมทงั้ มมี ารยาทในการฟงั ดแู ละพูด

 สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษติ รูแ้ ละเข้าใจชนิดและหนา้ ท่ีของคำ
ในประโยค ชนิดของประโยค คำภาษาถิ่นและคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คำราชาศัพท์และคำสุภาพได้
อย่างเหมาะสม แตง่ ประโยค แตง่ บทร้อยกรอง ประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพและกาพย์ยานี ๑๑

 เข้าใจและเห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้านของ
ทอ้ งถน่ิ นำข้อคิดจากเรื่องท่อี ่านนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง และทอ่ งจำบทอาขยานทก่ี ำหนดได้



มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง

สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดำเนนิ ชีวติ

และมีนสิ ยั รักการอ่าน

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.๔ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ ⚫การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมาย

บทร้อยกรองไดถ้ ูกต้อง ของบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองที่

๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค ประกอบดว้ ย

และสำนวนจากเรื่องทีอ่ า่ น - คำท่มี ี ร ล เป็นพยัญชนะตน้

- คำทม่ี พี ยญั ชนะควบกลำ้

- คำทมี่ อี ักษรนำ

- คำประสม

- อักษรย่อและความหมายวรรคตอน

- ประโยคที่มีสำนวนเปน็ คำพังเพย

สภุ าษิต ปรศิ นาคำทายและเครื่องหมาย

วรรคตอน

- การอา่ นบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ

๓. อ่านเรือ่ งสน้ั ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด ⚫การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ต่าง ๆ เช่น

และตอบคำถามจากเร่ืองทอ่ี ่าน - เร่อื งสัน้ ๆ

๔. แยกขอ้ เท็จจริงและข้อคดิ เหน็ - เรอื่ งเล่าจากประสบการณ์

จากเรอ่ื งที่อา่ น - นทิ านชาดก

๕. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรือ่ งที่อา่ น - บทความ

โดยระบุเหตุผลประกอบ - บทโฆษณา

๖. สรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากเรอื่ งที่ - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ

อา่ นเพ่อื นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจำวนั

- สารคดีและบันเทิงคดี

๗. อา่ นหนงั สอื ที่มคี ณุ ค่าตามความ ⚫อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ เช่น
สนใจอยา่ งสม่ำเสมอและแสดงความ - หนงั สือที่นกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั

คดิ เห็นเกย่ี วกบั เรื่องท่อี า่ น วยั

- หนงั สอื ท่คี รแู ละนกั เรยี นกำหนดรว่ มกัน

๘.มมี ารยาทในการอ่าน ⚫มมี ารยาทในการอ่าน



สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรือ่ งราวในรูปแบบต่างๆ

เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๔ ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและ ⚫การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครึ่ง

ครง่ึ บรรทัด บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

๒. เขียนสอ่ื สารโดยใช้คำได้ถกู ต้อง ⚫การเขียนส่ือสาร เช่น

ชดั เจน และเหมาะสม - คำขวญั

- คำแนะนำ

๓. เขียนแผนภาพ โครงเรอื่ ง และ ⚫การนำแผนภาพ โครงเรือ่ ง และแผนภาพ
แผนภาพความคิดเพ่ือใช้พฒั นางาน ความคดิ ไปพัฒนางานเขยี น

เขยี น

๔. เขียนยอ่ ความจากเรื่องสน้ั ๆ ⚫การยอ่ ความจากสอ่ื ต่าง ๆ เช่น นทิ าน ความ

เรยี งประเภทตา่ ง ๆ ประกาศ จดหมาย คำ

สอน

๕. เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบดิ า ⚫การเขยี นจดหมายถงึ เพื่อนและบิดามารดา
มารดา

๖. เขยี นบนั ทึกและเขียนรายงาน ⚫การเขียนบันทกึ และเขยี นรายงาน

จากการศึกษาค้นควา้ จากการศึกษาค้นควา้

๗. เขียนเร่ืองตามจินตนาการ ⚫การเขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการ

๘. มมี ารยาทในการเขียน ⚫มารยาทในการเขียน



สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความร้สู ึกในโอกาส

ตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.๔ ๑. จำแนกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เหน็ การจำแนกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เห็นจาก

จากเรื่องทฟี่ ังและดู เร่อื งที่ฟงั และดู ในชีวติ ประจำวนั

๒. พดู สรปุ ความจากการฟังและดู การจบั ใจความ และการพดู แสดงความรู้

๓. พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ ความคดิ ในเร่ืองทฟ่ี งั และดู จากสอื่ ต่างๆ เช่น

และความรูส้ ึกเกย่ี วกับเร่อื งทฟ่ี งั และ - เรื่องเล่า

ดู - บทความสนั้ ๆ

๔. ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชงิ - ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน

เหตผุ ล - โฆษณา

จากเรอื่ งที่ฟังและดู - ส่ืออิเล็กทรอนิกส์

- เรื่องราวจากบทเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย และกลมุ่ สาระการเรียนรู้อืน่

๕. รายงานเรื่องหรอื ประเดน็ ทีศ่ ึกษา การรายงาน เชน่

คน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการ - การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน

สนทนา - การพูดลำดบั เหตกุ ารณ์

๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และ มารยาทในการฟัง การดู และการพดู

การพูด



สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๔ ๑. สะกดคำและบอกความหมายของคำ  คำในแม่ ก กา

ในบรบิ ทต่างๆ มาตราตัวสะกด

 การผนั อกั ษร

 คำเป็นคำตาย

 คำพอ้ ง

๒. ระบชุ นิดและหน้าทข่ี องคำในประโยค ชนิดของคำได้แก่

- คำนาม

- คำสรรพนาม

- คำกริยา

- คำวิเศษณ์

๓ ใชพ้ จนานุกรมค้นหาความหมายของ การใช้พจนานุกรม

คำ

๔. แตง่ ประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา  ประโยคสามญั

- ส่วนประกอบของประโยค

- ประโยค ๒ ส่วน

- ประโยค ๓ สว่ น

๕. แตง่ บทรอ้ ยกรองและคำขวัญ กลอนสี่

คำขวัญ

๖. บอกความหมายของสำนวน  สำนวนทีเ่ ปน็ คำพงั เพยและสุภาษติ

๗. เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ  ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถ่ินได้  ภาษาถน่ิ



สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมา
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง

ช้นั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.๔ ๑. ระบุขอ้ คดิ จากนทิ านพ้นื บา้ นหรือ วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น
นทิ านคตธิ รรม - นทิ านพ้นื บ้าน

๒. อธิบายข้อคดิ จากการอา่ นเพ่อื - นิทานคติธรรม

นำไปใชใ้ นชวี ติ จริง - เพลงพื้นบ้าน

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและ

ตามความสนใจ

๓. ร้องเพลงพ้นื บา้ น เพลงพน้ื บ้าน

๔. ท่องจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ณุ ค่า

และบทรอ้ ยกรองท่ีมีคณุ ค่าตามความ - บทอาขยานตามทก่ี ำหนด

สนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ



รหสั วิชา ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ อธิบายความหมายของคำ ประโยค
ข้อความ สำนวนโวหารจากเรื่องที่อ่าน แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง จับใจความสำคัญของเรื่องที่อ่าน

เขียนคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ แต่งประโยค และเขียนข้อความ
เขียนสื่อสารโดยใช้ถอ้ ยคำเหมาะสม เขยี นเรยี งความ ย่อความ จดหมายส่วนตวั เขยี นแสดงความร้สู กึ ความคิดเห็น
เขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์

พดู แสดงความรู้ ความคิดเก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและดู เลา่ เรอื่ งย่อจากเร่ืองที่ฟังและดู ตั้งคำถาม ตอบคำถาม
จากเรื่องที่ฟังและดู ประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟงั โฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงาน พูดโน้มน้าวได้อย่างมี
เหตุผล

สะกดคำ เขา้ ใจความหมายของคำ สำนวน คำพงั เพย และสุภาษิต เขา้ ใจชนดิ และหน้าท่ขี องคำในประโยค
ชนดิ ของประโยค คำภาษาถ่ินและคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทยแตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ
และกาพย์ยานี ๑๑

เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่า ระบขุ อ้ คิดจากนิทาน

พื้นบา้ นหรอื นทิ านคตธิ รรม ร้องเพลงพืน้ บา้ นของทอ้ งถนิ่ ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนด

ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป ๔/๔ ป. ๔/๕ ป.๔/๖ ป. ๔/๗ ป. ๔/๘
ท ๒.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป ๔/๔ ป. ๔/๕ ป.๔/๖ ป. ๔/๗ ป. ๔/๘
ท ๓.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป ๔/๔ ป. ๔/๕ ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป ๔/๔ ป. ๔/๕ ป.๔/๖ ป. ๔/๗
ท ๕.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป ๔/๔
รวม ๓๓ ตวั ชว้ี ัด

๑๐

โครงสร้างรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔

รหัสวชิ า ท ๑๔๑๐๑ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง

หน่วย ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคญั ช่วั โมง น้ำหนัก
การ การเรียนรู/้ คะแนน
เรียนรู้ท่ี
ตัวชว้ี ัด

๑ ขนมไทยไรเ้ ทยี มทาน ท ๑.๑ ป.๔/๒ -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ ๗ ๒.๕

ป.๔/๓ ป.๔/๖ สำนวน

ป.๔/๘ -อ่านเร่ืองส้ันๆ ตามเวลาทกี่ ำหนดและตอบ

ท ๔.๑ ป.๔/๑ คำถามจากเรื่อง

ป.๔/๓ -สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คดิ จากเรอ่ื งท่อี า่ นเพื่อ

นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั

-สะกดคำและบอกความหมายของคำ

-ใช้พจนานกุ รมค้นหาความหมายของคำ

๒ ออมไวก้ ำไรชีวิต ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง ๑๐ ๒.๕

ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ

ป.๔/๖ ป.๔/๘ สำนวน

ท ๒.๑ ป.๔/๑ -อ่านเร่อื งสั้นๆ ตามเวลาทก่ี ำหนดและตอบ

ท ๓.๑ ป.๔/๒ คำถามจากเรื่อง

ป.๔/๔ ป.๔/๕ -สรุปความรูแ้ ละข้อคดิ จากเร่ืองท่ีอ่าน-คดั

ท ๔.๑ ป.๔/๕ ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั

ป.๔/๖ -พูดสรุปความจากการฟงั และดู

-ต้งั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจาก

เร่อื ง

-รายงานเร่อื งหรือประเด็นท่ศี กึ ษาค้นคว้า

-แตง่ บทร้อยกรองและคำขวัญ

-บอกความหมายของสำนวน ทปี่ ระกอบด้วย

-สำนวนทเี่ ปน็ คำพังเพยและสภุ าษิต

๑๑

หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั ชว่ั โมง น้ำหนัก
การ การผจญภยั ของ การเรียนร้/ู คะแนน
เรียนร้ทู ่ี สุดสาคร (วรรณคด)ี -อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง
๓ ตัวชี้วัด -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ ๒ ๒.๕
ผกั สมุนไพรใบหญ้า ท ๑.๑ ป.๔/๑ สำนวน
๔ มีคุณค่าท้งั นั้น ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อ่านเรอ่ื งสั้นๆ ตามเวลาทีก่ ำหนด ๑๕ ๒.๕
ป.๔/๖ -สรุปความรูแ้ ละข้อคดิ จากเรอ่ื งที่อ่าน
ท ๕.๑ ป.๔/๒ -อธบิ ายข้อคิดจากเรื่องท่อี า่ น
ป.๔/๔ -ทอ่ งจำบทอาขยาน
-อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง
ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ
ป.๔/๒ ป.๔/๓ สำนวน
ป.๔/๖ ป.๔/๘ -อา่ นเรอ่ื งส้นั ๆ ตามเวลาที่กำหนด
ท ๒.๑ ป.๔/๒ -สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากเรือ่ งทอ่ี า่ น
ป.๔/๓ ป.๔/๗ -เขยี นสือ่ สารโดยใช้คำไดถ้ ูกต้อง
ท ๓.๑ ป.๔/๒ -เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ
ป.๔/๔ ป.๔/๕ ความคิด
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -พูดสรปุ ความจากการฟงั และดู
ป.๔/๒ ป.๔/๔ -ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจาก
เรื่อง
-รายงานเร่ืองหรอื ประเดน็ ท่ีศกึ ษาค้นคว้า
-สะกดคำและบอกความหมายของคำ
ประกอบดว้ ย

-มาตราตัวสะกดมาตรา
-ระบุชนิดและหนา้ ทขี่ องคำในประโยค

-คำที่ประวสิ รรชนีย์
-คำที่ไม่ประวสิ รรชนยี ์
-ไมย้ มก
-การแต่งประโยค

๑๒

หน่วย ช่ือหนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคัญ ชั่วโมง น้ำหนกั
การ ภูมิใจมรดกโลก การเรียนรู้/ คะแนน
เรียนรู้ท่ี
๕ นำ้ ผ้งึ หยดเดียว ตวั ช้ีวัด
(วรรณคด)ี
๖ ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๑๓ ๕

ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ

ป.๔/๕ ป.๔/๖ สำนวน

ป.๔/๘ -อ่านเรอ่ื งสัน้ ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด

ท ๒.๑ ป.๔/๒ -คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่ือง

ป.๔/๓ ป.๔/๗ -สรุปความร้แู ละข้อคดิ จากเรือ่ งทอ่ี า่ น

ท ๓.๑ ป.๔/๒ -เขยี นส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้องชัดเจน

ป.๔/๔ ป.๔/๕ -เขียนแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพ

ท ๔.๑ ป.๔/๑ ความคดิ

ป.๔/๒ ป.๔/๓ -พูดสรปุ ความจากการฟงั และดู

-ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจาก

เรอื่ ง

-รายงานเร่อื งหรือประเดน็ ท่ศี กึ ษาคน้ คว้า

-สะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุ

ชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ใช้

พจนานกุ รมค้นหาความหมายทีป่ ระกอบด้วย

-คำควบกลำ้

-การผันอกั ษร

-คำท่มี ีไมท้ ัณฑฆาต

-คำเป็นคำตาย

ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง ๒ ๒.๕

ป.๔/๓ ป.๔/๖ -อา่ นเรอื่ งส้นั ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนด

ท ๕.๑ ป.๔/๑ -สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากเรือ่ งท่อี ่าน

ป.๔/๒ -อธิบายข้อคดิ จากเร่อื งท่อี ่าน

-ท่องจำบทอาขยาน

๑๓

หนว่ ย ชือ่ หนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคญั ชวั่ โมง น้ำหนกั
การ ชวี ิตทีถ่ กู เมิน การเรยี นรู้/ คะแนน
เรียนรู้ที่
๗ ตัวชว้ี ัด

ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ๑๒ ๒.๕

ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ

ป.๔/๖ สำนวน

ท ๓.๑ ป.๔/๒ -อ่านเร่ืองสั้นๆ ตามเวลาท่ีกำหนด

ป.๔/๔ ป.๔/๕ -สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากเรอื่ งทอี่ า่ น

ท ๔.๑ ป.๔/๑ -เขียนส่ือสารโดยใช้คำไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจน

ป.๔/๒ ป.๔/๔ -เขียนแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพ

ความคิด

-พูดสรปุ ความจากการฟังและดู

-ตัง้ คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจาก

เรอ่ื ง

-รายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ท่ีศกึ ษาคน้ คว้า

-สะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุ

ชนดิ และหน้าทขี่ องคำในประโยค ใช้

พจนานกุ รมค้นหาความหมายทีป่ ระกอบดว้ ย

-คำนาม

-คำสรรพนาม

-คำกริยา

-คำวิเศษณ์

-ประโยคสือ่ สาร

๑๔

หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั ช่วั โมง น้ำหนัก
การ โอม ! พินิจมหา การเรยี นร้/ู คะแนน
เรียนรู้ท่ี -อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง
๘ พิจารณา ตัวช้วี ัด -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ ๗ ๒.๕
ท ๑.๑ ป.๔/๑ สำนวน
๙ ระบำสายฟา้ ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อา่ นเร่อื งสน้ั ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด ๒ ๒.๕
(วรรณคด)ี ป.๔/๔ ป.๔/๖ -แยกข้อเท็จจรงิ และขอ้ คดิ เห็น
ป.๔/๗ ป.๔/๘ -สรุปความรู้และข้อคดิ จากเรือ่ งที่อ่าน
ท ๒.๑ ป.๔/๑ -คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และครึง่
ป.๔/๒ ป.๔/๘ บรรทัด
ท ๓.๑ ป.๔/๑ -เขยี นสอื่ สารโดยใช้คำไดถ้ ูกตอ้ ง
ป.๔/๒ ป.๔/๓ ประกอบด้วย
ป.๔/๔ ป.๔/๕
ป.๔/๖ -การเว้นวรรค
-เครอื่ งหมายวรรคตอน
ท ๑.๑ ป.๔/๑ -เขียนยอ่ หน้า
ป.๔/๓ ป.๔/๖ -อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
ท ๕.๑ ป.๔/๑ -อ่านเร่อื งส้ันๆ ตามเวลาท่ีกำหนด
ป.๔/๒ -สรปุ ความร้แู ละข้อคดิ จากเรือ่ งทอ่ี ่าน
-อธบิ ายข้อคิดจากเรอ่ื งทอ่ี า่ น
-ท่องจำบทอาขยาน

๑๕

หนว่ ย ชอื่ หนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคัญ ช่วั โมง น้ำหนัก
การ แรงพิโรธจากฟา้ ดนิ การเรยี นร/ู้ คะแนน
เรยี นรทู้ ่ี -อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง
๑๐ ไวรัสวายร้าย ตวั ช้วี ัด -อา่ นเร่อื งส้นั ๆ ตามเวลาที่กำหนด ๖ ๒.๕
ท ๑.๑ ป.๔/๑ -สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คิดจากเร่ืองทีอ่ ่าน
๑๑ ป.๔/๓ ป.๔/๖ -คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครึ่ง ๔ ๒.๕
ท ๒.๑ ป.๔/๑ บรรทัด
ป.๔/๘ -พดู สรุปความจากการฟงั
ท ๓.๑ ป.๔/๒ -ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจาก
ป.๔/๔ ป.๔/๕ เรอ่ื ง
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -สะกดคำและบอกความหมายของคำ
ประกอบด้วย
ท ๑.๑ ป.๔/๑
ป.๔/๒ ป.๔/๓ -คำพอ้ ง
ป.๔/๖ -อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง
ท ๒.๑ ป.๔/๑ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ
ป.๔/๒ ป.๔/๘ สำนวน
ท ๓.๑ ป.๔/๒ -อ่านเรอ่ื งสั้นๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด
ป.๔/๔ ป.๔/๕ -สรุปความรู้และขอ้ คดิ จากเรอ่ื งทอ่ี ่าน
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครึง่
บรรทดั
-เขียนส่ือสารโดยใช้คำได้ถกู ต้อง
ประกอบดว้ ย

-การเขยี นเรยี งความ
-ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผล
จากเรื่อง
-สะกดคำและบอกความหมายของคำ

๑๖

หน่วย ชอื่ หน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ ชว่ั โมง น้ำหนัก
การ สนุกสนาน การเรียนรู้/ คะแนน
เรียนรูท้ ่ี กบั การเล่น -อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง
๑๒ ตวั ชี้วัด -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ ๖ ๒.๕
หนูเอยจะบอกให้ ท ๑.๑ ป.๔/๑ สำนวน
๑๓ ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อา่ นเรื่องสนั้ ๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด ๖ ๒.๕
ป.๔/๖ -สรุปความรูแ้ ละข้อคิดจากเรื่องทอ่ี า่ น
ท ๒.๑ ป.๔/๕ -เขยี นจดหมายถงึ เพอื่ น
ป.๔/๘ -พูดสรุปความจากการฟังและดู
ท ๓.๑ ป.๔/๒ -ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจาก
ป.๔/๔ ป.๔/๕ เรื่อง
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -สะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๔/๒ -ระบุชนิดและหนา้ ทขี่ องคำในประโยค
ท ๕.๑ ป.๔/๓ ประกอบด้วย

ท ๑.๑ ป.๔/๑ -ประโยคภาคประธานและภาคแสดง
ป.๔/๒ ป.๔/๓ -ร้องเพลงพ้ืนบา้ นในทอ้ งถิน่
ป.๔/๖ ป.๔/๗ -อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรอง
ป.๔/๘ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ
ท ๒.๑ ป.๔/๒ สำนวน
ป.๔/๔ ป.๔/๖ -อา่ นเร่อื งสนั้ ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด
ป.๔/๘ -สรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากเร่ืองทอี่ า่ น
ท ๓.๑ ป.๔/๒ -อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ
ป.๔/๔ ป.๔/๕ -เขยี นสอ่ื สารโดยใช้คำได้ถกู ตอ้ ง
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -เขยี นยอ่ ความจากเรื่องส้ันๆ
-เขยี นบนั ทึกและเขียนรายงาน
-ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเร่อื ง
-เขยี นสะกดคำและบอกความหมายของคำ

๑๗

หนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคญั ช่วั โมง น้ำหนกั
การ ชือ่ หน่วย การเรียนรู้/ คะแนน
เรียนรูท้ ่ี
๑๔ เรอื่ งเล่าจาก ตัวช้วี ัด

พัทลงุ (วรรณคดี) ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ๔ ๒.๕

๑๕ คนดีศรโี รงเรยี น ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ

๑๖ สารพิษใน ป.๔/๖ สำนวน
ชวี ติ ประจำวนั
ท ๕.๑ ป.๔/๒ -อ่านเรื่องส้นั ๆ ตามเวลาท่ีกำหนด

ป.๔/๔ -สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากเรื่องท่อี ่าน

-อธิบายข้อคดิ จากการอา่ น

-ทอ่ งจำบทอาขยาน

ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรอง ๑๐ ๒.๕

ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ

ป.๔/๖ สำนวน

ท ๓.๑ ป.๔/๒ -อา่ นเรอื่ งสน้ั ๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด

ป.๔/๓ ป.๔/๔ -สรุปความรู้และข้อคิดจากเรือ่ งทอี่ า่ น

ป.๔/๕ ป.๔/๖ -พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก

ท ๔.๑ ป.๔/๑ ประกอบดว้ ย

ป.๔/๓ -การพดู แนะนำตัว

-การพูดสนทนา

-การพูดโน้มนา้ ว

-การพูดโตแ้ ย้ง

ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง ๕ ๒.๕

ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ

ป.๔/๔ ป.๔/๖ สำนวน

ท ๓.๑ ป.๔/๒ -อา่ นเรอ่ื งสน้ั ๆ ตามเวลาท่กี ำหนด

ป.๔/๔ ป.๔/๕ -สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คิดจากเรอ่ื งที่อา่ น

ท ๔.๑ ป.๔/๑ -ตั้งคำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจาก

เร่อื งฟงั และดูประกอบด้วย

-การโฆษณา

-สะกดคำและบอกความหมายของคำ

๑๘

หน่วย มาตรฐาน น้ำหนกั
การ คะแนน
เรียนรู้ที่ ช่อื หน่วย การเรยี นร/ู้ สาระสำคัญ ช่วั โมง
๑๗
ตวั ชี้วัด -อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง
๑๘ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ
ดวงจันทรข์ อง ท ๑.๑ ป.๔/๑ สำนวน ๔ ๒.๕
๑๙ -อ่านเร่อื งสั้นๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด
ลำเจยี ก (วรรณคดี) ป.๔/๒ ป.๔/๓ -สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องทีอ่ ่าน
-ระบุขอ้ คิดจากนิทานพืน้ บา้ น
ป.๔/๖ -อธิบายข้อคิดจากการอา่ น
-อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง
ท ๕.๑ ป.๔/๑ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ
สำนวน
ป.๔/๒ -อ่านเรื่องส้นั ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนด
-สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องท่ีอา่ น ฟงั
อยา่ งน้ดี ีควรทำ ท ๑.๑ ป.๔/๑ และดู ๖ ๒.๕
กระดาษนม้ี ีทม่ี า ป.๔/๒ ป.๔/๓ -จำแนกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเหน็
ป.๔/๖ -สะกดคำและบอกความหมายของคำ ๖ ๒.๕
ท ๓.๑ ป.๔/๑ -อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรอง
ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ
ป.๔/๔ ป.๔/๕ สำนวน
ป.๔/๖ -อ่านเร่อื งสั้นๆ ตามเวลาท่กี ำหนด
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรื่องทอี่ ่าน
ท ๑.๑ ป.๔/๑ -เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ
ป.๔/๒ ป.๔/๓ ความคดิ
ป.๔/๖ -การเขียนรายงาน
ท ๒.๑ ป.๔/๓ -สะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๔/๖
ท ๓.๑ ป.๔/๒
ป.๔/๔ ป.๔/๕
ท ๔.๑ ป.๔/๑

๑๙

หนว่ ย ชอื่ หนว่ ย มาตรฐาน สาระสำคัญ ช่ัวโมง น้ำหนัก
การ ห้องสมดุ ปา่ การเรียนรู/้ คะแนน
เรียนรทู้ ี่ (วรรณคดี) -อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง
๒๐ ตวั ช้ีวัด -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ ๕ ๒.๕
รักท่คี ุม้ ภัย ท ๑.๑ ป.๔/๑ สำนวน
๒๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อ่านเร่ืองสัน้ ๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด ๑๒ ๒.๕
ป.๔/๖ -สรปุ ความรูแ้ ละขอ้ คิดจากเรอ่ื งทอ่ี า่ น
ท ๕.๑ ป.๔/๑ -ระบขุ อ้ คดิ จากนทิ านพน้ื บ้าน
ป.๔/๒ -อธบิ ายขอ้ คิดจากการอา่ น
-อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง
ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ
ป.๔/๒ ป.๔/๓ สำนวน
ป.๔/๖ -อา่ นเรื่องสน้ั ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด
ท ๓.๑ ป.๔/๒ -สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอา่ น
ป.๔/๔ ป.๔/๕ -สะกดคำและบอกความหมายของคำ
ท ๔.๑ ป.๔/๑ ประกอบดว้ ย
ป.๔/๓ ป.๔/๗
-ภาษาพดู
-ภาษาเขยี น
-ภาษาถนิ่
-คำทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ
-การใช้พจนานุกรม

๒๐

หน่วย ช่อื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ ชั่วโมง นำ้ หนกั
การ ธรรมชาตนิ ้มี คี ุณ การเรียนรู้/ คะแนน
เรยี นรทู้ ่ี -อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง
๒๒ ตัวช้ีวัด -อธิบายความหมายของคำ ประโยค และ ๑๑ ๒.๕
ท ๑.๑ ป.๔/๑ สำนวน
ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อ่านเรื่องสน้ั ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนด
ป.๔/๖ -สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรือ่ งทีอ่ ่าน
ท ๓.๑ ป.๔/๒ -ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจาก
ป.๔/๔ ป.๔/๕ เรือ่ ง
ท ๔.๑ ป.๔/๑ -สะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๔/๓ ป.๔/๕ ประกอบด้วย

-คำราชาศัพท์
-การใช้พจนานุกรม
-แตง่ บทรอ้ ยกรองประกอบด้วย

-กลอนส่ี
-กลอนแปด
-กาพย์ยานี ๑๑

๒๓ เรอื่ งเล่าจาก ท ๑.๑ ป.๔/๑ -อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรอง ๔ ๒.๕
พัทลุง (วรรณคด)ี ป.๔/๒ ป.๔/๓ -อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และ
ป.๔/๖ สำนวน ๖๐
ท ๕.๑ ป.๔/๒ -อ่านเรื่องส้ันๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด ๔๐
ป.๔/๔ -สรปุ ความรแู้ ละขอ้ คิดจากเรื่องที่อ่าน ๑๖๐ ๑๐๐

-อธบิ ายขอ้ คดิ จากการอา่ น
-ท่องจำบทอาขยาน
คะแนนระหว่างปี

สอบปลายภาคเรยี น

รวม

๒๑

การประเมนิ ผลการเรียน

๑. การประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาพืน้ ฐานและรายวชิ าเพิ่มเติม

๑.๑ ครูผู้สอนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ เป็นผู้

กำหนดวิธีการและเครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ในแตล่ ะรายวิชา ซึ่งทัว่ ไปจะมกี ารประเมนิ ในระหว่าง

เรียนและการประเมินเมอ่ื จบการเรียนแตล่ ะรายวิชา

๑.๒ เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการประเมินจะตอ้ งมีหลากหลายและสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

โดยทั่วไปจะต้องมีการประเมินกลางภาคเรียน ปลายภาคเรียน การประเมินจากผลงาน การประเมินจากแฟ้ม

สะสมผลงาน การสอบปฏิบตั ิ การสมั ภาษณ์ รวมถงึ การประเมนิ โดยใช้แบบสังเกตและแบบบันทึกต่าง ๆ แล้วปรับ

ผลการประเมนิ จากเครื่องมือและวธิ กี ารประเมนิ รปู แบบต่าง ๆ ใหเ้ ป็นคะแนน โดยทัว่ ไปจะปรบั คะแนนเต็มให้เป็น

๑๐๐

๑.๓ การใหร้ ะดบั ผลการเรียนของแต่ละรายวชิ า จะใช้วธิ อี งิ เกณฑห์ รอื ตวั ชี้วัด ตามมาตรฐานหรอื

ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวงั โดยจะให้ระดบั ผลการเรียนตามคะแนนผลการสอบและการประเมนิ ดังน้ี

๔ หมายถึง ผลการเรียน ดเี ย่ยี ม ได้คะแนนร้อยละ ๘๐ - ๑๐๐

๓.๕ หมายถึง ผลการเรียน ดีมาก ไดค้ ะแนนร้อยละ ๗๕-๗๙

๓ หมายถึง ผลการเรียน ดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๗๐-๗๔

๒.๕ หมายถงึ ผลการเรียน ค่อนขา้ งดี ได้คะแนนรอ้ ยละ ๖๕-๖๙

๒ หมายถึง ผลการเรียน นา่ พอใจ ได้คะแนนรอ้ ยละ ๖๐-๖๔

๑.๕ หมายถึง ผลการเรยี น พอใช้ ไดค้ ะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙

๑ หมายถงึ ผลการเรียน ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำ ได้คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔

๐ หมายถงึ ผลการเรยี น ต่ำกว่าเกณฑข์ นั้ ต่ำ ได้คะแนนรอ้ ยละ ๑-๔๙

๑.๔ ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา นักเรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ

๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมดในรายวชิ านัน้ ๆ

๑.๕ นกั เรียนต้องได้รับการประเมนิ ทกุ ตัวชว้ี ดั และผา่ นมาตรฐานตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด

๑.๖ นักเรยี นตอ้ งไดร้ บั การตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา นกั เรียนทีม่ รี ะดับผลการเรียนรายวิชา

ใดวิชาหนง่ึ เปน็ “๐” หรอื “๑” จะต้องทำกจิ กรรมหรือเรียนเสริมตามทีค่ รูผู้สอนกำหนด โดยความเห็นชอบของ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการของโรงเรยี น แลว้ จึงสอบแก้ตวั ไดไ้ มเ่ กิน ๒ ครงั้

๑.๗ ในกรณีที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ ให้ใช้ตัวอักษรระบุเงื่อนไขของ

ผลการเรยี น ดงั น้ี

๒๒

“มส” หมายถึง นักเรยี นไมม่ สี ิทธิ์เขา้ รับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากนักเรียน
มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลาย
ภาคเรยี น

“ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไม่ได้ เนื่องจากนักเรียนไม่มี
ข้อมูลผลการเรยี นรายวชิ านั้นครบถ้วน ไดแ้ ก่ ไมไ่ ด้วัดผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ได้สง่ งานท่มี อบหมาย
ใหท้ ำซง่ึ งานนั้นเปน็ ส่วนหน่งึ ของการตดั สนิ ผลการเรยี นหรือมเี หตุสดุ วิสยั ทที่ ำใหป้ ระเมินผลการเรียนไม่ได้

๒. การประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
การประเมินจะใหเ้ ปน็ ผา่ นและไม่ผา่ น กรณที ่ีผ่านให้ระดบั ผลการประเมินเป็นดเี ย่ยี ม ดี และผา่ น

ดงั น้ี
๒.๑ การประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น เพอ่ื การเล่ือนชั้นและจบการศกึ ษา โดยกำหนด

เกณฑก์ ารตัดสนิ เป็น ๔ ระดบั ดงั นี้
ดเี ย่ียม หมายถงึ มผี ลงานแสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะหแ์ ละเขียนทม่ี ีคณุ ภาพดีเลิศอย่เู สมอ
ดี หมายถงึ ผลงานแสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น
คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นที่มีคณุ ภาพเปน็ ท่ียอมรบั
ผ่าน หมายถงึ ผลงานแสดงถงึ ความสามารถในการอา่ น
คดิ วิเคราะห์และเขียนทมี่ ีคุณภาพเป็นท่ียอมรับแต่
ยงั มีขอ้ บกพร่องบางประการ
ไมผ่ ่าน หมายถงึ ไมม่ ผี ลงานแสดงถึงความสามารถในการอา่ น
คดิ วเิ คราะห์และเขียนหรือถา้ มผี ลงาน ผลงานนั้น
ยงั มขี ้อบกพรอ่ งทต่ี อ้ งไดร้ ับการปรบั ปรุงแกไ้ ข
หลายประการ

๒.๒ การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ครอบคลุมสดมภ์ดังต่อไปนี้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซ่อื สัตย์สุจรติ
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งม่นั ในการทำงาน

๒๓

๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
โดยมเี กณฑก์ ารประเมิน ดงั นี้
ดเี ยีย่ ม หมายถึง ผ้เู รียนปฏบิ ัติตนตามคุณลกั ษณะจนเปน็ นสิ ัยและ

นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของตนเอง
และสังคม
ดี หมายถงึ ผเู้ รยี นมคี ุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
เพ่ือให้เปน็ ทีย่ อมรบั ของสงั คม
ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นรบั รแู้ ละปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑ์และเงือ่ นไขที่
โรงเรียนกำหนด
ไม่ผ่าน หมายถึง ผ้เู รียนรับรู้และปฏิบัติไดไ้ มค่ รบตามกฎเกณฑแ์ ละ
เงือ่ นไขทโี่ รงเรียนกำหนด
๓. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
๓.๑ ในแต่ละภาคเรียน ให้คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวิชาการ จัดทำแบบบันทึกการ
ปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สำหรับใช้บันทึกการปฏิบัติกิจกรรมในภาคเรียนนั้น ๆ แล้วให้ครูที่ปรึกษาลงนาม
รบั รอง
๓.๒ เม่อื สน้ิ ภาคเรยี นให้ครูที่ปรึกษากิจกรรม รวบรวมแบบบนั ทึกการปฏิบัตกิ ิจกรรมดังกล่าวส่ง
นายทะเบียนวดั ผลเพื่อบันทึกเปน็ ข้อมลู นักเรียนจะต้องปฏบิ ัติกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนตามเกณฑ์ขั้นต่ำที่โรงเรียน
กำหนด จึงจะถอื วา่ สำเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร ซึ่งประกอบดว้ ยกิจกรรม ๓ ลกั ษณะ ดงั นี้
๓.๒.๑ กิจกรรมแนะแนว
๓.๒.๒ กิจกรรมนกั เรียน ซง่ึ ประกอบดว้ ย
๓.๒.๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ ยวุ กาชาด
๓.๒.๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม
๓.๒.๓ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ นักเรียนจะตอ้ งมจี ำนวนช่วั โมงในการ
ทำกจิ กรรมเพ่ือพฒั นาโรงเรียนและบำเพ็ญประโยชนเ์ พ่อื สงั คมไม่ต่ำกวา่ ๘ ชวั่ โมง/ภาคเรียน
ใหใ้ ช้ตวั อกั ษรทีแ่ สดงผลการประเมิน ดงั นี้
“ผ” หมายถงึ นกั เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมและมผี ลงานตาม
ระเบียบการวดั ประเมนิ ผลโรงเรียนอนุบาลบางมูลนาก “ราษฎรอ์ ทุ ศิ ”
“มผ” หมายถึง นักเรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปฏิบัติกิจกรรมแต่ไม่มีผลงาน
ตามระเบียบการวัดประเมินผลโรงเรยี นอนบุ าลบางมลู นาก “ราษฎรอ์ ทุ ิศ”

๒๔

๔. การเปล่ยี นผลการเรียน
๔.๑ การเปลีย่ นผลการเรียน “๐”
โรงเรยี นจัดใหม้ กี ารสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ท่ีนกั เรียนสอบไม่ผ่าน

กอ่ น แล้วจงึ สอบแกต้ ัวไดไ้ มเ่ กนิ ๒ ครงั้ ถ้านกั เรยี นไม่ดำเนินการสอบแกต้ วั ตามระยะเวลาท่โี รงเรยี นกำหนด ให้อยู่
ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน ทั้งนี้ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน
ปกี ารศกึ ษาน้นั ถ้าสอบแกต้ วั สองครง้ั แล้วยังได้รับผลการเรียน “๐” อกี โรงเรียนจะแต่งตั้งคณะกรรมการเกี่ยวกับ
การเปลย่ี นผลการเรียนของนักเรียน โดยถอื ปฏิบัติดังนี้

๑) ถา้ เปน็ รายวิชาพืน้ ฐานใหเ้ รียนซ้ำในวชิ าน้ัน
๒) ถ้าเปน็ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ใหเ้ รยี นซ้ำหรือเปลยี่ นรายวิชาเรยี นใหม่ ท้ังน้อี ยู่ในดุลยพินจิ
ของโรงเรียน ในกรณีท่เี ปล่ียนรายวิชาเรยี นใหม่และหมายเหตุในระเบยี นแสดงผลการเรยี นวา่ เรียนแทนรายวิชาใด
๔.๒ การเปลีย่ นผลการเรียน “ร”
การเปล่ียนผลการเรียน “ร” ให้ดำเนนิ การ ดงั น้ี
ใหน้ กั เรียนดำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตเุ มอ่ื นักเรียนแกไ้ ขปัญหาเสรจ็ แลว้ ให้ไดร้ บั
ผลการเรยี นตามปกติ (ตั้งแต่ ๐-๔)
ถา้ นกั เรียนไมด่ ำเนนิ การแกไ้ ข “ร” ให้ครนู ำข้อมลู ทีม่ อี ยตู่ ัดสินผลการเรียน ยกเว้นมี
เหตุสุดวิสัย ให้อย่ใู นดุลยพนิ จิ ของโรงเรยี นที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรียน ทั้งน้ี ต้อง
ดำเนนิ การให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปกี ารศึกษานัน้ เมอื่ พ้นกำหนดนีแ้ ล้ว หากผลการเรยี นเป็น “๐” ใหด้ ำเนนิ การแก้ไข
ตามหลักเกณฑ์
๔.๓ การเปลยี่ นผลการเรยี น “มส”
การเปลี่ยนผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดังน้ี
๑. กรณีนักเรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ แต่ไม่น้อย
กว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมด ให้โรงเรียนจัดใหเ้ รียนเพิม่ เติม โดยใชช้ ัว่ โมงสอนซ่อมเสริมหรือใช้เวลาว่าง
หรือใช้วันหยุดหรือมอบหมายงานให้ทำ จนมีเวลาเรียนครบตามที่กำหนดไว้สำหรับรายวิชานั้น แล้วจึงให้วัดผล
ปลายภาคเรียนเป็นกรณีพิเศษ ผลการแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีนี้ให้
กระทำให้เสรจ็ ส้ินภายในปกี ารศกึ ษานั้น ถ้านกั เรียนไม่มาดำเนนิ การแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กำหนดไวน้ ใ้ี ห้เรียน
ซ้ำ ยกเว้นแต่มีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกิน
๑ ภาคเรียน แต่เมือ่ พ้นกำหนดน้ีแลว้ ใหด้ ำเนินการ ดงั น้ี

๒๕

๑) ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐานให้เรียนซ้ำในวชิ านั้น
๒) ถา้ เป็นรายวชิ าเพ่มิ เตมิ ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของโรงเรียน ใหเ้ รียนซ้ำ หรอื เปลยี่ น
วิชาเรียนใหม่
๒. กรณีนักเรียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” และมีเวลาเรียนน้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของเวลา
เรียนท้งั หมดใหโ้ รงเรยี นดำเนินการดังน้ี
๑) ถ้าเป็นรายวชิ าพ้นื ฐานใหเ้ รยี นซำ้ ในวชิ านั้น
๒) ถ้าเปน็ รายวิชาเพม่ิ เตมิ ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของโรงเรียน ใหเ้ รยี นซำ้ หรอื เปลีย่ น
วิชาเรียนใหม่
ในกรณีท่ีเปลีย่ นรายวชิ าเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนวา่ เรียน
แทนรายวิชาใด
การเรยี นซำ้ รายวชิ า หากนักเรยี นได้รบั การสอนซ่อมเสริมและสอบแกต้ ัวสองคร้งั แลว้ ไม่
ผ่านเกณฑ์ประเมิน ให้เรียนซ้ำรายวิชานั้น ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของโรงเรียนในการจัดให้เรียนซ้ำ ในช่วงใด
ชว่ งหน่ึงทีโ่ รงเรยี นเหน็ วา่ เหมาะสม เช่น พกั กลางวนั วันหยุด ช่วั โมงว่างหลังเลิกเรยี น ภาคฤดูร้อน เป็นตน้
ในกรณภี าคเรียนที่ ๒ หากผ้เู รียนยงั มีผลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ให้ดำเนินการให้
เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรยี นปีการศกึ ษาถัดไป โรงเรียนอาจเปิดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อน เพื่อแก้ไขผลการ
เรยี นของนกั เรียนได้ ทัง้ น้ี หากโรงเรยี นไม่สามารถดำเนินการเปิดทำการเรียนการสอนภาคฤดูร้อนได้ ให้ต้นสังกัด
เปน็ ผูพ้ จิ ารณาประสานงานให้มีการดำเนนิ การเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพื่อแกไ้ ขผลการเรียนของนกั เรียน
๔.๔ การเปลี่ยนผลการเรยี น “มผ”
ในกรณีที่นักเรียนได้ผลการเรียน “มผ” โรงเรียนต้องจัดสอนซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทำ
กิจกรรมในสว่ นที่ผู้เรยี นไมไ่ ด้เข้ารว่ มหรือไม่ได้ทำจนครบถ้วน แลว้ จึงเปลี่ยนผลการเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้
ทงั้ นด้ี ำเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้ินภายในภาคเรยี นนน้ั ๆ ยกเว้นมเี หตุสดุ วสิ ัย ให้อยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของโรงเรียนท่ีจะพิจารณา
ขยายเวลาออกไปอกี ไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรียน แตต่ อ้ งดำเนินการให้เสร็จสิน้ ภายในปกี ารศึกษาน้นั
๕. การเล่ือนชัน้
เมอื่ สิ้นปีการศกึ ษา ผู้เรยี นจะไดร้ บั การเล่อื นช้นั เมื่อมีคณุ สมบตั ิตามเกณฑด์ ังต่อไปน้ี
๕.๑ รายวิชาพน้ื ฐานและรายวชิ าเพิ่มเตมิ ไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรยี น
กำหนด
๕.๒ ผูเ้ รยี นต้องไดร้ บั การประเมนิ และมผี ลการประเมินผ่านตามเกณฑท์ ี่โรงเรยี นกำหนดในการ
อา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
๕.๓ ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานัน้ ควรไดไ้ ม่ตำ่ กว่า ๑.๐๐

๒๖

ท้งั นี้รายวชิ าใดทไี่ มผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน โรงเรยี นสามารถซอ่ มเสริมผู้เรยี นใหไ้ ด้รบั การแก้ไขใน
ภาคเรยี นถัดไป ทั้งนสี้ ำหรบั ภาคเรียนที่ ๒ตอ้ งดำเนินการให้เสร็จสนิ้ ภายในปีการศึกษานัน้

๖. การเรียนซำ้ ชนั้
นกั เรยี นทไี่ ม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเปน็ ปญั หาตอ่ การเรียนในระดับท่ีสูงข้ึน

โรงเรียนอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของ
ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ

การเรยี นซ้ำชนั้ มี ๒ ลักษณะคือ
๖.๑ ผู้เรียนมีระดับผลการเรยี นเฉล่ยี ในปกี ารศกึ ษานั้น ตำ่ กวา่ ๑.๐๐ และมแี นวโนม้ วา่ จะเป็น
ปญั หาต่อการเรยี นในระดับที่สงู ขน้ึ
๖.๒ ผูเ้ รียนมีผลการเรียน ๐ ร มส เกนิ คร่งึ หนึ่งของรายวิชาทลี่ งทะเบียนในปกี ารศึกษาน้นั
ทั้งนี้หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือทั้ง ๒ ลักษณะ ให้โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการ
พจิ ารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุอนั สมควรก็ให้ซำ้ ช้ัน โดยยกเลิกผลการเรียนเดมิ และใหใ้ ชผ้ ลการเรยี นใหมแ่ ทน หาก
พิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้ำชนั้ ให้อยใู่ นดุลยพนิ จิ ของโรงเรียนในการแก้ไขผลการเรียน
๗. การลงทะเบียนเรยี นรายวิชาตา่ ง ๆ
๗.๑ ในแต่ละภาคเรียนนักเรียนจะต้องลงทะเบียนเรียนในรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเตมิ
ตามทโ่ี รงเรยี นกำหนด ในกรณที ม่ี ีความจำเป็นไม่สามารถเรยี นได้ตลอดภาคเรียน นกั เรยี นสามารถขอถอนรายวิชา
และนักเรียนต้องลงทะเบียนเรียนใหมต่ ามกำหนดเวลาและวธิ กี ารท่คี ณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและงานวิชาการ
เหน็ สมควรโดยความเหน็ ชอบของโรงเรยี น
๗.๒ การลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าเพิม่ เตมิ ในแต่ละภาคเรียนต้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารย์
ทป่ี รึกษาและผ้ปู กครอง เมอ่ื ลงทะเบียนเรยี น นักเรียนสามารถขอเปล่ียนแปลงรายวิชาเรยี นได้ภายในเวลาไม่เกิน
๒ สัปดาห์
๘. การเทียบโอนผลการเรียน
โรงเรยี นสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นได้ โดยการนำความรู้ ทักษะและประสบการณ์ท่ไี ดจ้ าก
การศกึ ษารปู แบบต่าง ๆ หรือจากการประกอบอาชพี มาเทยี บโอนเปน็ ผลการเรยี นของหลกั สูตรใดหลกั สตู รหน่งึ ใน
ระดบั ทก่ี ำลงั ศึกษาอยู่
การพจิ ารณาเทียบโอนผลการเรียน ใหโ้ รงเรียนดำเนนิ การไดด้ ังนี้
๘.๑ พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษา ซงึ่ จะให้ข้อมลู ทแ่ี สดงความรู้ความสามารถของผู้เรียนใน
ด้านตา่ ง ๆ
๘.๒ พจิ ารณาจากความรู้และประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง การทดสอบ การสมั ภาษณ์
ฯลฯ

๒๗

๘.๓ พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติได้จรงิ
ทั้งนใี้ ห้เป็นไปตามกฎกระทรวงและระเบียบที่กระทรวงศกึ ษากำหนดข้ึน
รายวิชาพื้นฐาน เป็นวิชาบังคับที่นักเรียนทุกคนจะต้องลงทะเบียนเรียนและต้องได้รับการ
ประเมินผลการเรียนในแต่ละรายวิชา ไม่ต่ำกว่า ๑ สาระการเรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐานของหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนอนุบาลบางมูลนาก “ราษฎร์อุทิศ” พุทธศักราช ๒๕๕๑ ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการ
เรยี นรูต้ า่ ง ๆ ทก่ี ำหนดไวใ้ นหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กระทรวงศกึ ษาธิการ
มาตรฐานการเรียนรู้ของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัดชั้นปี ตวั ชว้ี ดั ช่วงช้นั สาระการเรียนรู้
ของรายวิชาพน้ื ฐานแตล่ ะรายวิชาไดจ้ ดั ทำไวใ้ นหลักสตู รของแตล่ ะกลุม่ สาระการเรยี นรูข้ องโรงเรียน


Click to View FlipBook Version