The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาวิกาธิปัตย์สาร ฉบับที่ 100
เมษายน - กันยายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกาธิปัตย์สาร, 2022-07-11 05:34:19

นาวิกาธิปัตย์สาร เล่ม 100

นาวิกาธิปัตย์สาร ฉบับที่ 100
เมษายน - กันยายน 2563

นาวิกาธิปัตย์สาร




Naval Strategic Studies Journal

วารสารยุทธศาสตร์และความมั่นคงทางทะเล กองทัพเรือ
ISSN 0859-5224
กองทัพเรือ

ROYAL THAI NAVY







PLANNING PROCESS


&



IMPLEMENTATION



กระบวนการวางแผนและการอำานวยการยุทธ์




















ANNIVERSARY EDITION ฉบับที่ ๑๐๐

ปีที่ ๔๔ เล่มที่ ๒
(เมษายน - กันยายน ๒๕๖๓)
นาวิกาธิปัตย์สาร ฉบับที่ ๑๐๐ PLANNING PROCESS & IMPLEMENTATION (เมษายน - กันยายน ๒๕๖๓)

ISSN 0859 - 5224
ISSN 0859 - 5224
ISSN 0859 - 5224 ISSN 0859 - 5224
วารสารนาวิกาธิปัตย์สาร
วารสารนาวิกาธิปัตย์สาร
วารสารนาวิกาธิปัตย์สาร วารสารนาวิกาธิปัตย์สาร
ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ
ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ
ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ
ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จว.นครปฐม ๗๓๑๗๐
ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จว.นครปฐม ๗๓๑๗๐
ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๗๖ , ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๕๘
โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๗๖ , ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๕๘
โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๗๖ , ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๕๘ โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๗๖ , ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๕๘
www.tnssc.navy.mi.th/journal
www.tnssc.navy.mi.th/journal
www.tnssc.navy.mi.th/journal www.tnssc.navy.mi.th/journal
Email : [email protected]
Email : [email protected]
Email : [email protected] Email : [email protected]
ประเมินคว�มพึงพอใจและข้อเสนอแนะ ประเมินคว�มพึงพอใจและข้อเสนอแนะ

นาวิกาธิปัตย์สาร



Naval Strategic Studies Journal
วารสารยุทธศาสตร์และความมั่นคงทางทะเล กองทัพเรือ



Çѵ¶Ø»ÃÐʧ¤



Naval Strategic Studies Journal







นับจากป พ.ศ.๒๕๒๐ วารสารนาวิกาธิปตยสาร ฉบับท่ ๑ ไดเร่มตีพิมพสสายตาผอานจนถึงวันน้ ี

พ.ศ.๒๕๖๓ วารสารนาวิกาธิปตยสาร ไดนําเสนอองคความรทางทะเลมาแลวถึง ๑๐๐ ฉบับ ประสบการณและ



















ชวงเวลาทผานมาวารสารนาวกาธปตยสารไดทาหนาท ในการเปนคลงสมอง เผยแพรวทยาการ สรางทฤษฎ ี
องคความรใหม ๆ จากผเช่ยวชาญดานตาง ๆ ของกองทัพเรือใหแกทหารเรือ คณาจารย และผท่เก่ยวของกับ









ทะเล รวมท้งผท่สนใจท้งในดานยุทธศาสตร ความม่นคงทางทะเล การสงคราม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี


และสิ่งแวดลอม อันเกี่ยวของกับทะเลทั้งปวง


นับต้งแตวารสารนาวิกาธิปตยสารเลมแรกท่จัดทําโดยโรงเรยนนายทหารเรอในยคบกเบก





และไดปรับไปสสถาบันวิชาการทหารเรือช้นสูง เม่อมีการปรับโครงสรางหนวยงานในกองทัพเรือและเปล่ยนช่อหนวย





จวบจนปจจุบัน ศูนยศึกษายุทธศาสตรทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ เปนหนวยงานรับผิดชอบ ก็ถือไดวา
วารสารนาวิกาธิปตยสารเลมน้ไดผานหวงเวลาตาง ๆ ไปพรอม ๆ กับสถานการณของประเทศไทยและ








ของโลกท่เปล่ยนแปลงไป แตส่งหน่งท่ไมเปล่ยนแปลงคือการทําหนาท่ติดอาวุธทางปญญาใหแกผอาน

ใหสามารถรับมือกับผลกระทบจากสภาวะแวดลอมความมั่นคงทางทะเลที่เปลี่ยนไปไดอยางเทาทัน
นาวิกาธิปตยสาร หรือ Naval Strategic Studies Journal เปนวารสารยุทธศาสตรและ
ความมั่งคงทางทะเลของกองทัพเรือ ซึ่งมีวัตถุประสงคในการเผยแพรผลงาน การคนควาวิจัย ยกระดับผลงาน


ทางวิชาการสระดับสากล และเปนเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาองคความร โดยเนนท่ระดับ








ผบรหาร รวมท้งเผยแพรกิจกรรมทางวิชาการของกองทัพเรือใหแกหนวยตาง ๆ ทงในสงกัดกระทรวงกลาโหม
และหนวยงานหรือสถาบันทางวิชาการอื่น ๆ


บทความ แนวคิด หรือขอคิดเห็นท่นําลงนาวิกาธิปตยสารเปนของผเขียนมิใชขอคิดเห็นของ
ศูนยศึกษายุทธศาสตรทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ การคัดลอก ทําซํ้าหรือดัดแปลงสวนใดสวนหนึ่ง

ท้งหมดของวารสารฯ น้ เปนไปตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธ์ พ.ศ.๒๕๓๗ ผท่สนใจหรือหนวยงานท่ตองการจะนําบทความ





หรือขอมูลที่ลงตีพิมพในวารสารนี้ไปเผยแพรซํ้า สามารถติดตอไดที่กองบรรณาธิการนาวิกาธิปตยสาร
วารสารฯ ยินดีรับบทความทางวิชาการท่เก่ยวของกับความม่นคงและกิจการทางทะเล




เพ่อพิจารณาลงตีพิมพในวารสารฯ โดยสามารถสงตนฉบับหรือติดตอไดท่กองบรรณาธิการฯ เม่อไดรับ


การตีพิมพวารสารฯ จะมีคาตอบแทนที่เหมาะสมใหแกเจาของบทความ ทั้งนี้ กองบรรณาธิการฯ ขอสงวนสิทธิ์
ที่จะรับหรือปฎิเสธบทความ
กองบรรณาธิการนาวิกาธิปตยสาร ศูนยศึกษายุทธศาสตรทหารเรือ

กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จว.นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๕๘ หรือ ๐ ๒๔๗๕ ๓๔๗๖

www.tnssc.navy.mi.th/journal
Email : [email protected]

¡Í§ºÃóҸԡÒÃ





»Ãиҹ¤³Ð·Õè»ÃÖ¡ÉÒ »ÃШíҡͧºÃóҸԡÒÃ
¾ÅàÃ×Íâ· à¤Òþ áËÅÁ¤Á ¹ÒÇÒàÍ¡ ͪԵÐÊÔ¹ ¡íÒÁгÕ
¹ÒÇÒàÍ¡ ´ØÊÔµ ÂÁ¨Ô¹´Ò
Ãͧ»Ãиҹ¤³Ð·Õè»ÃÖ¡ÉÒ ¹ÒÇÒàÍ¡ ª¹ÇÕÏ ¾Ò¹á¼ŒÇ
¹ÒÇÒàÍ¡ à͹¡¾§È ᨋÁ¡ÃШ‹Ò§
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ¾ÕÃÐ Í´ØÅÂÒÈÑ¡´Ôì ¹ÒÇÒⷠ͹ØÃѡɏ à¨ÃÔÞÈÃÕ
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ÇÕÃÂØ·¸ µØÅÇÃø¹Ð
¹ÒÇÒâ· ÊíÒÃÒÞ ÁèÃ
àÃ×ÍàÍ¡ »˜ÞÞÒ ä¶ÇÊÔ¹¸Ø
¤³Ð·Õè»ÃÖ¡ÉÒ àÃ×ÍàÍ¡ ÊÁ·Ã§ ·Ç¹ËÍÁ

¾ÅàÃ×͵ÃÕ ÍíҹǠ·Í§ÃÍ´ ¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ÊØÃÔ⠢ѹ·Í§´Õ
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ºÑÞªÒ ºÑÇÃÍ´ ½†Òº·¤ÇÒÁáÅÐÇÔªÒ¡ÒÃ
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ÊÔ·¸ÔªÑ µ‹Ò§ã¨ ¹ÒÇÒàÍ¡ ÊØÃÈÑ¡´Ôì à©Ô´¼Ò´
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ªÑÂÂØ·¸ ¡àÅ×è͹ ¹ÒÇÒàÍ¡ ʶҾà ÇÒ¨Ãѵ¹
¹ÒÇÒàÍ¡ ǪÔþà ǧȏ¹¤ÃÊÇ‹Ò§ ¹ÒÇÒàÍ¡ ¡ÅÔ¹ ÂѧÃ͵
¹ÒÇÒàÍ¡ ÊØÃÈÑ¡´Ôì »ÃзҹÇû˜ÞÞÒ ¹ÒÇÒàÍ¡ ÂÍ´ÂØ·¸ ǧɏÇÒ¹Ôª
¹ÒÇÒàÍ¡ ʹԷ âÁ¸Ô¹Ò ¹ÒÇÒâ· ¹ÒÇÒÈÑ¡´Ôì àÍ×éÍ·ÇÕÊÑÁ¾Ñ¹¸
¹ÒÇÒàÍ¡ ÃÑ¡ÈÑ¡´Ôì ÈÑ¡´Ô¡Ã
¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ¾ÑªÃÇԪޏ ÈÃÕ»ÃЪÒÊÇÑÊ´Ôì
¼ÙŒÍíҹǡÒà ½†Ò¨ѴËÒÃÒÂä´Œ ÊÁÒªÔ¡ÊÑÁ¾Ñ¹¸

¾ÅàÃ×͵ÃÕ Íдا ¾Ñ¹¸ØàÍÕèÂÁ ¨íÒ˹‹Ò áÅÐᨡ¨‹ÒÂ
¹ÒÇÒàÍ¡ þվ§È Á³Õ¾Ãó
Ãͧ¼ÙŒÍíҹǡÒà ¹ÒÇÒàÍ¡ ÇÔàªÕÂà ÁØ‹§¸ÑÞÞÒ

¹ÒÇÒàÍ¡ ÃÈ.¹àÃÈ à¾çªÃ¹Ô¹ ¹ÒÇÒàÍ¡ Á¹µªÑ ÁÕÊÇÑÊ´Ôì
¹ÒÇÒⷠ͹ØÃѡɏ à¨ÃÔÞÈÃÕ
ºÃóҸԡÒà àÃ×ÍàÍ¡ ¸ÃÃÁʶԵ ·Í§¤ÅíéÒ
¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ·Í§à¨×Í ¾Ø²à¤Ã×Í
¹ÒÇÒàÍ¡ ÊØÃÂØ·¸ ¹ÔàÇȷͧġɏ
¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ¾ÑªÃÇԪޏ ÈÃÕ»ÃЪÒÊÇÑÊ´Ôì
¼ÙŒª‹ÇºÃóҸԡÒà ½†Ò¡ÒÃà§Ô¹

¹ÒÇÒàÍ¡ þվ§È Á³Õ¾Ãó ¹ÒÇÒàÍ¡ »ÃÔÞÞÒ à¨ÃÔÞÂÔè§
¹ÒÇÒàÍ¡ ʶҾà ÇÒ¨Ãѵ¹ ¹ÒÇÒàÍ¡ ͪԵÐÊÔ¹ ¡íÒÁгÕ
¹ÒÇÒàÍ¡ »ÃÔÞÞÒ à¨ÃÔÞÂÔè§ ¹ÒÇÒâ· ÊíÒÃÒÞ ÁèÃ
àÃ×͵ÃÕËÞÔ§ ¨ÔµÞÒ´Ò ¨Ñ¹·ÃµÃÕ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
2 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

¡Í§ºÃóҸԡÒà ÊÒúÑÞ

CONTENTS


»Ãиҹ¤³Ð·Õè»ÃÖ¡ÉÒ »ÃШíҡͧºÃóҸԡÒÃ
¾ÅàÃ×Íâ· à¤Òþ áËÅÁ¤Á ¹ÒÇÒàÍ¡ ͪԵÐÊÔ¹ ¡íÒÁгÕ
¹ÒÇÒàÍ¡ ´ØÊÔµ ÂÁ¨Ô¹´Ò
Ãͧ»Ãиҹ¤³Ð·Õè»ÃÖ¡ÉÒ ¹ÒÇÒàÍ¡ ª¹ÇÕÏ ¾Ò¹á¼ŒÇ
¹ÒÇÒàÍ¡ à͹¡¾§È ᨋÁ¡ÃШ‹Ò§ รากฐานทางความคิดทฤษฎีสงครามของ
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ¾ÕÃÐ Í´ØÅÂÒÈÑ¡´Ôì ¹ÒÇÒⷠ͹ØÃѡɏ à¨ÃÔÞÈÃÕ
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ÇÕÃÂØ·¸ µØÅÇÃø¹Ð เคลาเซวิทซจากความคิดทางการเมือง 8
¹ÒÇÒâ· ÊíÒÃÒÞ Áèà ของเพลโต
àÃ×ÍàÍ¡ »˜ÞÞÒ ä¶ÇÊÔ¹¸Ø
¤³Ð·Õè»ÃÖ¡ÉÒ àÃ×ÍàÍ¡ ÊÁ·Ã§ ·Ç¹ËÍÁ นาวาเอก ดร.หัสไชยญ มั่งคั่ง 112 Big Data Wargame

¾ÅàÃ×͵ÃÕ ÍíҹǠ·Í§ÃÍ´ ¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ÊØÃÔ⠢ѹ·Í§´Õ เคลาเซวิทซในฐานะนักคิดสัจนิยมกับ
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ºÑÞªÒ ºÑÇÃÍ´ ½†Òº·¤ÇÒÁáÅÐÇÔªÒ¡Òà ปฏิบัติการที่มีรากฐานมาจากสภาวะทตองการ นาวาโท อนุรักษ เจริญศรี



¾ÅàÃ×͵ÃÕ ÊÔ·¸ÔªÑ µ‹Ò§ã¨ ¹ÒÇÒàÍ¡ ÊØÃÈÑ¡´Ôì à©Ô´¼Ò´ (Effects - Based Opwrations) 12
¾ÅàÃ×͵ÃÕ ªÑÂÂØ·¸ ¡àÅ×è͹ ¹ÒÇÒàÍ¡ ʶҾà ÇÒ¨Ãѵ¹
¹ÒÇÒàÍ¡ ǪÔþà ǧȏ¹¤ÃÊÇ‹Ò§ ¹ÒÇÒàÍ¡ ¡ÅÔ¹ ÂѧÃ͵ นาวาเอก ดร.หัสไชยญ มั่งคั่ง การอํานวยการยุทธบนสภาวะแวดลอม
¹ÒÇÒàÍ¡ ÊØÃÈÑ¡´Ôì »ÃзҹÇû˜ÞÞÒ ¹ÒÇÒàÍ¡ ÂÍ´ÂØ·¸ ǧɏÇÒ¹Ôª 138 ที่มีพลวัตรสูง
¹ÒÇÒàÍ¡ ʹԷ âÁ¸Ô¹Ò ¹ÒÇÒâ· ¹ÒÇÒÈÑ¡´Ôì àÍ×éÍ·ÇÕÊÑÁ¾Ñ¹¸ พื้นฐาน Operational Art และ Operational นาวาโท นาวี ฤทัยวัญู
¹ÒÇÒàÍ¡ ÃÑ¡ÈÑ¡´Ôì ÈÑ¡´Ô¡Ã Design และความสําคัญตอการวางแผนตาม 28
¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ¾ÑªÃÇԪޏ ÈÃÕ»ÃЪÒÊÇÑÊ´Ôì กระบวนการวางแผนทางทหารของกองทัพเรือ
¼ÙŒÍíҹǡÒà ½†Ò¨ѴËÒÃÒÂä´Œ ÊÁÒªÔ¡ÊÑÁ¾Ñ¹¸ นาวาโท ณัฐวุฒิ ศิรธรานนท อิทธิพลของลัทธิเตาตอตําราพิชัยสงคราม

¾ÅàÃ×͵ÃÕ Íдا ¾Ñ¹¸ØàÍÕèÂÁ ¨íÒ˹‹Ò áÅÐᨡ¨‹Ò เหตุไฉนการเตรียมสนามรบดานการขาว 156 ซุนวู
¹ÒÇÒàÍ¡ þվ§È Á³Õ¾Ãó นาวาโท นาวาศักดิ์ เอื้อทวีสัมพันธ

Ãͧ¼ÙŒÍíҹǡÒà ¹ÒÇÒàÍ¡ ÇÔàªÕÂà ÁØ‹§¸ÑÞÞÒ จึงกลายเปนการเตรียม สภาพแวดลอม 50
ทางยุทธการดานการขาวกรอง
¹ÒÇÒàÍ¡ ÃÈ.¹àÃÈ à¾çªÃ¹Ô¹ ¹ÒÇÒàÍ¡ Á¹µªÑ ÁÕÊÇÑÊ´Ôì SIAM ON WAR 2484 ประเทศไทย
¹ÒÇÒⷠ͹ØÃѡɏ à¨ÃÔÞÈÃÕ นาวาโท นาวาศักดิ์ เอื้อทวีสัมพันธ 160 กับการเขาสูสงครามในชวง WW II
ºÃóҸԡÒà àÃ×ÍàÍ¡ ¸ÃÃÁʶԵ ·Í§¤ÅíéÒ
¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ·Í§à¨×Í ¾Ø²à¤Ã×Í การพัฒนาการวางแผนทางทหารจาก นาวาเอก สถาพร วาจรัตน
¹ÒÇÒàÍ¡ ÊØÃÂØ·¸ ¹ÔàÇȷͧġɏ
¾Ñ¹¨‹ÒàÍ¡ ¾ÑªÃÇԪޏ ÈÃÕ»ÃЪÒÊÇÑÊ´Ôì Threat Base สู Objective & Effect Base 70
¼ÙŒª‹ÇºÃóҸԡÒà ½†Ò¡ÒÃà§Ô¹
นาวาโท เกรียงไกร เกาะเจริญ วิถีชาวเรือ
¹ÒÇÒàÍ¡ þվ§È Á³Õ¾Ãó ¹ÒÇÒàÍ¡ »ÃÔÞÞÒ à¨ÃÔÞÂÔè§ 188
¹ÒÇÒàÍ¡ ʶҾà ÇÒ¨Ãѵ¹ ¹ÒÇÒàÍ¡ ͪԵÐÊÔ¹ ¡íÒÁÐ³Õ พลเรือเอก ไพศาล นภสินธุวงศ
¹ÒÇÒàÍ¡ »ÃÔÞÞÒ à¨ÃÔÞÂÔè§ ¹ÒÇÒâ· ÊíÒÃÒÞ Áèà การวาดภาพการรบ
àÃ×͵ÃÕËÞÔ§ ¨ÔµÞÒ´Ò ¨Ñ¹·ÃµÃÕ 98
นาวาเอก ยุทธนา อักษรศรี
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
2 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

ºÃóҸԡÒÃá¶Å§





Editor Talk


















นาวกาธิปตยสาร ฉบับท่ ๑ ไดเรมจดทาข้นในป





พ.ศ.๒๕๒๐ เพ่อประโยชนทางวิชาการแกนายทหารเรือท่วไป




จนถึงบัดน้ นาวิกาธิปตยสารฉบับน้ เปนฉบับท่ ๑๐๐ บทความ
ท่นํามาเสนอในนาวิกาธปตยสารสวนใหญจะเปนบทความ



ทางวิชาการ ท่ผเขียนบทความไดทําการศึกษาจากตํารา



เอกสาร การบรรยาย การถกแถลง และการคนควา ท้งน ้ ี


เพ่อใหผอานไดใชเปนขอมูลในการศึกษา หรือตอยอดความร ู 



ใหเกิดการพัฒนาทักษะและความร ดังเชน บทเพลงท่

พลเรือเอกพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติวงศ
กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ไดประพันธไวใน “เพลงเดินหนา”


สําหรับนาวิกาธิปตยสาร ฉบับท่ ๑๐๐ ฉบับน้ จะเปน

บทความท่รวบรวมแนวความคิดการวางแผนทางทหารของ
คารล ฟอน เคลาเซวิทซ (Carl von Clausewitz) นักยุทธศาสตร 
ทางทหารท่ไดรับการยอมรับมาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ

วางแผนทางทหาร และการอํานวยการยุทธในแบบ EBO (Effects -
Based Operations) จึงทําใหบทความในนาวิกาธิปตยสารฉบับน ี ้
หนักไปทางวิชาการมาก ฝายบรรณาธิการตองขอกราบขอบพระคุณ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
2 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

คุณครูพลเรือเอก ไพศาล นภสินธุวงษ ท่ไดกรุณาเขียนบทความเบา ๆ

ºÃóҸԡÒÃá¶Å§ ท่เปนการเสริมความรในเร่อง “เพศหญิงไมเหมาะกับการเปน





ชาวเรือจรงหรอ” กบบทความเรอง “Siam on War 2484”




ของ นาวาเอก สถาพร วาจรัตน ซ่งชวยทําใหบทความในวารสาร
alk
Editor T
Editor Talk ฉบับที่ ๑๐๐ นี้ไมหนักเกินไป ู ี

ทายน้กองบรรณาธิการ ขอกราบขอบพระคุณผท่ใหการ

สนับสนุน และทานผูอานที่เคารพทุกทาน และหวังวานาวิกาธิปตยสาร




ฉบับนจะเปนประโยชนตอนายทหารท่กําลงศึกษาในเร่องดังกลาว






ไดอยางเปนวิชาการท่ชัดเจน และนาไปสการถกแถลงเพ่อใหเกิด












นาวกาธิปตยสาร ฉบับท่ ๑ ไดเรมจดทาข้นในป การตกผลกขององคความรในดานนอยางแทจริง ทงน้กองบรรณาธการ












พ.ศ.๒๕๒๐ เพ่อประโยชนทางวิชาการแกนายทหารเรือท่วไป พรอมยนดรบฟงความคดเหน และขอเสนอแนะจากผอานทกทาน















จนถึงบัดน้ นาวิกาธิปตยสารฉบับน้ เปนฉบับท่ ๑๐๐ บทความ โดยสามารถสงไดที่ [email protected] หรือที่กองบรรณาธิการฯ





ท่นํามาเสนอในนาวิกาธปตยสารสวนใหญจะเปนบทความ จะเปนพระคุณอยางยิ่ง


ทางวิชาการ ท่ผเขียนบทความไดทําการศึกษาจากตํารา
เอกสาร การบรรยาย การถกแถลง และการคนควา ท้งน ้ ี “Insanity is doing the same thing over



เพ่อใหผอานไดใชเปนขอมูลในการศึกษา หรือตอยอดความร ู  and over again and expecting diff erent results”



ใหเกิดการพัฒนาทักษะและความร ดังเชน บทเพลงท่

พลเรือเอกพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติวงศ
กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ไดประพันธไวใน “เพลงเดินหนา” Albert Einstein

สําหรับนาวิกาธิปตยสาร ฉบับท่ ๑๐๐ ฉบับน้ จะเปน

บทความท่รวบรวมแนวความคิดการวางแผนทางทหารของ

คารล ฟอน เคลาเซวิทซ (Carl von Clausewitz) นักยุทธศาสตร 

ทางทหารท่ไดรับการยอมรับมาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ นาวาเอก สุรยุทธ นิเวศทองฤกษ
วางแผนทางทหาร และการอํานวยการยุทธในแบบ EBO (Effects - บรรณาธิการ
Based Operations) จึงทําใหบทความในนาวิกาธิปตยสารฉบับน ี ้
หนักไปทางวิชาการมาก ฝายบรรณาธิการตองขอกราบขอบพระคุณ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒà ¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
2 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 3

ÃÒ¡°Ò¹·Ò§¤ÇÒÁ¤Ô´·ÄÉ®Õʧ¤ÃÒÁ¢Í§à¤ÅÒà«ÇÔ·«




¨Ò¡¤ÇÒÁ¤Ô´·Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ¢Í§à¾Åâµ





























ความคิดของนักคิดตะวันตกทุกทานมีท่มาจากระบบความคิดของเพลโตไมทางใด
ก็ทางหนึ่ง ไมวาจะเปนนักบุญออกุสตัน (St. Augustine) เรอเน เดสการตส (René Descartes)

หรือ อิมมานูเอล คานท (Immanuel Kant) ซึ่งเปนนักคิดชาวปรัสเซียซึ่งมีชื่อเสียงในสมัยเดียวกับ
คารล ฟอน เคลาเซวิทซ (Carl von Clausewitz) เพลโตเสนอทฤษฎีรัฐในอุดมคติโดยแจกแจง



องคประกอบของรัฐออกตามชนช้นทางสังคม ชนช้นเหลาน้อาศัยการจัดของคนในสังคม


ตามหลกของจตสามภาค กลาวคือ ทฤษฎจตของเพลโต มนษยมจิตท่สามารถแบงออกไดสามภาค














ไดแก จิตภาคตัณหา จิตภาคน้าใจ และจิตภาคปญญา พฤติกรรมของมนุษยแตละคนจะขนอยกบวา 
เรามีจิตภาคใดโดดเดนกวาภาคอ่น เชน หากเรามีจิตภาคตัณหาโดดเดน เราก็จะใชชวต





ตามความตองการทางการ กิน ดื่ม เที่ยว ตามที่กายปรารถนา หากเรามีจิตภาคนํ้าใจโดดเดน


เราก็จะมีเพื่อนฝูงมาก รักพวกพอง และพรอมสละความสุขของตนเองเพื่อเพื่อนได เปนตน


ท่กลาวมาเปนเพียงตัวอยางท่แสดงใหเห็นวาทฤษฎีจิตสามภาคอธิบายพฤติกรรมมนุษย 
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
8 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ



ไดอยางไร แตเพลโตใชทฤษฎีน้ในการจัดระเบียบของรัฐตามชนช้น หากผใดมีจิตภาคตัณหาเดน




ก็จะเปนพอคาและชนช้นแรงงานซ่งมีจํานวนมากท่สุดในรัฐ หากผใดมีจิตภาคน้าใจเดนก็จะเปน






ผพิทักษหรือทหารท่จะรักษาความม่นคงของรัฐ และหากผใดฝกฝนจนมีจิตภาคปญญาเดน




ก็จะเปนผปกครองหรือรัฐบาลทําหนาท่บริหารประเทศ รัฐใดก็ตามท่ผคนปฏิบัติหนาท่ของตน

ไดตรงกับจิตของตนที่โดดเดนแลว เพลโตถือวารัฐนั้นเปนรัฐในอุดมคติ

ทฤษฎีจิตสามภาคและรัฐในอุดมคติเปนหลักพ้นฐานของวิธีทางสังคมการเมือง

ในโลกตะวันตกมาโดยตลอด การเกิดแนวคิดเสรีประชาธิปไตยก็มีท่มาจากการมองวา





ในโลกความเปนจรงนน เปนไปไมไดทจะหาบคคลทจะทาหนาทราชาปราชญ จนตองเกด














การพัฒนาสถาบันทางการเมืองที่เรียกวา ประชาธิปไตย ขึ้นมา แตสําหรับทฤษฎีสงครามแลว
จะเห็นไดอยางชัดเจนวา เคลาเซวิทซนําเอาทฤษฎีจิตสามภาคและชนช้นทางสังคม

ในรัฐอุดมคติมาพัฒนาเปนทฤษฎีสามเหลี่ยมสงคราม ดังตอไปนี้



สงครามเปนมากกวาก้งกาคาเมเลียน ซ่งปรับเปล่ยนลักษณะของตัวเองตามสถานการณ 

เม่อพิจารณาสงครามในฐานะปรากฏการณทางสังคมในภาพรวม จะเห็นไดวาสงคราม
ประกอบดวย

๑. ความรุนแรง ความเกลียดชัง และความเปนศัตรูซ่งเปนสัญชาตญาณดิบ
ของมนุษย
๒. การใชโอกาสและความนาจะเปนที่ทําใหทหารเกิดขวัญและกําลังใจและสามารถ
สรางสรรคสิ่งที่ตองการภายใตสถานการณและโอกาสที่มี

๓. การเปนเคร่องมือของการดําเนินนโยบายทางการเมือง ซ่งทําใหเหตุผลของการทา


สงครามเปน “เหตุผลของรัฐ (Raison D’état)”


องคประกอบในภาพรวมของสงครามท้งสามประการน้เรียกวา “สามเหล่ยม




สงคราม (Paradoxical Trinity)” องคประกอบท่ ๑ เร่องความรุนแรงจะเก่ยวของ

กับประชาชน องคประกอบท่ ๒ เร่องโอกาสจะเก่ยวของกับผนําทหารและกองทัพ







องคประกอบท่ ๓ เร่องเหตุผลจะเก่ยวของกับรัฐบาล อารมณความรสึกเร่องความเกลียดชัง


จะมีอยแลวในประชาชน สงครามจะเกิดข้นเม่ออารมณน้ไดรับการกระตนใหปรากฏ







เดนชดขน การใชความกลาหาญและพรสวรรคในสงครามจะเปนเร่องโอกาสและความเปนไปได 










ซงจะขนอยกับภาวะผนําของผนําและความพรอมรบของกองทัพ แตท่สุดแลววัตถุประสงค 
ทางการเมืองเปนเหตุผลในการตัดสินใจทําสงครามของรัฐบาล” ๑
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 9

ภาพสามเหลี่ยมสงครามของ เคลาเซวิทซ


ในขณะท่เพลโตมองวาผมีจิตภาคตัณหาโดดเดนและเปนชนช้นพอคาและแรงงาน





เคลาเซวิทซนําเอาคนชนช้นน้มาอธิบายความรุนแรง ความเกลียดชังและความเปนศัตร ู



ซ่งเปนสัญชาตญาณดิบของมนุษยธรรมดาท่มีจิตภาคตัณหาเดน คนกลมน้จะใชอารมณ 

หรือตัณหานําในการดําเนินชีวิต แตในยามสงครามจะเปนพลังสําคัญในการผลิตส่งของ




เคร่องใช อาวุธยุทโธปกรณใหกับกองทัพเพ่อทําสงคราม สวนผมีจิตภาคปญญาโดดเดน

และเปนชนช้นปกครองและรัฐบาล เพลโตมองวาควรจะเปนราชาปราชญเพราะเปนผกําหนด

นโยบายของประเทศซ่งจะนําประเทศไปสความอยรอดในการทําสงคราม เคลาเซวิทซนําเอา






คนชนช้นน้มาอธิบายการดําเนินนโยบายทางการเมืองซ่งทําใหเหตุผลของการทําสงคราม
เปน “เหตุผลของรัฐ” คนกลมน้จะใชปญญาหรือเหตุผลนําในการดําเนินชีวิต ในยามสงคราม





จะสงการระดบยทธศาสตรและการเมองโดยจะไมลงมายงเกยวกบการปฏบัตในระดบ












ยุทธการและยุทธวิธีซึ่งเปนหนาที่ของทหารหรือผูพิทักษ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
10 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

กลมคนท่มีบทบาทสําคัญในสงครามคือชนช้นผพิทักษหรือทหาร ซ่งมีจิตภาคน้าใจ








โดดเดนและมีความกลาหาญเปนคุณธรรมสําคัญในจิตใจ เพลโตใหคัดสรรผท่เหมาะสม






จะเปนชนชนผพทกษตงแตวยรนและผานการศกษาดานคณตศาสตรและฝกฝนใหรก































ประเทศชาตของตนเอง คนกลมนจะเสยสละความสขสวนตวเพอชวยเพอนและปกปอง


รัฐของตนดวยชีวิต เคลาเซวิทซนําเอาคนชนช้นน้มาอธิบายการใชโอกาสและความนาจะเปน







ททาใหทหารเกดขวญและกาลงใจและสามารถสรางสรรคสงทตองการภายใตสถานการณ 










และโอกาสท่มี โดยอาศัยความกลาไดกลาเสีย มีความฉลาดในการเลือกโอกาสในการ






เอาชนะขาศกในยามสงครามและมงม่นสชัยชนะอยางไมลดละ จากการท่ชนช้นผพทักษ 





มีประสบการณในสงครามมากและสะสมมาเร่อย ๆ เคลาเซวิทซจึงมองวามีความเปนไปได 
ที่จะเกิด “อัจฉริยะทางทหาร (Military Genius)” ขึ้น เชน อเล็กซานเดอรมหาราช นโปเลียน
โบนาปารต หรือดักลาส แม็คอาเธอร เปนตน อัจฉริยะทางทหารคือหัวใจสําคัญในการไดมา




ซงชยชนะในการทาสงคราม ซ่งเปนผลผลิตจากความคิดทางการเมืองของเพลโตและทฤษฎีสง

ครามของเคลาเซวิทซ
เอกสารอางอิง
๑ Carl von Clausewitz, On War, edited and translated by Michael Howard and
Peter Paret (Princeton, NJ: Princeton University Press, 1989), p. 89.
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 11

บทนํา


บทความน้มีวัตถุประสงคเพ่อช้ใหเห็นวาปฏิบัติการท่มีรากฐานมาจากสภาวะ



ท่ตองการหรือ “อีบีโอ” (Effects-Based Operations หรือ EBO) ซ่งรวมการวางแผน


และการอํานวยการยุทธเอาไวดวยกันมีท่มาจากปรัชญาสัจนิยม โดยมีคารล ฟอน เคลาเซวิทซ















(Carl von Clausewitz) เปนตวแทนของหนงในนกคดสจนยมทเนนเรองของสงครามเปนหลก
ประเด็นหลักของบทความคือปรัชญาสัจนิยมของเคลาเซวิทซแสดงใหเห็นถึงธรรมชาต ิ



เคลาเซวิทซในฐานะนักคิดสัจนิยม ของสงครามท่มีความหลากหลายซ่งสอดคลองกับอีบีโอซ่งเปนการทําความเขาใจเชิงระบบ
(Systemic Approach) ตอส่งทาทายทางความม่นคง ขณะเดียวกันก็ยังเช่อมโยงอยกับ







ความจริงท่วาสงครามเปนเคร่องมือในการดําเนินนโยบายของรัฐโดยท่รัฐมีวิธีการใชสงคราม
กับปฏิบัติการที่มีรากฐานมาจากสภาวะที่ตองการ
กับปฏิบัติการที่มีรากฐานมาจากสภาวะที่ตองการ ไดอยางหลากหลาย







เมอกลาวถงนักปรัชญาสงคราม นักศึกษาและผเช่ยวชาญในเร่องยุทธศาสตร 
และสงครามยอมตองนึกถึง ซุนวู และ คารล ฟอน เคลาเซวิทซ ในฐานะผูที่วางรากฐาน








ในการศกษาวาสงครามมธรรมชาตเปนอยางไร เปาหมายทมนษยทําสงครามกนคออะไร



Effects-Based Operation
Effects-Based Operation ทาอยางไรจงจะชนะสงคราม และสงครามเกยวของเชอมโยงกบกจกรรมอน ๆ ของมนษย 















และรัฐอยางไร คําถามเหลาน้มีคําตอบอยในหนังสือของนักคิดท้งสองทาน ซ่งผบังคับบัญชา



และเสนาธิการเหลาทัพตาง ๆ ทั่วโลกศึกษากันและเขาใจตรงกันวาคําตอบเหลานี้คืออะไร
อยางไรก็ตาม บทความนี้ตองการสื่อสาร
บางประเด็นใหกับผอาน โดยเนนไปท่ปฏิบัติการ




ท่มีรากฐานมาจากสภาวะท่ตองการหรือ “อีบีโอ”
นาวาเอก ดร. หัสไชยญ มั่งคั่ง (Effects - Based Operations หรือ EBO) ซึ่งรวมเอา

รองผูอํานวยการ กองวิชาเสนาธิการกิจ การวางแผนและการอํานวยการยุทธเขาไวดวยกัน
ฝายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ และตงคาถามวา “เพราะเหตใดปฏบตการทางทหาร











ทมรากฐานมาจากสภาวะท่ตองการในปจจบน





จึงตองใหความสําคัญกับการทําความเขาใจปรัชญา
สัจนิยมซ่งมีเคลาเซวิทซเปนตัวแทน” บทความ

จะอภิปรายประเด็นตาง ๆ ตามลําดับดังตอไปน้ ี
ประเดนแรก จะตอบคําถามวาอีบีโอคืออะไร มีท่มา


อยางไร และเพราะเหตุใดจึงมีความสําคัญในโลก ที่มา : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/
https://upload.wikimedia.org/wikipedia/

ยุคปจจุบัน ประเด็นท่สอง จะตอบคําถามวา commons/a/a0/Clausewitz.jpg
commons/a/a0/Clausewitz.jpg
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒà ¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
12 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 13

บทนํา





บทความน้มีวัตถุประสงคเพ่อช้ใหเห็นวาปฏิบัติการท่มีรากฐานมาจากสภาวะ


ท่ตองการหรือ “อีบีโอ” (Effects-Based Operations หรือ EBO) ซ่งรวมการวางแผน
และการอํานวยการยุทธเอาไวดวยกันมีท่มาจากปรัชญาสัจนิยม โดยมีคารล ฟอน เคลาเซวิทซ










(Carl von Clausewitz) เปนตวแทนของหนงในนกคดสจนยมทเนนเรองของสงครามเปนหลก





ประเด็นหลักของบทความคือปรัชญาสัจนิยมของเคลาเซวิทซแสดงใหเห็นถึงธรรมชาต ิ

ของสงครามท่มีความหลากหลายซ่งสอดคลองกับอีบีโอซ่งเปนการทําความเขาใจเชิงระบบ






(Systemic Approach) ตอส่งทาทายทางความม่นคง ขณะเดียวกันก็ยังเช่อมโยงอยกับ

ความจริงท่วาสงครามเปนเคร่องมือในการดําเนินนโยบายของรัฐโดยท่รัฐมีวิธีการใชสงคราม


กับปฏิบัติการที่มีรากฐานมาจากสภาวะที่ตองการ ไดอยางหลากหลาย



เมอกลาวถงนักปรัชญาสงคราม นักศึกษาและผเช่ยวชาญในเร่องยุทธศาสตร 




และสงครามยอมตองนึกถึง ซุนวู และ คารล ฟอน เคลาเซวิทซ ในฐานะผูที่วางรากฐาน








ในการศกษาวาสงครามมธรรมชาตเปนอยางไร เปาหมายท่มนษยทําสงครามกนคออะไร


Effects-Based Operation ทาอยางไรจงจะชนะสงคราม และสงครามเกยวของเชอมโยงกบกจกรรมอน ๆ ของมนษย 


















และรัฐอยางไร คําถามเหลาน้มีคําตอบอยในหนังสือของนักคิดท้งสองทาน ซ่งผบังคับบัญชา
และเสนาธิการเหลาทัพตาง ๆ ทั่วโลกศึกษากันและเขาใจตรงกันวาคําตอบเหลานี้คืออะไร
อยางไรก็ตาม บทความนี้ตองการสื่อสาร
บางประเด็นใหกับผอาน โดยเนนไปท่ปฏิบัติการ



ท่มีรากฐานมาจากสภาวะท่ตองการหรือ “อีบีโอ”


(Effects - Based Operations หรือ EBO) ซึ่งรวมเอา
การวางแผนและการอํานวยการยุทธเขาไวดวยกัน
และตงคาถามวา “เพราะเหตใดปฏบตการทางทหาร











ทมรากฐานมาจากสภาวะท่ตองการในปจจบน





จึงตองใหความสําคัญกับการทําความเขาใจปรัชญา
สัจนิยมซ่งมีเคลาเซวิทซเปนตัวแทน” บทความ

จะอภิปรายประเด็นตาง ๆ ตามลําดับดังตอไปน้ ี
ประเดนแรก จะตอบคําถามวาอีบีโอคืออะไร มีท่มา


อยางไร และเพราะเหตุใดจึงมีความสําคัญในโลก ที่มา : https://upload.wikimedia.org/wikipedia/
https://upload.wikimedia.org/wikipedia/

ยุคปจจุบัน ประเด็นท่สอง จะตอบคําถามวา commons/a/a0/Clausewitz.jpg
commons/a/a0/Clausewitz.jpg
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
13
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

เคลาเซวิทซเปนนักคิดสัจนิยมในแงมุมใด และสัจนิยมมีความสําคัญอยางไร
ตอการทําความเขาใจสงครามและปฏิบัติการทางทหารในระดับตาง ๆ ของสงคราม




ประเดนสุดทายจะตอบคําถามวาปรัชญาสัจนิยมของเคลาเซวิทซเปนรากฐานสาคญ

ในการทําความเขาใจอีบีโอไดอยางไร โดยพิจารณาธรรมชาติอันหลากหลายของสงคราม
และการที่สงครามเปนเครื่องมือในการดําเนินนโยบายทางการเมืองของรัฐเปนปจจัยสําคัญ
คําตอบเบ้องตนของบทความคือ “เคลาเซวิทซในฐานะนักคิดสัจนิยมมองวา











การทรฐมผลประโยชนอนหลากหลายขนอยกบบรบทระหวางประเทศ การใชสงคราม






เปนเคร่องมือดําเนินนโยบายของรัฐจําเปนตองสอดคลองกับผลประโยชนท่รัฐตองการ








ซงในการทาใหผลประโยชนทรัฐตองการเกิดข้นจริงผานเครองมือทางการทหารในปจจบัน




ตองใชอีบีโอจึงจะเขากับบริบทระหวางประเทศในยุคโลกาภิวัตนได” ประโยชนสําคัญ
จากการทําความเขาใจปรัชญาสัจนิยมผานเคลาเซวิทซจะทําใหนักวางแผนปฏิบัติการเขาใจ
ภาพรวมของอีบีโอและนําแผนไปอํานวยการยุทธไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป
ปฏิบัติการที่มีรากฐานมาจากสภาวะที่ตองการหรือ “อีบีโอ” (Effects-Based Opera-
tions หรือ EBO)

อีบีโอคืออะไร แนวคิดน้เกิดข้นหลังสงครามเย็นโดยเปนแนวความคิดของ



กลาโหมสหรัฐอเมริกาซ่งส่อถึงการวางแผนและการนําแผนไปปฏิบัติของฝายสัมพันธมิตร

ในชวงสงครามอาวเปอรเซียคร้งท่ ๑ ปฏิบัติการน้อาศัยการผสมผสานเคร่องมือทางทหาร





และไมใชทหารรวมกันเพ่อบรรลุสภาวะ (Effect) ท่ตองการ แนวทางในอีบีโอไดนํามาใช


เปนคร้งแรกในประวัติศาสตรสมัยใหมในการวางแผนและการอํานวยการยุทธในยุทธการ
ทางอากาศของปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Desert Storm) ในป ค.ศ.๑๙๙๑

หลักการสําคัญของอีบีโอเร่มท่เปาหมายในการกําหนดสภาวะท่ตองการในระดับ




ยุทธศาสตร (Desired Strategic Effects) จากน้นใหวางแผนจากวัตถุประสงคท่ตองการ


ระดับยุทธศาสตรลงไปยังปฏิบัติการระดับยุทธวิธีท่เปนไปไดท่จะบรรลุสภาวะท่ตองการ





















อบโอจะตรงกนขามกบปฏบตการทางทหารแบบดงเดมทเนนการใชกาลงเผชญหนากน

(Force-On-Force) ซ่งนําไปสการทําสงครามแบบบ่นทอนกําลัง (Attrition) และแบบทําลายลาง



(Annihilation) เพราะอีบีโอเนนท่ผลลัพธท่ตองการโดยใชกําลังใหนอยท่สุด สงครามนโปเลียน


และสงครามโลกทั้งสองครั้งเปนตัวอยางของการทําสงครามแบบดั้งเดิม สวนสงครามอาวเปอรเซีย
ครั้งที่ ๑ เปนตัวอยางของสงครามที่ใชอีบีโอ


นอกจากน้ อีบีโอเกิดข้นไดจริงจากความกาวหนาในทางอาวุธยุทโธปกรณ โดยเฉพาะ


อยางยงเทคโนโลยซอนพราง (Stealth) และอาวธทมความแมนยาสง โดยใชรวมกบแนวทาง













¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
14 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ



การวางแผนท่เนนสภาวะท่ตองการท่เฉพาะเจาะจงมากกวาการวางแผนท่เนนการทําลาย



ลางขาศึกใหสิ้นซาก เดวิด เอ เดปตูลา (David A. Deptula) กลาววา “หากเราใหความสําคัญ

กบผลลัพธหรือสภาวะซ่งเปนเปาหมายปลายทางของยุทธศาสตร มากกวาวิธีการใชกําลัง



เผชิญหนากันเพ่อบรรลุเปาหมายปลายทาง ส่งท่จะไดคือเราจะพิจารณาหนทางอ่น ๆ ท่แตกตางกัน



และอาจจะสัมฤทธ์ผลไดเร็วกวาท่เราเคยทํามาในอดีต โดยส้นเปลืองทรัพยากรนอยกวา




และลดการบาดเจ็บลมตายไดอีกดวย”

ในขณะท่ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีจะสนับสนุนอีบีโอ แตการใหความสําคัญ
เพียงแคอาวุธยุทโธปกรณและยุทธวิธีการรบน้นไมเพียงพอเพราะเปนการละเลยขอเท็จจริง

ท่วาอีบีโอเปนกระบวนการทางความคิด ไมใชยุทธวิธี เทคนิควิธี หรือข้นตอนการรบท่ตายตัว



แนวทางของอีบีโอเร่มดวยสภาวะสุดทายของปฏิบัติการในฐานะจุดเร่มตนของการวางแผน


ที่ตองระดมสรรพกําลังทางดานความมั่นคงทั้งหมดของประเทศ ไมวาจะเปนการทูต ขอมูล

ขาวสาร การทหาร หรือเศรษฐกิจ เขามาไวดวยกัน เพ่อนําไปใชใหเกิดประโยชนสูงสุด


ในการบรรลุสภาวะสุดทายท่ตองการ (Desired End-State) ดวยเหตุน้ แนวทางของอีบีโอ
จึงเปน “การทําความเขาใจเชิงระบบ” (Systemic Approach) ตอสิ่งทาทายทางความมั่นคง
การทําความเขาใจเชิงระบบเปนการประเมินสถานการณผานกรอบแนวคิดของจุดศูนยดุล

ระดับยุทธศาสตร ไดแก ตัวผนําและคณะ ปจจัยสําคัญทางการรบ โครงสรางพ้นฐาน


ประชาชน และกําลังทหาร จุดศูนยดุลแตละตัวสามารถลดระดับลงไปสจุดศูนยดุล

ระดับยุทธการและระดับยุทธวิธีไดตอไป ดังนั้น อีบีโอจึงเปนแนวทางการมององครวมของ
ระบบการทําสงครามของขาศึกและกําหนดวิธีการที่มีประสิทธิผลที่สุดเพื่อบรรลุสภาวะสุดทาย
ที่ตองการในทางยุทธศาสตร















ที่มา : https://pt.slideshare.net/ahmad1957/effects-based-planning-and-assessment-
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
presentati on?nomobile=true&smtNoRedir=1 15
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ


เม่อเขาใจแลววาอีบีโอคืออะไรและมีท่มาอยางไร ตอไปจะกลาวถึงความสําคัญ





ของอีบีโอตอปฏิบัติการในโลกปจจุบัน ในท่น้จะใชสงครามอาวเปอรเซียคร้งท่หน่งเปนตัวอยาง

แสดงใหเห็น อีบีโอไมไดเปนเพียงแนวความคิดที่เกิดขึ้นแบบลอย ๆ แตยังเปนพื้นฐานสําคัญ


ตอการวางแผนการใชกาลังทางอากาศในปฏบัตการพายุทะเลทรายดวย ยุทธการทางอากาศ








มีศูนยกลางอยท่ขีดความสามารถและแผนการโจมตีเปาหมายท่ยืดหยนสูงเพอท่จะทําให 



การควบคุมบังคับบัญชากําลังทหารของซัดดัมน้นเปนอัมพาต จากน้นก็เขาไปลิดรอน
ขีดความสามารถของขาศึกในการตอสู บอนทําลายเจตจํานงในการทําสงคราม ลดศักยภาพ

การผลิตทางทหาร และสรางเง่อนไขในการควบคุมความสามารถของอิรักในการผลิตอาวุธ

ทําลายลางสูงตอไป รูปแบบการทําสงครามที่ใชในยุทธการทางอากาศชวงสงครามอาวเปอรเซีย

ครั้งที่หนึ่งรูจักกันในชื่อของ “การทําสงครามคูขนาน” (Parallel Warfare) และอยูบนพื้นฐาน

ของการบรรลุเปาหมายท่เฉพาะเจาะจง ไมใชการทําลายขาศึกใหราบคาบจนไมเหลือส่งใดเลย

ดังนน ในเม่อเปาหมายของฝายสัมพันธมิตรในสงครามอาวเปอรเซียครงท่หนงคือการขบไล 





























กาลงของอรกทเขายึดครองคเวตอยใหออกไปแลว ยทธศาสตรและกาลังทหารทใชกตอง


สอดคลองไปในทศทางน้ดวยเชนกน ไมใชการทําลายกาลงของอรกใหสนซากแตเปนการ













ปลดปลอยคูเวตจากการยึดครองของอิรัก
เคลาเซวิทซในฐานะนักคิดสัจนิยม (Realist) และธรรมชาติของสงคราม


หลังจากทําความเขาใจวาอีบีโอคืออะไรและสําคัญอยางไรแลว สวนท่สองน้จะวาง
กรอบความคิดเพื่อวิเคราะหวาอีบีโอซึ่งเกิดขึ้นใหมหลังสงครามเย็นนั้น ที่จริงแลวมีรากฐาน



ทางความคดมาจากปรชญาสงคราม กลาวอยางงายคออบโอไมใชปรากฏการณใหม เพยงแตเปน









การปรับปรุงปรัชญาสงครามในอดีตใหเขากับบริบทสมัยใหมท่มีความกาวหนาทางเทคโนโลย ี

ท้งเร่องของอาวุธยุทโธปกรณและเร่องของการส่อสารโทรคมนาคม ดังน้นสวนท่สองน ี ้







จะเนนไปท่ปรัชญาสงครามของเคลาเซวิทซและทฤษฎีสัจนิยมซ่งสามารถใชอธิบายสงคราม
ในลักษณะเปนสากล (Universal) ไดเปนอยางดี
กอนท่จะวิเคราะหปรัชญาสงครามของเคลาเซวิทซ พึงพิจารณาทฤษฎีสัจนิยม

(Realism) กอน โดยต้งคําถามวาสัจนิยมมีความสําคัญอยางไรตอการทําความเขาใจสงคราม

และปฏิบัติการทางทหารในระดับตาง ๆ ของสงคราม คําตอบคือเน่องจากสัจนิยมเปนแนวคิด


พ้นฐานสําคัญในการเมืองระหวางประเทศและหน่งในนิยามสําคัญของสงครามในงานของ

เคลาเซวิทซอางอิงถึงคําวา “การเมือง” โดยตรง ดังนั้น การเมืองจึงเปนจุดเริ่มตนของการ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
16 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ



ทําความเขาใจสงครามซึ่งเรียกวา “นโยบาย” ในการทําสงคราม เชน ในสงครามโลกครั้งทสอง












สหรฐอเมรกามนโยบายทางการเมองในการหยดยงการแผขยายอานาจของญปนในมหาสมทร


แปซิฟก จึงตัดสินใจทําสงครามกับญ่ปน โดยประกาศสงครามอยางเปนทางการหลังเหตุการณ 


ที่เพิรล ฮารเบอร เปนตน
คําถามคือ “นโยบาย” ในการทําสงครามมาจากไหน แนนอนวาสงครามเปนเร่องใหญ 

















ทมความสูญเสียมหาศาล การทรฐจะตดสนใจทาสงครามยอมตองมเหตผลเพยงพอทจะทา



สงคราม ทฤษฎีท่อธิบายวาเพราะเหตุใดรัฐจึงมีนโยบายท่จะทําสงครามน้นคอสัจนิยม สวนนี้





ของบทความขออธิบายทฤษฎีสัจนิยมในสวนท่เก่ยวของกับปรัชญาสงครามของเคลาเซวิทซ 
ดังตอไปนี้



สัจนิยมมองโลกโดยมีศูนยกลางอยท่รัฐ (State) ซ่งมีอํานาจอธิปไตยเปนพ้นฐาน


สําคัญในการเมืองระหวางประเทศ สัจนิยมถือวารัฐเปนตัวแสดงท่สําคัญท่สุด รัฐตาง ๆ



อยรวมกันภายใตสภาวะท่เรียกวา อนาธิปไตย (anarchy) ซ่งหมายถึงการไมมีศูนยกลาง

อํานาจในการควบคุมพฤติกรรมของรัฐ การดําเนินนโยบายของรัฐมาจากการคิดคํานวณ

อยางสมเหตุสมผล (Rationality) แลววาจะเลือกนโยบายใด เบื้องตนรัฐตองการความอยูรอด
๑๐


(Survival) และเม่ออยูรอดแลวรัฐก็ตองการความม่นคง ความเจริญรงเรืองทางเศรษฐกิจ

๑๑


และในท่สุดรัฐบางรัฐก็ตองการครองความเปนเจา (Hegemony) แตโดยพ้นฐานแลว สัจนิยม









มองวาถารัฐอยไมรอดกจะไมเกดกิจกรรมใด ๆ ทงสนภายในรัฐ และเคร่องมือทรับประกัน




ความอยูรอดดังกลาวคือกําลังทหารและการทําสงคราม ดังน้น การตัดสินใจทําสงครามของรัฐ

ยอมตองมีที่มาจากการคิดคํานวณอยางสมเหตุสมผลแลววา เมื่อรัฐเลือกสงครามเปนหนทาง
ในการดําเนินนโยบาย สิ่งที่ตองการยอมตองเปนเรื่องของความอยูรอด
โปรดพิจารณาตัวอยางตอไปน้เพ่อสรางความเขาใจในทฤษฎีสัจนิยม ในอินโด-แปซิฟก


มีรัฐมหาอํานาจสําคัญอยสองรัฐ ไดแก จีนกับสหรัฐอเมริกา หากพิจารณานโยบายของ



จีนตามทฤษฎีสัจนิยมแลวจะพบวาเบ้องตน จีนตองการความอยรอดในฐานะประเทศหน่ง ึ
ของโลก ซึ่งปจจุบันเปนโลกทุนนิยม จึงสรางโครงการเสนทางสายไหมแหงศตวรรษที่ ๒๑ (Belt








and Road Initiative หรอ BRI) ในฐานะยทธศาสตรหลกของจนในการขยายอทธพลบนเวทโลก

ผานการเช่อมโยงเสนทางคมนาคมขนสงกับนานาประเทศต้งแตป ค.ศ.๒๐๑๓ เพราะความอย ู 


รอดของจีนผูกติดอยกับการคาและการลงทุนระหวางประเทศ และจีนตระหนักเปนอยางดีวา
สหรฐอเมรกายอมไมยอมใหจนกาวขนมาทาทายความเปนเจาของตนเอง












¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
17
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ



ในมหาสมุทรแปซิฟก โครงการน้จึงเกิดข้น โดยจน







คดแลววาสมเหตุสมผลทสุดในการเลือกสรางเสนทาง
ดังกลาวเพราะไมตองการเปดสงครามกับสหรัฐ อเมริกา
ดวยเหตของการมีผลประโยชนทับซอนกันและอาจสงผล




ตอความอยรอดของจีนได ถาหากตองเผชิญหนากบ






สหรฐอเมรกาดวยสงคราม ดงนน สจนยมกสามารถ



อธบายยทธศาสตรหลกของจีนดังกลาวไดเปนเบ้องตน





ตอมาจะพิจารณาวาเคลาเซวิทซเปนนักคิด “
สัจนิยมหรือไม อยางไร โดยดูจากงานเรื่อง On War


ซ่งเปนงานช้นสําคัญของเคลาเซวิทซ คําตอบคือ

เคลาเซวิทซเปนนักคิดสัจนิยมท่เนนศึกษาสงคราม สงครามเปนกิจกรรม





เปนหลก ทกลาวเชนนเนองจาก ประการแรก ทางการเมืองประเภทหนึ่งเทาน้น






เคลาเซวิทซมองวา “สงครามเปนกิจกรรมทางการ หากมองสงครามวาเปนกิจกรรม


เมืองประเภทหน่งเทาน้น หากมองสงครามวา ท่มีเปาหมายของตัวเองจะเปน


เปนกิจกรรมท่มีเปาหมายของตัวเองจะเปนการมอง
๑๒


ท่ไมมีความหมาย” การท่จีนหลีกเล่ยงไมตองการ การมองที่ไมมีความหมาย

เผชิญหนากับสหรัฐอเมริกาโดยตรงดวยการสราง

โครงการเสนทางสายไหมแหงศตวรรษท่ ๒๑ ก็เพราะ ”

นโยบายของพรรคคอมมิวนิสตท่กําหนดมา แตหาก
จะตองทําสงครามกับสหรัฐอเมริกาก็จะตองมาจาก


การส่งการของพรรคคอมมิวนิสตจีนเทาน้น ไมใช 
ความตองการของผนํากองทัพของจีนท่ตองการ


ทําสงครามเพียงเพื่อใหไดชัยชนะมาเทานั้น

ประการท่สอง เคลาเซวิทซมองวา




ท่สดแลวสงครามเปนเร่องความเปนความตาย

โดยช้วา “จริงอยางย่งท่ผท่เช่อในสันติวิธียอมคิดวา






มีหนทางในการปลดอาวุธขาศึกหรือเอาชนะขาศึก
ไดโดยไมตองสญเสยเลอดเนอมากนก และวธการ











¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
18 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ





เชนน้ถือวาเปนเปาหมายท่แทจริงของศิลปะในการทําสงคราม วิธีการเชนน้ฟงดูดีแตอันท่จริง

ความเขาใจสงครามในลักษณะเชนน้เปนความผิดพลาดอยางมหันต เพราะสงครามเปนเร่อง

๑๓

ความรุนแรง โหดรายทารุณและความผิดพลาดท่เกิดจากสันติวิธีจะนําไปสหายนะอันใหญหลวง”






ดังน้น เม่อสงครามเปนเร่องท่มีความเส่ยงสูงเชนน้ การเลือกสงครามเปนวิธีการดําเนิน



นโยบายยอมตองข้นอยกับหลักความสมเหตุสมผลและตองยอมรับความเส่ยงตอความอยรอด



ของรัฐดวย จึงไมแปลกท่จีนพยายามหลีกเล่ยงสงครามกับสหรัฐอเมริกา เพราะเขาใจดีวา

หากทําสงครามแลว โอกาสพายแพมีสูงและจีนจะไมสามารถรักษาเอกราชอธิปไตย
ของตนเองเอาไวได

ประการท่สาม ถึงแมวาสงครามจะเปนไปตามความตองการทางการเมือง
ในรูปของนโยบายและนโยบายจะเปนตัวกําหนดลักษณะของการทําสงครามวาเปนสงคราม
๑๔
๑๕
จํากัด (Limited War) หรือสงครามไมจํากัด (Unlimited War) แตเมื่อเกิดสงครามแลว


ฝายทหารจะเปนผวางแผนโดยกําหนดขนาดกําลังท่ใช และเวลาในการทําสงคราม

โดยพิจารณาคุณคาของเปาหมายทางการเมือง (Value of Political Object) เปนตัวต้ง

หากความสูญเสียจากการทําสงครามเกินกวาคุณคาของเปาหมายน้ สงครามจําเปนตองยุต ิ
๑๖















และคสงครามจะเขาสโตะเจรจาสนตภาพ กรณความขดแยงเรองเขาพระวหารระหวาง

ไทยกับกัมพูชาถือวาเปนสงครามจํากัด โดยเปาหมายทางการเมืองคือพ้นท่เขาพระวิหาร


หากพิจารณาในแงน้ ความขัดแยงระหวางไทยกับกัมพูชาจบลงเพราะคุณคาของเขาพระวิหาร
เม่อเทียบกับผลประโยชนของประเทศโดยรวมแลวนอยมาก อยางนอยในกรณีของไทย

สงครามจึงยุติลงซึ่งสอดคลองกับหลักความสมเหตุสมผลในทฤษฎีสัจนิยม







เม่อเคลาเซวทซเปนนกสัจนยมดงทกลาวมาแลว การทําความเขาใจปรชญาสงคราม





ของเคลาเซวทซจงตองอยบนฐานคดแบบสจนยมอยางหลกเลยงไมได มฉะนนการตความ





















งานของเคลาเซวิทซจะเปนไปในลักษณะท่ไมไดภาพรวมของธรรมชาติท่แทจริงของสงคราม

และความเก่ยวของเช่อมโยงกับการเมืองระหวางประเทศ แตจะมองวาเคลาเซวิทซสนับสนุน

ใหใชกําลังอยางเต็มพิกัดเพ่อทําลายลางขาศึกใหส้นซาก การมองสงครามในลักษณะองครวม


เชนนี้สําคัญอยางยิ่งตออีบีโอซึ่งจะพิจารณาในหัวขอสุดทายตอไป
เคลาเซวิทซ ธรรมชาติของสงคราม กับอีบีโอ


หลังจากท่ไดพิจารณาวาอีบีโอคืออะไรในสวนที่หน่งและปรัชญาสงคราม











ของเคลาเซวทซตงอยบนฐานความคดของสจนยมอยางไรในสวนทสองแลว สวนนจะเชอมโยง








¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
19
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

บทความท้งสองสวนเขาหากันโดยจะตอบคําถามวาปรัชญาสงครามของเคลาเซวิทซ 


เปนรากฐานสําคัญในการทําความเขาใจอีบีโอไดอยางไร โดยเร่มพิจารณาจากการมองสงคราม


วาเปนเคร่องมือของรัฐในการดําเนินนโยบายทางการเมือง จากน้นจะพิจารณาธรรมชาต ิ









ของสงครามวาเปนเรองความเปนความตายของรฐและมการสญเสีย และสดทายจะพจารณา




ความหลากหลายในธรรมชาติของสงคราม ทงในเร่องความจํากดของสงคราม กําลังทใช



ระยะเวลาท่ทําสงคราม และคุณคาของเปาหมายทางการเมือง โดยแตละประเด็นจะช้ใหเห็น


วามีความจําเปนตอการเขาใจอีบีโอ
๑. สงครามในระดับยุทธศาสตร 
ใน On War เคลาเซวิทซกลาววา “สงครามเปนเพียงการดําเนินนโยบาย
๑๗

ตอเน่องดวยเคร่องมืออ่นเทาน้น” ในโลกความเปนจริง การเมืองจะเปนปจจัยกําหนด














วาควรใชสงครามเปนเครองมอในการรกษาผลประโยชนของประเทศหรอไม ซงผกาหนด




นโยบายตองพิจารณาบริบททางการเมืองระหวางประเทศ รวมถึงการสนับสนุนภายใน
ประเทศดวย ดังนั้น สงครามจึงไมไดมีเปาหมายในตัวเองในโลกของความเปนจริง

ในการประเมินสภาวะแวดลอมทางดานการขาวในอีบีโอ ผวิเคราะหตองทําความเขาใจ

ส่งทาทายทางความม่นคงท่เก่ยวของในลักษณะท่เปนระบบมากกวาเพียงแคกําลังรบ




ของขาศึกทเปนทหารอยางเดียว และตองมองฝายเราในลักษณะท่เปนระบบดวยเชนกัน



เพราะฝายเราก็ไมไดใชเพียงกําลังทหารในการปฏิบัติการ แตยังมีเคร่องมืออ่น ๆ ของชาต ิ



อีกดวย ความสามารถในการบรรลุสภาวะท่ฝายเราตองการตอระบบของขาศึกโดยตรง

โดยไมตองโจมตีกําลังรบยอย ๆ ของขาศึกยอมชวยผวางแผนเลือกประยุกตใชแนวคิด













เรองสงครามคขนานมากกวาทเราสามารถจะกระทาไดในปจจบน เพราะการใชสงคราม


คขนานท่สุดแลวแทบจะไมตองอาศัยอาวุธท่ใชทําลายลางเลยเพราะสภาวะท่ตองการ


เปนเปาหมาย ไมใชการทําลายขาศึก สงผลใหอีบีโอใชเครื่องมือที่หลากหลาย ไมวาจะเปนอาวุธ



ทไมไดสงผลตอการทําลาย การทาสงครามขอมูลขาวสาร อมภณฑทใชในจํานวนนอย







๑๘
แตแมนยํา รวมถึงระบบปฏิบัติการจากอวกาศดวย
สําหรับอีบโอ เปาหมายของสงครามคอการบีบบงคับใหขาศึกทําตามความตองการ







ทางยุทธศาสตรของฝายเรา ซ่งในท่สุดแลวเปาหมายของฝายเราควรจะทําเชนน้นเชนกัน



โดยขาศึกไมไดทันรตัวดวยซ้าไปวากําลังถูกกระทําอย หากเรามองปฏิบัติการในสงคราม


จากมุมน้ สภาวะท่ตองการควรจะกําหนดวิธีการทําสงครามและการใชกําลังจะเปนเพียง
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
20 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

Target-Based (TBO)
- ID enemy entities, destroy them
- Focus: physical effects at target level
- Looks at 1st and 2nd order effects only
- No dynamic assessment
- No explicit timing considerations

Objectives-Based (OBO) (Strategies-to-Task)
- Strategies at one level become objectives for mext
- Focus: objectives at ever level
- Considers linkages between objectives and
strategies to achieve those objectives
- No dynamic assessment
- No explicit timing considerations
Effects-Based (EBO)
- Address causality between actions and effects
- Focus: desired effects (physical and behavioral)
- Encompass both target and objective-based methods
- Models the enemy-as-a-system w/adversaray reaction
- Considers Direct, Indirect, Complex (synergistic),
Cumulative & Cascading effects
- Timing explicitly considered
- “Overcoming” mechanism stated & assessed


ภาพความสัมพันธระหวาง TBO OBO และ EBO

ทางเลือกหน่งในอีกหลายตอหลายวิธี การเนนท่สภาวะท่ตองการหรือเปาหมายของยุทธศาสตร 



มากกวาการเนนใชกาลังแบบเดิมผานการใชกาลังเผชญหนากน ชวยใหเราพิจารณาหนทาง











การใชอํานาจอื่น ๆ ที่มีประสิทธิผลในการบรรลุเปาหมายมากกวาดวยทรัพยากรที่นอยกวา
๒. สงครามในระดับปฏิบัติการ

ในระดับยุทธวิธีและยุทธการ สงครามเปน “การใชกําลังเพ่อบีบบังคับใหขาศึก
๑๙

ทําตามความตองการของเรา” เปนเร่องความเปนความตายของรัฐและมีการสูญเสีย
เพราะในทางทฤษฎี สงครามเปนการใชกําลังในปริมาณสูงสุด โดยมีเปาหมายในการปลดอาวุธ
ของขาศึก และการใชกําลังในปริมาณสูงสุดนั้นจะทําดวยเจตนารมณที่กลาแข็งที่สุดโดยไมลดละ
จนกวาจะชนะหรือพายแพไปในที่สุด ไมมีการเจรจาทางการเมือง ดังนั้นฝายที่ตองการจะชนะ
ตองสามารถรวมกําลังเขากระทําในจุดท่มีความสําคัญตอผลในทางยุทธศาสตรของสงคราม





โดยเนนท่จุดซ่งนักวางแผนรจักกันดีวาเปนจุดแตกหักหรือสภาวะท่ตองการทางการรบ
(Decisive Points) ที่จะนําไปสูสภาวะสุดทายที่ตองการ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
21
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

ลักษณะของอีโอบีคือการทําสงครามคขนาน สาระสําคัญของการทําสงคราม















คขนานคอ การใชกาลงในลกษณะทพรอมกน ในขณะทกองทพอากาศโจมต กองทพบก



และกองทัพเรือก็เคล่อนกําลังเขาสเปาหมายไปดวยโดยไมตองรอใหกองทัพอากาศเสร็จส้น

ภารกิจเสียกอน การใชกําลังพรอมกันน้ทําใหปฏิบัติการรวมของฝายเราสามารถกาวขามระดับ


ของสงครามซ่งปจจัยพ้นท่ไมเปนอุปสรรค ผนําระดับยุทธศาสตรสามารถบัญชาการการรบ



โดยปรับกําลังและวิธีการใหตรงกับจังหวะเวลาของการรบไดมากท่สุด ผานการควบคุม


บังคับบัญชาดวยเทคโนโลยีสมัยใหม อยางไรก็ตาม หลักสําคัญของการทําสงครามคขนาน








คอการใชปจจัยเวลาและพ้นทใหเปนประโยชนตอการบรรลุสภาวะทตองการในแตละระดับ

๒๐

ของสงครามและนําไปสวัตถุประสงคในการทําสงคราม ท้งหมดน้เปนสาระสําคัญของอีบีโอ












การใชอบโอในสงครามอาวเปอรเซยครงท ๑ โดดเดนมากในเรองการใชกาลง







ทางอากาศ โดยกําลังทางอากาศเร่มตนสงครามดวยการโจมตีเปาหมายของขาศึก

ในหน่งวันมากกวาเปาหมายท่กองทัพอากาศท่ ๘ ของสหรัฐอเมริกาโจมตีญ่ปนท้งหมด





๒๑
ระหวางป ค.ศ.๑๙๔๒-๑๙๔๓ รวมกัน ซึ่งหากจะนับแลวก็มีเที่ยวบินโจมตีใน ๒๔ ชั่วโมง
๒๒
มากกวาการรบคร้งใดในประวัติศาสตรการทําสงคราม กําลังทางอากาศที่ใชนี้สะทอนวา

อีบีโอตองการใหเกิดสภาวะบางอยางตอขาศึกเพ่อกาวเดินตอไปยังเปาหมายปลายท่ฝายเรา




ตองการ นอกจากน้ การทําสงครามทางเรือในหลายศตวรรษท่ผานมากอใหเกิดทฤษฎ ี
หรือแนวคิดรวมกันระหวางนักยุทธศาสตรทางเรือวาเปาหมายของการใชกําลังทางเรือ

คือการทําลายกําลังทางเรือของขาศึกเทาน้น และแนวคิดเชนนี้ยังเปนการตีความงาน


เขียนเร่อง On War ของเคลาเซวิทซไปในทางท่ผิดอีกดวย โดยเปนการลดทอนศิลปะ

การทําสงครามลงเหลือเพียงการทําลายเปาหมายทางกายภาพท่จับตองไดของขาศึก
๒๓
ดวยการใชการรบ “แตกหัก” ในการทําสงครามทางเรือ
สรุปไดวา ความโดดเดนของอีบีโอสําหรับสงครามในระดับปฏิบัติการ ทั้งยุทธการ

และยุทธวิธีคือไมทําใหการอํานวยการรบน้นหลงทางไปตามตรรกะของสงครามซ่งเคลาเซวิทซ 



เคยเตือนเอาไววา เม่อเกิดสงครามข้นแลว การทหารจะเขาควบคุมการเมืองและการทําลายลาง



ขาศึกจะเขาแทนท่วัตถุประสงคทางการเมือง การท่อีบีโอช้ใหเห็นวาฝายเราตองเดินหนา



ไปสการสรางสภาวะท่ตองการไปสเปาหมายทางทหารน้น ขณะเดียวกันก็ขัดขวางขาศึก

ไมใหบรรลุเปาหมายน้นเชนกัน ยอมกอใหเกิดประสิทธิภาพในการใชกําลังดังปรากฏ


ในสงครามอาวเปอรเซียครั้งที่ ๑ นั่นเอง
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
22 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

๓. สงครามตามความเปนจริงที่มีความหลากหลาย






สงครามท่เกิดข้นมาต้งแตเร่มมีการบันทึกประวัติศาสตรมีความหลากหลายท้งใน
เร่องความจํากัดของสงคราม กําลังท่ใช ระยะเวลาท่ทําสงคราม และคุณคาของเปาหมาย









ทางการเมอง อบีโอชวยใหผวางแผนกาหนดแนวทางการทาสงครามท่สามารถลดชองวาง






ระหวางยุทโธปกรณท่มีในปจจุบันกับอาวุธท่จะพัฒนาข้นมาในอนาคตเพราะไมไดยึดติด



อยกับหลักนิยมท่มากับยานรบหรืออุปกรณท่สรางข้นมาเพ่อการรบในลักษณะท่ตายตัว



และยังชวยใหการใชยุทโธปกรณในปจจุบันเปนประโยชนสูงสุด ขณะเดียวกันกับท่เราพัฒนา

ยุทโธปกรณใหมที่จะตอบสนองแนวคิดในการทําสงครามที่กําหนดเอาไวแลว


หากพิจารณาเปรียบเทียบสงครามอาวเปอรเซียท้งสองคร้งจะพบความหลากหลาย


ในธรรมชาติของสงคราม เบ้องตนความแตกตางท่เห็นไดอยางชัดเจนคือเปาหมาย


ทางการเมืองของสงครามอาวเปอรเซียท้งสองคร้ง สงครามอาวเปอรเซียคร้งแรก


ในป ค.ศ.๑๙๙๑ เปนสงครามจํากัดซ่งนําโดยสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรทําสงครามกับอิรัก
เพ่อปลดปลอยคูเวตออกจากการยึดครองของอิรัก กอบกรัฐบาลคูเวตกลับมาอีกคร้ง



รับประกันความปลอดภัยของชาวอเมริกันในตะวันออกกลาง และสรางเสถียรภาพ

ใหกับภูมิภาค แตสงครามอาวเปอรเซียคร้งท่สองในป ค.ศ.๒๐๐๓ เปนสงครามไมจํากัด





สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรทําสงครามกับอิรักอีกคร้ง แตคร้งน้มีเปาหมายเพ่อลมระบอบ
๒๔
การปกครองของซัดดัม ฮุสเซน การท่เปาหมายทางการเมืองของทั้งสองสงครามตางกัน

ทั้งที่คูสงครามคือคูเดียวกัน สงผลใหกําลังรบที่ใช และระยะเวลาในการทําสงคราม รวมถึง
ความทุมเทในการบรรลุเปาหมายที่ตองการนั้นแตกตางกันโดยสิ้นเชิง
การทําสงครามอาวเปอรเซียคร้งแรกจบลงอยางรวดเร็วเกินคาดคือไมถึงหน่งป 


ต้งแตสิงหาคม ค.ศ.๑๙๙๐ ถึงกุมภาพันธ ค.ศ.๑๙๙๑ สงผลใหสหรัฐอเมริกาสถาปนา


ความม่นคงในตะวันออกกลางเพ่อประโยชนทางพลังงานไดตอไป แตในกรณีสงคราม





อาวเปอรเซียคร้งท่สองแตกตางออกไป เวลาท้งหมดท่ใชมากกวา ๘ ป ต้งแตการโจมต ี


อิรักในเดือนมีนาคม ค.ศ.๒๐๐๓ จนกระท่งการถอนกําลังท้งหมดออกไปในเดือนธันวาคม

ค.ศ.๒๐๑๑ แมวาสหรัฐอเมริกาจะสามารถเปล่ยนระบอบการปกครองของซัดดัมไดก็ตาม

แตก็ตองเผชิญกับการตอตานจากกองกําลังกอความไมสงบ (Insurgency) ตลอดชวงเวลา

ของการยึดครองอิรัก และสูญเสียกําลังพลเปนหลักหม่นซ่งตางจากสงครามอาวเปอรเซีย


คร้งแรกท่มีความสูญเสียเพียงหลักพันเทาน้น ดวยเหตุน้เองท่ทําใหการทําความเขาใจ




ความหลากหลายของสงครามมีความสําคัญตอปฏิบัติการในรูปแบบของอีบีโอซ่งจําเปนตอง

เขาใจสภาวะแวดลอมอยางเปนระบบ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
23
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

บทสรุป




สรุปไดวาปฏิบัติการท่มีรากฐานมาจากสภาวะท่ตองการ

หรืออีบีโอเปนการวางแผนทางทหารและการอํานวยการยุทธในรูปแบบ



ใหมลาสุดของสหรฐอเมริกาและอกหลายประเทศท่ยึดหลักนยม


ทางทหารตามแบบสหรัฐอเมริกา กรณีของวิทยาลัยเสนาธิการทหาร
และโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือก็ใหการศึกษาการวางแผนทางทหาร



และการอํานวยการรบตามแนวทางน้ อยางไรก็ตาม ผท่จะทําความเขาใจ
อีบีโอไดตองมองสงครามในโลกหลังสงครามเย็นวาเปนระบบ กลาวคือ


จําเปนตองเขาใจภาพรวมของส่งท่กําลังเผชิญอยซ่งไมไดเปนเพียง


กําลังทหารอยางเดียวอีกตอไป ฝายขาวจําเปนตองประเมิน


สภาวะแวดลอมท่ฉายภาพส่งทาทายในลักษณะเปนระบบวา




แตละสวนเก่ยวของเช่อมโยงกันอยางไร และมงไปสเปาหมาย
ปลายทางอะไร เมื่อทบทวนปรัชญาสงครามแลวพบวางานของเคลาเซวิทซ


เรื่อง On War แสดงใหเหนวาเปนการมองขาศึกอยางเปนระบบเขากันได








กบอบโอความแตกตางมเพยงเรองเดยวคอเทคโนโลยการทาสงคราม







ในศตวรรษท่ ๑๙ ยังไมเทากับของศตวรรษท่ ๒๑ อยางไรก็ตาม การศึกษา

ปรัชญาสงครามก็ชวยใหเขาใจธรรมชาติของสงครามและการปรับใชกับ


ปฏิบัติการท่มีรากฐานมาจากสภาวะท่ตองการหรืออีบีโอในโลกปจจุบัน
ไดเปนอยางดี
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
24 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

เอกสารอางอิง



๑ Sun-tzu, The Art of War, translated and with an introduction by Samuel B. Griffi th;
with a foreword by B. H. Liddell Hart (New York: Oxford University Press, 1973);
Carl von Clausewitz, On War, edited and translated by Michael Howard and Peter
Paret (Princeton, NJ: Princeton University Press, 1984)


๒ ในบทความน้ขอแปล effects-based operations (EBO) วาเปน “ปฏิบัติการท่มีรากฐาน
มาจากสภาวะที่ตองการ (อีบีโอ)” โดยตลอดบทความจะใชตัวยอเปนภาษาไทยวา “อีบีโอ”
๓ Charles M. Kyle, “RMA to ONA: The Saga of an Effects-Based Operation,” U.S.
Army School of Advanced Military Studies, 2008. [Online] http://www.dtic.mil/
cgi-bin/GetTRDoc?Location=U2&doc= GetTRDoc.pdf&AD=ADA499725.
๔ Transcript of the proceedings of the Gulf War Air Campaign Tenth Anniversary
Retrospective, 17 January 2001.
๕ John A. Warden III, The Air Campaign: Planning for Combat (Washington, DC:
National Defense University Press, 1988), p. 3-12.
๖ David A. Deptula, “Effects-Based Operations: Change in the Nature of Warfare,”
(Arlington, VA: Aerospace Education Foundation, 2001), p. 3.
๗ แนวความคิดเรื่อง “การทําสงครามคูขนาน (parallel warfare)” สรางขึ้นโดยคณะกรรมการ
พัฒนาแนวความคิดในการทําสงครามของกองทัพอากาศ (Air Force Directorate of Warfi ghting
Concepts Development) และเริ่มใชทันทีหลังจากสงครามอาวเปอรเซียครั้งที่หนึ่ง



๘ ในการศึกษาการเมืองระหวางประเทศ สัจนิยมเปนทฤษฎีพ้นฐานท่ผศึกษาทุกคนตองเขาใจ



เพราะเปนจุดเร่มตนของสาขาวิชาน้ สัจนิยมมีพัฒนาการมาจนถึงปจจุบันซ่งแตกออกเปนสัจนิยมใหม 
สัจนิยมใหมเชิงรุก เปนตน ผูสนใจสามารถศึกษาไดในงานรวมเลมสัจนิยม Realism Reader,
edited by Colin Elman and Michael A. Jensen (London: Routledge, 2014)
๙ Robert O. Keohane, “Theory of World Politics: Structural Realism and Beyond,”
in Neorealism and Its Critics. (New York: Columbia University Press, 1986), pp.
164-165.
๑๐ Kenneth N. Waltz, Theory of International Politics (London: Addison-Wesley
Publishing Company, 1979)
๑๑ John J. Mearsheimer, The Tragedy of Great Power Politics (New York: W.W. Norton
& Company, 2001)
๑๒ Carl von Clausewitz, On War, edited and translated by Michael Howard and Peter
Paret (Princeton, NJ: Princeton University Press, 1989), p. 605.





¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
25
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

๑๓ Ibid., p. 75.
๑๔ นโยบายทางการเมืองในสงครามจํากัดไมถึงการยึดครองประเทศขาศึกและทําลายอธิปไตย
ใหหมดสิ้น เชน สงครามอาวเปอรเซียครั้งที่ ๑ ในป ค.ศ.๑๙๙๑ ที่ฝายพันธมิตรตองการขับไล
ทหารอิรักใหออกไปจากคูเวตเทานั้น ไมถึงกับยึดครองอิรักและโคนลมระบอบซัดดัมลง
๑๕ นโยบายทางการเมืองในสงครามไมจํากัดไปถึงการยึดครองประเทศขาศึกและทําลายอธิปไตย



ใหหมดส้น เชน สงครามอาวเปอรเซียคร้งท่ ๒ ท่สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรตองการยึดครอง

อิรักและเปลี่ยนระบอบการปกครองของอิรักใหเปนประชาธิปไตย
๑๖ Carl von Clausewitz, On War, p. 92.
๑๗ Carl von Clausewitz, On War, p. 75.
๑๘ David A. Deptula, “Effects-Based Operations: Change in the Nature of Warfare,” p. 11.
๑๙ Roger A. Freeman, Mighty Eighth War Diary (London: Jane’s Publishing

Co., 1981), pp. 9-161. ระหวางวันที่ ๑๗ สิงหาคม ค.ศ.๑๙๔๒ ซึ่งเปนวันเริ่มตนของการโจมตี








ทงระเบิดตอเปาหมายของญ่ปน ถงวันท่ ๓๑ ธันวาคม ค.ศ.๑๙๔๓ กองทพอากาศมีเท่ยวบิน

โจมตีท้งระเบิดรวม ๑๗๑ เท่ยว หากลบจํานวนภารกิจท้งใบปลิวและนับจํานวนเปาหมาย



ที่ทําลายไดหลายเปาหมายในเที่ยวบินเดียวแลวผลจะเปนการบินโจมตีจํานวน ๑๒๔ เที่ยวบิน




โจมตี จํานวนน้รวมภารกิจของกองทัพอากาศท่ ๘ ท้งหมดซ่งบินไปยังสมรภูมิการรบในยุโรปดวย
ไมใชเที่ยวบินที่เขาไปโจมตีเยอรมนีเทานั้น
๒๐ จากการทบทวนรายงานการรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามโลกครั้งที่สองสงครามเกาหลี
สงครามเวียดนาม และสงครามอาหรับ-อิสราเอลในป ค.ศ.๑๙๖๗ และในป ค.ศ.๑๙๗๓

๒๑ “บรรดาผท่เปนสาวกของเคลาเซวิทซหลายคนไมไดศึกษางานของเคลาเซวิทซอยางลึกซ้งพอและ


งายที่จะสับสนเครื่องมือหรือวิธีการ [ของสงคราม] กับเปาหมายในการทําสงคราม และกระโจน
ไปสูขอสรุปที่วาการพิจารณาปจจัยตาง ๆ ทั้งหมดในการทําสงครามควรจะอยูภายใตเปาหมาย
ของการรบแบบแตกหัก (decisivebattle)” B. H. Liddell Hart, Strategy (New York:
Meridian, 1991), p. 319. ในขณะที่นักวิชาการหลายคนมองลิดเดล ฮารตวาตีความเคลาเซวิทซ

แบบมองในแงเดียว แตขอความท่ยกมาน้ก็ถือเปนความคิดท่นายทหารยุคใหมในหลายประเทศ


เขาใจวาสาระสําคัญของ On War เปนดังนี้
๒๒ Thomas G. Mahnken, “Strategic Theory,” in Strategy in the Contemporary World,
4 th ed. edited by John Baylis, James J. Wirtz and Colin S. Gray (Oxford: Oxford
University Press, 2013), p. 68.


¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
26 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ



พื้นฐาน OPERATION ART




และ OPERATION DESIGN





และความสําคัญตอการวางแผนตามกระบวนการ





วางแผนทางทหารของกองทัพเรือไทย














นาวาโท ณัฐวุฒิ ศิรธรานนท
อาจารยกองวิชายุทธศาสตร
ฝายวิชาการ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ

บทนํา



ในปจจุบันอาจจะกลาวไดวา Operational Art และ Operational Design

เปนพ้นฐานท่มีความสําคัญตอการวางแผน ตัดสินใจ ตามข้นตอนกระบวนการวางแผน








ทางทหาร และการวเคราะหหาหนทางปฏิบตฝายขาศึกตามกระบวนการเตรยมสภาพแวดลอม




ทางยุทธการดานขาวกรอง ซ่งการท่ผบังคับบัญชา หรือฝายเสนาธิการสามารถท่จะเขาใจพ้นฐาน

ท่สําคัญของ Operational Art และ Operational Design จะชวยทําใหการวางแผน

ในการใชกําลัง และการวิเคราะหหาหนทางปฏิบัติฝายขาศึกตามกระบวนการตาง ๆ เปนไป
พื้นฐาน OPERATION ART อยางมีหลักตรรกะ ถูกตอง และเชื่อมโยงระหวางวัตถุประสงค และปจจัยตาง ๆ ดวยความ
สําคัญของ Operational Art และ Operational Design ตามที่ไดกลาวมา ในบทความนี้


จึงเปนบทความท่ชวยอธิบายพ้นฐานของ Operational Art และ Operational Design
และ OPERATION DESIGN และความสําคัญของพ้นฐานดังกลาวตอการวางแผนตามกระบวนการวางแผนทางทหาร




และกระบวนการเตรยมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรองของกองทพเรอไทย



ใหแกผท่กําลังศึกษา หรือผท่สนใจท่มีพ้นฐานกระบวนการวางแผนทางทหาร





และกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรองในระดับเบ้องตนได 
และความสําคัญตอการวางแผนตามกระบวนการ เขาใจ และสามารถนําไปประยุกตใชในการวางแผนไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม
เพ่อใหการอธิบายเปนไปตามประเด็นท่ชัดเจนและเขาใจงาย ผเขียนจึงขอใชแนวทางการเขียน



ในลักษณะการต้งคําถามในประเด็นท่สําคัญ โดยเร่มต้งแตพ้นฐานของ Operational Art





วางแผนทางทหารของกองทัพเรือไทย และ Operational Design ไปจนถึงความสําคัญตอการวางแผนตามกระบวนการวางแผน




ทางทหารของกองทพเรอไทยและกระบวนการเตรยมสภาพแวดลอมทางยทธการดานขาวกรอง



ตามลําดับ โดยมีคําถามและรายละเอียดที่สําคัญดังตอไปนี้
๑. Operational Art มีจุดเริ่มตนและความเปนมาอยางไร?






แนวคดในเรอง Operational Art หรอภาษาไทยใชคําวา “ยทธศลป” ไดถกพฒนา






แนวคดขนหลงสงครามโลกครงท ๑ โดยนกทฤษฎและนกการทหารในประเทศสหภาพ





















โซเวยต ทมชอวา Mikhail Tukhachevsky ซึงในขณะนน สหภาพโซเวียตไดเกดสงคราม

ที่สําคัญ ไดแก สงครามกลางเมืองรัสเซีย (Russian Civil War) ในป ค.ศ.๑๘๑๗ - ๑๘๒๒
และสงครามโปแลนด - โซเวียต (Polish - Soviet War) ในป ค.ศ.๑๙๑๙ - ๑๙๒๑
โดยการทําสงครามในชวงเวลาดังกลาว Tukhachevsky ไมเห็นดวยกับแนวคิดการเอาชนะ


ขาศกโดยการทําการรบท่ช้ขาดและทําลายลางขาศึกในคร้งเดียว แตเห็นดวยกับแนวคิด



ในการทําการรบใหบรรลุวัตถุประสงคทางยุทธศาสตรโดยผานการรวบรวมความสําเร็จ
ของการปฏิบัติการหลาย ๆ ปฏิบัติการเขาดวยกัน ซ่งแนวคิดดังกลาวเปนแนวคิดท่จะเปน


¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 29

ตัวเช่อมรอยตอระหวางระดับยุทธศาสตรและยุทธวิธี และเปนจุดเร่มตนของแนวคิด


เรื่อง Operational Art ๑



ท้งน้ แนวคิดของ Tukhachevsky ไดถูกนามาตอยอดโดยนักทฤษฎ ี




และนักการทหารท่ช่อ นายพล Alexander Andreyevich Svechin ซ่งในขณะน้น

ไดดํารงตําแหนงศาสตราจารยในสถาบันการศึกษาของกองทัพสหภาพโซเวียตท่ช่อ



“Raboche-Krest’yanskaya Krasnaya Armiya (RKKA) Staff Academy” ภายหลัง
สงครามกลางเมือง ในป ค.ศ.๑๙๒๓ โดย Svechin ไดเร่มใชคําวา “Operational Art”



ซ่งหมายถึง ผลรวมของการดําเนินการยุทธ และการรบในสวนตาง ๆ ของพ้นท่การรบ


ท่กําหนดใหมีการปฏิบัติการทางทหาร เพ่อใชในการบรรลุวัตถุประสงคสุดทายในชวงเวลา


ท่มีการรบในระดับการทัพ โดย Operational Art จะเปนเสมือนตัวเช่อมระหวางระดับ

ยุทธศาสตรและยุทธวิธี ทั้งนี้ผลงานของ Svechin ไดถูกตีพิมพเปนหนังสือชื่อ “Strategy”
ในระหวางป ค.ศ.๑๙๒๓ - ๑๙๒๗ และแนวคิดดังกลาวไดถูกนําไปพัฒนาตอยอดโดยนักทฤษฎี








ทมชอเสยงหลายนกทฤษฎี รวมท้งไดถกนาไปใชในการเรยนการสอนของสถาบนการศกษา






ของกองทัพชั้นนําของโลกอยางแพรหลาย ๒
ภาพหนังสือ Strategy
เขียนโดย Alexander Andreyevich Svechin
ถูกตีพิมพเปนหนังสือชื่อ “Strategy”
ในระหวางป ค.ศ.๑๙๒๓ - ๑๙๒๗
ที่มา : SCRIBD
๒. Operational Art คืออะไร?

Operational Art เปนคําท่มีความหมายแตกตางกันออกไปตามบรรณสาร
การวางแผนทางทหาร ท้งภายในประเทศและตางประเทศ ท้งน้ บรรณสารตาง ๆ ไดให 



คํานิยามของ Operational Art ดังตอไปนี้
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
30 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

- บรรณสาร JP 1-02, JP 3-0, JP 5-0 ไดใหความหมายวา “The cognitive
approach by commander and staffs - supported by their skill, knowledge,
experience, creativity, and judgement - to develop strategies, campaigns, and
operations to organize and employ military forces by integrating ends, ways,
and means.”



- บรรณสาร ADFP 5.0.1 AL1, AL2 ไดใหความหมายวา “The skillful
employment of military forces to attain strategic goals through the design,
organization, sequencing and direction of campaigns and operations.”
- ราง อทร.๘๓๐๗ ไดใหความหมายวา “เปนการใชกําลังทหารอยางชํานาญ
เพ่อเขาถึงเปาหมายทางยุทธศาสตร โดยอาศัยการออกแบบ การจัดองคกร การลําดับ


และการช้ทิศทางในการปฏิบัติการในสมรภูมิรบและยุทธการตาง ๆ ยุทธศิลปจะแปลง
การปฏิบัติในระดับยุทธศาสตรไปสูระดับยุทธการ และสุดทายในระดับยุทธวิธี”

ทั้งนี้ เมื่อกลาวโดยสรุปอาจจะกลาวไดวา Operational Art นั้น จะเปนตัวเชื่อม
ระหวางยุทธศาสตรและยุทธวิธี และมีความหมายวา “เปนศิลปะในการใชกําลังทหาร

อยางชํานาญ จากความรประสบการณ ความคิดสรางสรรค ของผบังคับบัญชา

และฝายเสนาธิการ เพ่อใหบรรลุวัตถุประสงคทางยุทธศาสตรโดยอาศัยการออกแบบ การจัด

องคกร การลําดับ การกําหนดทิศทางในการปฏิบัติการในสมรภูมิรบ รวมทั้งการผสมผสาน
แนวคิดเรื่องวัตถุประสงค (Ends) วิธีการ (Ways) และเครื่องมือ (Means) เขาดวยกัน ”



























ภาพองคประกอบของ Operational Art

๓. Operational Art มีองคประกอบที่สําคัญอะไรบาง?















ในความเปนจรงรปแบบของปญหามอยหลายระดบ ตงแตปญหาทมโครงสรางทด ี







(Well - Structured Problem) สามารถหาวธการแกปญหาไดงาย ไปจนถงปญหาทมโครงสราง







ที่ซับซอน (Ill - Structured Problem) เขาใจไดยาก และผูเชี่ยวชาญอาจจะมีความเห็น





ท่แตกตางสําหรับวิธีการแกปญหา ซ่งปญหาท่มีโครงสรางท่ซับซอนน้น จําเปนท่จะตอง




ใชศิลปะ ทักษะ และประสบการณของผแกปญหาควบคไปกับหลักการในการวิเคราะห 


หาปญหา และวิธีการแกปญหา เชนเดียวกับในการปฏิบัติการในพ้นท่สนามรบ ซ่งสภาพแวดลอม



ในการปฏิบัติการมีความซับซอนและยากในการวิเคราะหปญหา และปจจัยท่เก่ยวของ





ตาง ๆ ทมความเช่อมโยงเพอหาแนวทางการแกปญหาทสามารถบรรลวตถประสงค 









ของการปฏิบัติการได ดวยเหตุดังกลาวจึงมีความจําเปนท่จะตองใช Operational Art ท่เปน


การใชกําลังทหารดวยศิลปะ ความชํานาญ จากความรประสบการณ ความคิดสรางสรรค



ของผบังคับบัญชา และฝายเสนาธิการ เพ่อใหบรรลุวัตถุประสงคทางยุทธศาสตร










และสามารถนามาใชเปนสะพานเชอมระหวางยทธศาสตรและยทธวธ เพอใหมความเชอมโยง







และไมเกิดระยะหาง ท้งน้ เพ่อใหงายตอการสรางความเขาใจสามารถแบง Operational Art




เปนองคประกอบตาง ๆ ได ๙ องคประกอบ ตามภาพองคประกอบของ Operational Art
โดยองคประกอบตาง ๆ ฝายเสนาธิการจําเปนท่จะตองสรางความเขาใจในหลักการ

จึงสามารถนําไปประยุกตใชไดอยางตรงความมุงหมายขององคประกอบนั้น ทั้งนี้ แตละองค
ประกอบมีหลักการและรายละเอียดที่สําคัญดังตอไปนี้
วัตถุประสงค (Objective) จะเปนเปาหมายของการใชกําลังทางทหาร ซึ่งจะตอง



ถูกกําหนดข้นอยางชัดเจน และจะเปนตัวช้นําในทุกการปฏิบัติการทางทหาร โดยท่วไป

วัตถุประสงคจะแบงเปน ๓ ระดับ ประกอบดวย ระดับยุทธศาสตร ยุทธการ และยุทธวิธี

ซ่งวัตถุประสงคในแตละระดับจะมีความเช่อมโยงตอกัน โดยวัตถุประสงคในระดับยุทธศาสตร 

จะสามารถเปนไดทั้งแบบนามธรรม และรูปธรรม ทั้งนี้ การกําหนดวัตถุประสงคจะมีความสัมพันธ
กับเครื่องมือหรือกําลังทหารที่จะใชในการปฏิบัติการ วัตถุประสงคที่มีขอบเขตที่ใหญ จะทําให
ตองใชเครื่องมือ หรือกําลังทหารที่มีขนาดใหญมากกวาการกําหนดวัตถุประสงคที่มีขอบเขต
ที่เล็ก ๕
ปจจัยทางยุทธการ (Operational Factors) จะประกอบดวย ๓ ปจจัยที่สําคัญ
ไดแก ปจจัยเวลา (Time) ปจจัยพื้นที่ (Space) และปจจัยกําลัง (Force) โดยในการปฏิบัติการ
ทางทหาร ผูบังคับบัญชาหนวยรบจะตองรักษาสมดุลของปจจัยทั้ง ๓ ปจจัยใหคงอยูตลอด

การปฏิบัติการ ซึ่งในระดับของสงครามที่สูงขึ้นก็จะยิ่งทําใหมีความจําเปนที่จะตองรักษาปจจย

¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
32 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

๓. Operational Art มีองคประกอบที่สําคัญอะไรบาง? ทั้ง ๓ ปจจัยใหมีความสมดุลเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตาม หากในการปฏิบัติการผูบังคับบัญชา






















ในความเปนจรงรปแบบของปญหามอยหลายระดบ ตงแตปญหาทมโครงสรางทด ี หนวยรบไมสามารถท่จะรักษาสมดุลของท้ง ๓ ปจจัยน้ได ก็จะทําใหเกิดความเส่ยง









(Well - Structured Problem) สามารถหาวธการแกปญหาไดงาย ไปจนถงปญหาทมโครงสราง ตอการปฏิบัติการในอนาคต ท้งน้ ปจจัยพ้นท่และปจจัยกําลังจะเปนปจจัยท่มีลักษณะ

























ที่ซับซอน (Ill - Structured Problem) เขาใจไดยาก และผูเชี่ยวชาญอาจจะมีความเห็น คอนขางจะคงท (Relative Fixed) แตปจจยเวลาจะเปนปจจยทมคณลกษณะทเปลยนแปลง





ท่แตกตางสําหรับวิธีการแกปญหา ซ่งปญหาท่มีโครงสรางท่ซับซอนน้น จําเปนท่จะตอง ไดงาย (Changeable) และไมสามารถสรางข้น (Regenerated) หรือนํากลับมาไดใหม





ใชศิลปะ ทักษะ และประสบการณของผแกปญหาควบคไปกับหลักการในการวิเคราะห  ซึ่งแตกตางจากปจจัยพื้นที่และปจจัยกําลัง



หาปญหา และวิธีการแกปญหา เชนเดียวกับในการปฏิบัติการในพ้นท่สนามรบ ซ่งสภาพแวดลอม ฟงกชนระดบยทธการ (Operational Functions) เม่อมีการสงกําลังทหาร








ในการปฏิบัติการมีความซับซอนและยากในการวิเคราะหปญหา และปจจัยท่เก่ยวของ ไปปฏิบัติการในพื้นที่การรบตาง ๆ จําเปนที่จะตองมีโครงสรางและกิจกรรมตาง ๆ ที่จะนํา





ตาง ๆ ทมความเช่อมโยงเพอหาแนวทางการแกปญหาทสามารถบรรลวตถประสงค  มาใชในการสนับสนุนการปฏิบัติการนั้น ๆ โดยโครงสรางและกิจกรรมท่จะเกิดข้นสามารถ















ของการปฏิบัติการได ดวยเหตุดังกลาวจึงมีความจําเปนท่จะตองใช Operational Art ท่เปน ถูกเรียกแทนดวยคําวา “ฟงกชั่น (Function)” ซึ่งโดยพื้นฐานแลว สามารถจําแนกฟงกชั่น

การใชกําลังทหารดวยศิลปะ ความชํานาญ จากความรประสบการณ ความคิดสรางสรรค ที่สําคัญโดยแบงออกเปน ๖ กลุม ไดแก การสั่งการและควบคุม (Command and Control)


ของผบังคับบัญชา และฝายเสนาธิการ เพ่อใหบรรลุวัตถุประสงคทางยุทธศาสตร การขาวกรอง (Intelligence) อํานาจการยิง (Fires) การปองกัน (Protection) การดํารง
















และสามารถนามาใชเปนสะพานเชอมระหวางยทธศาสตรและยทธวธ เพอใหมความเชอมโยง ความตอเนื่องในการรบ (Sustainment) และการเคลื่อนยาย และดําเนินกลยุทธ (Movement





และไมเกิดระยะหาง ท้งน้ เพ่อใหงายตอการสรางความเขาใจสามารถแบง Operational Art and Maneuver) โดยในการปฏิบัติการ ฝายเสนาธิการจะตองพิจารณากิจของแตละฟงกช่น

เปนองคประกอบตาง ๆ ได ๙ องคประกอบ ตามภาพองคประกอบของ Operational Art รวมทั้งจะตองพิจารณาความสัมพันธระหวางฟงกชั่นใหมีความสอดคลองกันในปฏิบัติการ ๗
โดยองคประกอบตาง ๆ ฝายเสนาธิการจําเปนท่จะตองสรางความเขาใจในหลักการ หลักการสงคราม (Principles of War) เปนหลักการท่จะนํามาประยุกตใช 


จึงสามารถนําไปประยุกตใชไดอยางตรงความมุงหมายขององคประกอบนั้น ทั้งนี้ แตละองค ในการวางแผนการรบของฝายเสนาธิการและประยุกตใชในการตัดสินใจของผบังคับบัญชา

ประกอบมีหลักการและรายละเอียดที่สําคัญดังตอไปนี้ ของหนวยกําลัง ซ่งการนําหลักการสงครามมาประยุกตใชใหเกิดประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค (Objective) จะเปนเปาหมายของการใชกําลังทางทหาร ซึ่งจะตอง และประสิทธิผล การรบจะข้นอยกับศิลปะ ทักษะ ความร และประสบการณของฝายเสนาธิการ





ถูกกําหนดข้นอยางชัดเจน และจะเปนตัวช้นําในทุกการปฏิบัติการทางทหาร โดยท่วไป หรือผูบังคับบัญชาหนวยกําลังรบ สําหรับกองทัพไทยมีหลักสงครามที่สําคัญ ๑๐ ขอ ไดแก



วัตถุประสงคจะแบงเปน ๓ ระดับ ประกอบดวย ระดับยุทธศาสตร ยุทธการ และยุทธวิธี ความมงหมาย การรุก การรวมกําลัง การออมกําลัง การดําเนินกลยุทธ เอกภาพในการ


ซ่งวัตถุประสงคในแตละระดับจะมีความเช่อมโยงตอกัน โดยวัตถุประสงคในระดับยุทธศาสตร  บังคับบัญชา การระวังปองกัน การจูโจม ความงาย และการตอสูเบ็ดเสร็จ ๘
จะสามารถเปนไดทั้งแบบนามธรรม และรูปธรรม ทั้งนี้ การกําหนดวัตถุประสงคจะมีความสัมพันธ การวิเคราะหจุดศูนยดุล (COG Analysis) ตามแนวคิดของ Clausewitz
กับเครื่องมือหรือกําลังทหารที่จะใชในการปฏิบัติการ วัตถุประสงคที่มีขอบเขตที่ใหญ จะทําให จุดศูนยดุลจะหมายถึงศูนยรวมของพลังงานและความเคล่อนไหวท้งมวล


ตองใชเครื่องมือ หรือกําลังทหารที่มีขนาดใหญมากกวาการกําหนดวัตถุประสงคที่มีขอบเขต (The Hub of All Power and Movement) ซ่งการหาจุดศูนยดุลของฝายเราและฝายขาศึก


ที่เล็ก ๕ โดยปกตจะเรยกวา “การระบุจุดศูนยดุล (COG Identifi cation : COG ID)” ท้งน้การที ่





ปจจัยทางยุทธการ (Operational Factors) จะประกอบดวย ๓ ปจจัยที่สําคัญ จุดศูนยดุลจะดํารงอยไดจะตองมีองคประกอบวิกฤต (Critical Factor) มาสนบสนน



ไดแก ปจจัยเวลา (Time) ปจจัยพื้นที่ (Space) และปจจัยกําลัง (Force) โดยในการปฏิบัติการ ซ่งไดแก ขีดความสามารถวิกฤต (Critical Capability : CC) ความตองการวกฤต (Critical


ทางทหาร ผูบังคับบัญชาหนวยรบจะตองรักษาสมดุลของปจจัยทั้ง ๓ ปจจัยใหคงอยูตลอด
การปฏิบัติการ ซึ่งในระดับของสงครามที่สูงขึ้นก็จะยิ่งทําใหมีความจําเปนที่จะตองรักษาปจจย


¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒà ¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
32 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 33

Requirement : CR) ความลอแหลมวิกฤต (Critical Vulnerability : CV) ซึ่งการวิเคราะห

จุดศูนยดุล (COG Analysis) จะเปนการวิเคราะหตัวแปรตาง ๆ ขององคประกอบวกฤต


(Critical Factor) ซึ่งไดแก CC CR CV ภายหลังจากไดระบุจุดศูนยดุล (COG Identifi cation


: COG ID) เปนที่เรียบรอยแลว โดยการวิเคราะหจุดศูนยดุลมีความมงหมายท่สําคัญ



เพ่อใหเห็นขีดความสามารถตาง ๆ ท่สําคัญภายในท่ทําให COG สามารถดําเนินตามฟงกช่น


ของตนเองได รวมท้งใหไดมาซ่งความลอแหลมวิกฤต (Critical Vulnerability : CV)

๑๐
ของทั้งกําลังฝายเรา และกําลังฝายขาศึก ทั้งนี้ การทราบ CV ของกําลังฝายเรา จะทําใหเรา











สามารถจดกาลงคมกนกาลงรบทมความออนแอ ในขณะทการทราบ CV ของฝายขาศก






จะทําใหฝายเราสามารถใชกําลังโจมตีจุดออนแอของขาศึก โดยหลีกเลี่ยงการโจมตีที่จุดแข็ง
ซึ่งไดแก COG ของขาศึกโดยตรง) ๑๑






















ภาพองคประกอบวิกฤต (Critical Factor)

¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
34 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

Requirement : CR) ความลอแหลมวิกฤต (Critical Vulnerability : CV) ซึ่งการวิเคราะห





จุดศูนยดุล (COG Analysis) จะเปนการวิเคราะหตัวแปรตาง ๆ ขององคประกอบวกฤต ภาวะผนําในระดับยุทธการ (Operational Leadership) การปฏบติการ















(Critical Factor) ซึ่งไดแก CC CR CV ภายหลังจากไดระบุจุดศูนยดุล (COG Identifi cation ทางทหาร หรอการทาการรบในปจจบน ผบงคบบัญชาและฝายเสนาธการจะตองปฏบตการ





: COG ID) เปนที่เรียบรอยแลว โดยการวิเคราะหจุดศูนยดุลมีความมงหมายท่สําคัญ ในพ้นท่ท่มีสภาวะแวดลอมท่มีความซับซอน มีขอจํากัดตออิสรภาพในการเคล่อนกําลัง




เพ่อใหเห็นขีดความสามารถตาง ๆ ท่สําคัญภายในท่ทําให COG สามารถดําเนินตามฟงกช่น (Freedom of Movement) ของกองกําลัง เชน ขอจํากัดดานกฎหมาย การเมือง วัฒนธรรม




ของตนเองได รวมท้งใหไดมาซ่งความลอแหลมวิกฤต (Critical Vulnerability : CV) และขอจํากัดสภาวะแวดลอมอ่น ๆ ภายใตสภาวะดังกลาว ผบังคับบัญชาจําเปนจะตองม ี




๑๐
ของทั้งกําลังฝายเรา และกําลังฝายขาศึก ทั้งนี้ การทราบ CV ของกําลังฝายเรา จะทําใหเรา ภาวะผนําเพ่อใหการตัดสินใจในการวางแผนหรือใชกําลังทหารดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ
























สามารถจดกาลงคมกนกาลงรบทมความออนแอ ในขณะทการทราบ CV ของฝายขาศก ภาวะผนาเปนศิลปะและไมสามารถท่จะวัดคาได ย่งระดับการรบท่สงกจําเปนท่จะตองใช 



จะทําใหฝายเราสามารถใชกําลังโจมตีจุดออนแอของขาศึก โดยหลีกเลี่ยงการโจมตีที่จุดแข็ง ผูบังคับบัญชาที่มีภาวะผูนําที่ดีในการตัดสินใจ แตอยางไรก็ตาม จากประวัติศาสตรที่ผานมา



ซึ่งไดแก COG ของขาศึกโดยตรง) ๑๑ ปจจัยท่สงผลตอความสําเร็จดานภาวะผนําของผบังคับบัญชาในสนามรบ ไดแก อิสรภาพ
ในการปฏิบัติ (Freedom of Action) ความกลาหาญทางศีลธรรมในการตัดสินใจ

(Moral courage to make decisions) และการควบคมบังคบบญชาผานคาสงภารกจ







(Command and Control Through Mission Orders) ๑๒
การฝกระดับยุทธการ (Operational Training) การฝกดํารงขีดความสามารถ

ในการรบในชวงเวลาท่ไมมีสงครามจะเปนการชวยรักษา และพัฒนาทักษะในการประยุกตใช 
Operational Art ในการวางแผนและการปฏิบัติการทางทหารเม่อเกิดสถานการณจริง

โดยในการฝกควรนําสภาพแวดลอมท่จะตองไปประสบในการปฏิบัติการจริงในหลาย ๆ



สภาพแวดลอมมาทําการฝกเพ่อใหเกิดประสบการณและความคนเคย และผลจากการฝก


ควรนํามาใชเปนสวนท่ชวยในการพัฒนาแนวคิด หลักนิยมการรบ และการวางแผน ท้งน้ ี
หลักนิยมควรจะมีรูปแบบท่สามารถอธิบายใหเห็นภาพไดอยางชัดเจน (Descriptive) มากกวา


เนนในการกําหนดกฎเกณฑ (Prescriptive) และมีความยืดหยนในการนําไปประยุกตใช

รวมท้งมงเนนใหเกิดการประสานงานระหวางเหลาทัพท่มีประสิทธิภาพ ในขณะท่ยังคง



รักษาอัตลักษณและแนวทางการใชกําลังเดิมของเหลาทัพ โดยสรุปแลวอาจจะกลาวไดวา
การฝกและการพัฒนาหลักนิยมท่มีประสิทธิภาพ มีสวนชวยในการพัฒนาทักษะดาน

Operational Art ใหแก ผูบังคับบัญชา ฝายเสนาธิการ และนักวางแผนเมื่อจะตองไปฏิบัติการ
ทางทหารในสถานการณจริง ๑๓
การวางแผนระดับยุทธการ (Operational Planning) โดยทั่วไปการวางแผน
จะแบงออกเปน ๓ ระดับ ประกอบดวย การวางแผนระดับยุทธศาสตร (Strategic Planning)
การวางแผนระดับยุทธการ (Operational Planning) และการวางแผนระดับยุทธวิธี (Tactical
Planning) โดยการวางแผนระดับยุทธการ (Operational Planning) จะอยตรงกลาง

ภาพองคประกอบวิกฤต (Critical Factor)
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒà ¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
34 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 35

ระหวางยุทธศาสตรและยุทธวิธี โดยเปนการเตรียมการทดสอบและการปฏิบัติการตามแผน

สําหรับการทัพท่เฉพาะเจาะจง (Specifi c Campaigns) และการปฏิบัติการหลัก

(Major Operation) โดยการวางแผนระดับยุทธการจะใชหลักการ Operational Art มาชวย
ในกระบวนการวางแผนและตัดสินใจของผูบังคับบัญชา ๑๔
วิธีการใชกําลังรบ (Combat Forces’ Employment) ในการดําเนินยุทธวิธี
(Tactical Action) การปฏิบัติการหลัก (Major Operation) และการปฏิบัติการทัพ (Campaign)

โดยปกติจะดําเนินไปโดยมีองคประกอบ (Elements) หลักท่สําคัญ ไดแก การรวมกําลัง

การดําเนินกลยุทธ และการตอตานการดําเนินกลยุทธ การลวง และตอตานการลวง จุดศูนยดุล
กําลังสํารอง การไลลา การถอนกําลัง การสรางศักยภาพการรบ ความสําเร็จในการยุทธ

กําลังหลัก (Main Force) กําลังสนับสนุน (Supporting Force) โดยปจจัยในเร่องเวลา
(Time) พื้นที่ (Space) และกําลัง (Force) จะเปนปจจัยหลักที่มีผลกระทบตอองคประกอบ
๑๕
ตาง ๆ ตามที่ไดกลาวมาทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ




กลาวโดยสรุปสําหรับคําถามขอ ๓ แนวคดเรอง Operational Art มองคประกอบ

ที่สําคัญ ๙ องคประกอบ ตามที่ไดกลาวในขางตน ซึ่งจะถูกนําไปประยุกตใชในทุกขั้นตอน
ของกระบวนการวางแผนทางทหารและกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการ


ดานขาวกรอง ท้งน้ ในการนํา Operational Art ไปประยุกตใชในการวางแผนจําเปน

จะตองมีความเขาใจแตละองคประกอบของ Operational Art อยางทองแท รวมกับการศึกษา

บทเรียนการวางแผนการรบในระดับยุทธการจากประวัติศาสตรสงครามในอดีต ส่งดังกลาว

จะชวยทาใหผูบังคับบัญชา ฝายเสนาธิการ รวมทั้งนักวางแผนตาง ๆ สามารถพัฒนาทักษะ

ในเรื่อง Operational Art และสามารถนําไปประยุกตใชในการวางแผนทหาร หรือการปฏิบัติการ
ตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
๔. Operational Design คืออะไร?
ความหมายของ Operational Design ตามแตละบรรณสารตาง ๆ จะม ี
ความแตกตางกัน เชนเดียวกับความหมายของ Operational Art ซึ่งการที่จะทําความเขาใจ

ความหมายของ Operational Design โดยใหเขาใจอยางแทจริงจําเปนท่จะตองพิจารณา
ใจความที่สําคัญของการใหความหมายตามแตละบรรณสาร ซึ่งในที่นี้สามารถกลาวถึงความหมาย
ของ Operational Design ไดดังนี้
- บรรณสาร JP 5-0 ไดใหความหมายวา “Operational Design is a methodology



¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
36 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

used to aids commander and planner in organizing and understanding the
Operational Environment.”

- บรรณสาร ADFP 5.0.1 AL1, AL2 ไดใหความหมายวา “Operational design
is the contemporary application of operational art in producing a schematic
that represents the commander’s operational approach to a situation.
- ราง อทร.๘๓๐๗ ไดใหความหมายวา “เปนกระบวนการวาดภาพการรบ


(Schematic) ซ่งเกิดจากการใชองคความรทางยุทธศิลปเปนการสังเคราะหแนวความคิด

















แบบคลาสสิกเรองยทธศลปทพฒนาขนมาในชวงปลายศตวรรษท ๑๙ ถงตนศตวรรษท ๒๐”

เม่อกลาวโดยสรุปอาจจะกลาวไดวา Operational Design จะหมายถึง


กระบวนการท่จะชวยผบังคับบัญชาและนักวางแผนในการเขาใจสภาวะแวดลอมทางยุทธการ


(Operational Environment) และสรางภาพการรบ (Schematic) ทจะเปนตวแสดงแนวทาง



การยุทธ (Operational Approach)
๕. กระบวนการ Operational Design มีอะไรบาง และแตละกระบวนการ
มีแนวทางอยางไร?
กระบวนการ Operational Design หรือตามบรรณสารตาง ๆ มักจะใชคําวา


Design Methodology ตามหลักการแลวจะมี ๔ ข้นตอน ประกอบดวย การเขาใจทศทาง

การปฏิบัติการในระดับยุทธการ (Understand The Operational Direction)
เขาใจสภาพแวดลอมทางยุทธการ (Understand Operational Environment) การกาหนด

ปญหา (Defi ne Problem) และพัฒนาแนวทางการยุทธ (Develop an Operational
Approach) ซึ่งในแตละกระบวนการมีรายละเอียด ดังนี้ ๑๖
การเขาใจทิศทางการปฏิบัติการในระดับยุทธการ (Understand The Operational

Direction) จะเปนข้นตอนในการทําความเขาใจทิศทาง และคําแนะนําจากหนวยเหนือ

(HHQ Guidance) สําหรับนํามาริเร่มในการวางแผน ซ่งการเขาใจทิศทางจากหนวยเหนือ



อยางชัดเจนจะทําใหการปฏิบัติการทางทหารในคร้งน้นตรงความมุงหมายและเปนไป

ตามส่งท่หนวยเหนือตองการ ซ่งทิศทางหรือคําแนะนําจากหนวยเหนือสามารถมาได 


ในหลายรูปแบบ เชน ในรูปแบบของคําแนะนํา (Guidance) หรือคําสั่งเตือน (Warning Order)
โดยในคําแนะนําหรือคําส่งของหนวยเหนือดังกลาวจะมีส่งท่สําคัญ ไดแก สภาวะสุดทาย




ท่ตองการ (End State) และวัตถุประสงค (Objective) ของการปฏิบัติการ ซ่งปจจัยท้งสองส่ง ิ


¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 37

















ดงกลาว จะเปรยบเสมอนเปนตวตงตนทจะนามาใชในการกาหนดทรพยากรภายใตขอจากด
ความเสี่ยง รวมทั้ง เปนตัวนํามากําหนดเปนแนวทางการยุทธ (Operational Approach)
ทั้งนี้ ในกระบวนการการเขาใจทิศทางการปฏิบัติการในระดับยุทธการ (Understand The
Operational Direction) จะมีคําถามที่สําคัญ ๔ ขอ ซึ่งนักวางแผนจะตองคํานึงถึงในขณะ
ที่วางแผน ไดแก ๑๗
- อะไรคือวัตถุประสงค และสภาวะสุดทาย (Ends)?
- ลําดับการปฏิบัติการใดบาง ท่นาจะบรรลุวัตถุประสงค และสภาวะสุดทาย (Ways)?

- ทรัพยากรใดบางที่จะตองนํามาใชเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของลําดับการปฏิบัติการ
(Means)?

- อะไรอาจจะเปนโอกาสใหเกิดความลมเหลวในลําดับการปฏิบัติการเหลาน้น
(Risk)?


ภาพคําถามที่นักวางแผนจะตองคํานึงถึงในกระบวนการ Operational Design ๑๘

เขาใจสภาพแวดลอมทางยุทธการ (Understand Operational Environment)

ในปจจุบันสภาพแวดลอมของการปฏิบัติการทางทหารมีความซับซอน เน่องจากมีตัวแปร



ดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม รวมท้งตัวแปรอ่น ๆ ท้งท่เปนกายภาพและมิใชกายภาพ


เขามาเก่ยวของ โดยตัวแปรดังกลาวในบางตัวแปรมีความสัมพันธและเช่อมโยงตอกัน





โดยหากการปฏบัติการคร้งใดนักวางแผนไมไดทําความเขาใจสภาพแวดลอมในพ้นทปฏบัตการ




รวมท้งความสัมพันธระหวางตัวแปรตาง ๆ อยางทองแท อาจจะทําใหการเกิดผลกระทบ







ทไมคาดคดตอการปฏบตการ ทงในระยะสนและระยะยาว ซงโดยปกตในการแสดงภาพ









ความสัมพันธภายในสภาพแวดลอมทางยุทธการจะนิยมใชการแสดงภาพในรูปของระบบ
(System) และระบบยอย (Sub-System) โดยภายในจะประกอบไปดวยโหนด (Nodes)

ตาง ๆ และความเช่อมโยง (Link) ระหวางโหนด และนยมใชโมเดลทชอวา PMESII







(Political, Military, Economic, Social, Information, and Infrastructure model)
มาชวยในการแสดงภาพความสัมพันธของระบบ ระบบยอย โหนด และความเช่อมโยงตาง ๆ




ท้งน้ ในระหวางท่ทีมวางแผนไดพยายามพัฒนาความเขาใจของสภาพแวดลอมทางยทธการ


¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
38 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ

อาจจะพบตัวแปรยอยเกิดขึ้นมา ไดแก ตัวแสดง (Actors) แนวโนม (Tendency) ศักยภาพ



(Potential) และแรงตึงเครียด (Tension) ซ่งทีมวางแผนจําเปนท่จะตองทําความเขาใจ
ปฏิสัมพันธระหวางตัวแปรยอยตาง ๆ เพ่อใหสามารถเขาใจความสัมพันธของระบบ

และภาพรวมของสภาพแวดลอมทางยุทธการไดอยางชัดเจนยิ่งข้น โดยตัวแปรยอยตาง ๆ

มีรายละเอียด ดังตอไปนี้ ๑๙

- ตวแสดง (Actors) จะเปนหน่งในโหนดของการวิเคราะห หรือสามารถท่จะเปน


ปจเจก กลุม ชาติ และอื่น ๆ ซึ่งกระทําโดยมุงไปที่ผลประโยชน (Interest)
- แนวโนม (Tendency) จะเปนตัวแสดงใหเห็นถึงแนวโนม หรือพฤติกรรม
ของตัวแสดง (Actor) ทั้งนี้ ในการระบุแนวโนม (Tendency) ทีมวางแผนสามารถที่จะประเมิน
ชวงของการปฏิบัติ (Range of Action) ที่เปนไปได ซึ่งตัวแสดงสามารถที่จะนํามาปฏิบัติ

ทั้งนี้ อาจจะรวมหรือไมรวมอิทธิพลจากภายนอกก็ได








- ศกยภาพ (Potential) ขดความสามารถทมอยแตตน หรอขดความสามารถ



ที่สามารถจะพัฒนาการมีปฏิสัมพันธ หรือความสัมพันธของตัวแสดง
- แรงตึงเครียด (Tension) หมายถึง แรงเสียดทาน (Friction) ที่เกิดขึ้นในระบบ
ระหวางตัวแสดง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อผลประโยชนมีความแตกตาง

























๒๐
ภาพแสดงความสัมพันธภายใน Operational Environment

- การกําหนดปญหา (Defi ne Problem) จะเปนขั้นตอนในการระบุตัวแสดง
หรือสถานการณใด ๆ ในสภาวะแวดลอมทางยุทธการ ท่จะมาหยุดการเปล่ยนแปลงจากระบบ


ที่เฝาสังเกตในปจจุบัน (Observed System) ไปยังระบบที่ปรารถนา (Desired System)


ซ่งในการกําหนดปญหาควรท่จะรวบรวมความเขาใจขอจํากัดของหนวยเหนือ โดยเฉพาะ
ขอจํากัดที่เกี่ยวของกับการนํามาใชกําหนดวิธีการ (Way) และเครื่องมือ (Means) รวมทั้ง
นําการวิเคราะหแรงตึงเครียด (Tension) จากข้นตอนเขาใจสภาพแวดลอมทางยุทธการ

(Understand Operational Environment) มาคิดวิเคราะหในการหาแนวทางรับมือ





รวมทง หาความเส่ยงท่อาจจะเกิดข้น โดยขอแถลงปญหา (Problem Statement)

ควรท่จะบรรยายรายการปจจัยตาง ๆ ของปญหา พ้นท่ท่เกิดแรงตึงเครียด การแขงขัน



และโอกาส และการระบุพ้นท่ท่จะใชในการปฏิบัติการท่จะเปล่ยนสภาวะท่เปนอยในปจจุบัน







ไปสูสภาวะสุดทายที่ฝายเราตองการ กอนที่ขาศึกจะลงมือกระทํากอน ๒๑
- พัฒนาแนวทางการยุทธ (Develop an Operational Approach)
ในข้นตอนดังกลาวจะเปนการแสดงวิสัยทัศนของผบังคับบัญชาวาการปฏิบัติการทางทหาร




ในคร้งน้นจะดําเนินไปในแนวทางใด โดยการแสดงภาพ ควรท่จะตองแสดงใหเห็นถึงแนวทาง


โดยสมบูรณ ซ่งประกอบดวยตัวแสดง (Actors) การสนับสนุนของหนวยงานตาง ๆ (Support ๒๓

of Agencies) และหนสวน (Partner) ท่จะเขามาเก่ยวของกับการปฏิบัติการในคร้งนั้น ภาพองคประกอบของ Operational Design (Design Elements)




นอกจากน้ ควรจะตองอธิบายขอจํากัดทางดานยุทธการ (Operational limitations)
ไดแก ขอบังคับ และขอจํากัด (Constraints and Restraint) และอธิบายความเจตนารมณ

เบ้องตน รวมท้ง ความเส่ยงท่ผบังคับบัญชายอมรับได หรือยอมรับไมไดในระหวางปฏิบัต ิ





การ สําหรับการอธิบายแนวทางการยุทธสามารถท่จะอธิบายในลักษณะขอความบรรยาย
หรือภาพกราฟฟค เชน เสนแนวการยุทธ (Line of operation : LOO) หรือเสนแนวความ

พยายาม (Lines of effort : LOE) และแสดงถึงสภาวะสุดทายท่ตองการ (End State)
วัตถุประสงค (Objectives) เปนตน ๒๒
กลาวโดยสรุปสําหรับคําถามขอ ๕ กระบวนการ Operational Design

ประกอบดวย ๔ ข้นตอน ไดแก การเขาใจทิศทางการปฏิบัติการในระดับยุทธการ
เขาใจสภาพแวดลอมทางยุทธการ การกําหนดปญหา และพัฒนาแนวทางการยุทธ
ซึ่งกระบวนการ Operational Design เปรียบเสมือนเปนแนวคิดในภาพรวม กอนที่จะมา
เปนกระบวนการวางแผนทางทหาร และกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการ
ดานขาวกรอง ซึ่งการที่นักวางแผนเขาใจกระบวนการ Operational Design จะชวยทําให
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
40 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ




เขาใจท่มาของแนวคิดในแตละข้นตอนท่สําคัญของกระบวนการวางแผนทางทหาร และ
กระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรองไดชัดเจนยิ่งขึ้น

๖. Operational Design มีองคประกอบท่สําคัญอะไรบาง และมีประโยชน 
ตอนักวางแผนอยางไร?

























ภาพองคประกอบของ Operational Design (Design Elements) ๒๓

องคประกอบของ Operational Design (Design Elements) ไดถูกกําหนด
แตกตางกันออกไปตามประเภทของบรรณสารในตางประเทศ และราง อทร.๘๓๐๗











อยางไรกตาม หากพจารณาเปรยบเทยบจากทกบรรณสารตามทไดกลาวมา จะเหนไดวา 
องคประกอบของ Operational Design ท่สําคัญ และทุกบรรณสารไดกลาวถึง ประกอบ


ดวย สภาวะสุดทายที่ตองการ (End state) วัตถุประสงค (Objective) ผลกระทบ (Effect)

จุดศูนยดุล (COG) สภาวะท่ตองการทางการรบ (Decisive Point : DP) และเสนแนว
๒๓
การยุทธ (Line of operations)


ท้งน้ องคประกอบของ Operational Design มีประโยชนท่สําคัญ กลาวคือ





สามารถนําไปประยุกตใชเปนเคร่องมือเพ่อสรางผลผลิตท่สําคัญตามข้นตอนตาง ๆ

ของกระบวนการวางแผนทางทหารได ดวยเหตุดังกลาว นักวางแผนจึงควรท่จะตองทําความ
เขาใจความหมายของแตละองคประกอบ (โดยเฉพาะองคประกอบที่สําคัญ) แนวทางการนํา


ไปใช รวมท้ง ขอจํากัดตาง ๆ ท่เปนไปตามหลักการ เพ่อใหสามารถนํามาประยุกตใชใน

กระบวนการวางแผนทางทหารไดอยางถูกตอง ชัดเจน และเปนไปตามหลักตรรกะ
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 41

๗. พ้นฐานของ Operational Art และ Operational Design มีความสําคัญอยางไร

ตอการวางแผนตามกระบวนการวางแผนทางทหาร และกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอม
ทางยุทธการดานขาวกรองของกองทัพเรือไทยใชในปจจุบัน?

การวางแผนทางทหารของกองทัพเรือไทยในปจจุบันไดใชกระบวนการวางแผน
ทางทหาร โดยอางอิงตามราง อทร.๘๓๐๗ การวางแผนทางทหาร โดยเอกสารดังกลาวมีท่มา

จากบรรณสารตางชาติหลายฉบับ ประกอบดวย NWC 4111H NWP 5-01 Joint Military

Appreciation Process (ADFP 5.0.1) และ Campaign Planning Handbook ซึ่งเนื้อหา



ภายในประกอบดวย กระบวนการวางแผนทางทหาร ๗ ขนตอน และกระบวนการเตรียม
สภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง ๔ ข้นตอน รายละเอียดตามภาพกระบวนการ

๒๕
วางแผนทางทหาร

































ภาพกระบวนการวางแผนทางทหาร และการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง





¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
42 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ












ซงในการวางแผนทางทหารตามกระบวนการดงกลาว โดยมงหวงใหเกดประสทธผล
และใหการใชกําลังทหารเปนไปตามวัตถุประสงคของการปฏิบัติการ ฝายเสนาธิการจําเปน



ท่จะตองประยุกตใชพ้นฐานและองคประกอบของ Operational Art ท่มีความเปนศิลปะ
มากกวาวิทยาศาสตร ในทุกขั้นตอนของกระบวนการวางแผนทางทหาร เพื่อใหการวางแผน
ดําเนินไปอยางเช่อมโยง ตัวอยางท่สําคัญในการประยุกตใช Operational Art ในกระบวนการ


วางแผนทางทหาร ตามราง อทร.๘๓๐๗ เชน การใชศิลปะ ควบคูกับหลักการในการกําหนด
วัตถุประสงคในระดับยุทธการท่สอดคลองกับวัตถุประสงคในระดับยุทธศาสตร การวิเคราะห 



หนาท่ในระดับยุทธการ (Operational Function) ท่สัมพันธกับการปฏิบัติการน้น ๆ

การระบุจุดศูนยดุล และวิเคราะหจุดศูนยดุลใหเปนไปตามหลักตรรกะ รวมทั้งการประยุกต
ใชศิลปะ ความชํานาญ และประสบการณของฝายเสนาธิการ เพ่อวิเคราะหองคประกอบ

ตาง ๆ ในแตละขั้นตอนของกระบวนการวางแผนทางทหาร จนไดผลผลิตเปนแนวความคิด

ในระดับยุทธการ (Ways) ท่มีความเช่อมโยงกับวัตถุประสงค (Objective) และกําลังรบ







(Means) นอกจากน พนฐานและองคประกอบของ Operational Art ยงสามารถนามา

ประยุกตใชในกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง โดยเฉพาะ
การใชปจจัยในระดับยุทธการ (Operational Factor) เรื่อง เวลา พื้นที่ และกําลัง ในการ
วิเคราะหผลกระทบของสภาพแวดลอมตอกําลังฝายเราและฝายขาศึก โดยผลผลิต

ของปจจัยเร่อง เวลา พ้นท่ และกําลัง เสนาธิการฝายขาวกรอง สามารถนํามาประยุกต 


และวิเคราะหเปนแนวทางปฏิบัติฝายตรงขามที่มีความเปนไปได สอดคลองกับหลักเหตุผล และ
สอดคลองกับวัตถุประสงคของการใชกําลังของฝายตรงขาม จากท่กลาวมาจะเห็นไดวา

พ้นฐานของ Operational Art จะอยในทกข้นตอนของกระบวนการวางแผนทางทหาร





และกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรองอยางที่ไมสามารถ


แยกออกจากกันได


สําหรับพ้นฐานของ Operational Design ซ่งมีแนวคิดท่สําคัญ ไดแก กระบวนการ

Operational Design (Design Methodology) และองคประกอบของ Operational

Design โดยกระบวนการ Operational Design จะเปนแนวทางในภาพรวมของข้นตอน
ท่สําคัญในการกระบวนการวางแผนทางทหาร และกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอม


ทางยุทธการดานขาวกรอง ในขณะท่องคประกอบ Operational Design สามารถนํามา
¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 43

ประยุกตใชเปนเคร่องมือในการวิเคราะหหรือแสดงภาพแนวทางการปฏิบัติท่เปนผลผลิต







ใหมีความชัดเจน ท้งน้เพ่อชวยใหเขาใจไดดีย่งข้น สามารถอธิบายความสัมพันธระหวาง

กระบวนการ Operational Design และองคประกอบ Operational Design กบกระบวนการ
วางแผนทางทหาร และการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง ตามราง อทร.๘๓๐๗

โดยใชกระบวนการ Operational Design ๔ ข้นตอน มาเปนกรอบในการอธิบายความ
สัมพันธได ดังตอไปนี้
ขั้นตอนที่ ๑ การเขาใจทิศทางการปฏิบัติการในระดับยุทธการ (Understand

The Operational Direction) ซ่งจะกลาวถึงการทําความเขาใจคําแนะนํา หรือคําส่ง ั
การจากหนวยเหนือ จะสัมพันธกับกระบวนการวางแผนทางทหารตามราง อทร.๘๓๐๗





ในขนตอนท่ ๑ การกําหนดกรอบการปฏิบัติเบ้องตน และข้นตอนท่ ๒ การวิเคราะหภารกิจ




เฉพาะในสวนทเปนการพิจารณาคําแนะนําเบื้องตนของหนวยเหนือ
ขั้นตอนที่ ๒ เขาใจสภาพแวดลอมทางยุทธการ (Understand Operational
Environment) เปนการระบุ และวิเคราะหสภาพแวดลอมในพ้นท่ท่จะมีการปฏิบัติการ



ทางทหาร เพ่อใหเขาใจและทราบผลกระทบตอการปฏิบัติการ ท้งในสวนท่เปนกายภาพ



และมิใชกายภาพ โดยพิจารณาในรูปของระบบและโหนด และหาผลกระทบท่จะเกิด

ตอการปฏิบัติการ รวมท้งการพิจารณาตัวแสดงตาง ๆ และแนวโนมในการเลือกแนวทาง

การปฏิบัติ โดยคํานึงถึงศักยภาพของแตละตัวแสดง รวมท้งพิจารณาแรงเสียดทาน




ระหวางตัวแสดงในระบบ ซ่งในข้นตอนดังกลาวสวนใหญจะสัมพันธกับข้นตอนท่ ๑


การระบุสภาพแวดลอมทางยุทธการ และข้นตอนท่ ๒ อธิบายผลกระทบสภาพแวดลอม

ทางยุทธการ ของกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง ตามราง

อทร.๘๓๐๗ ซ่งมงเนนในการสรางความเขาใจสภาพแวดลอมท่สําคัญในพ้นท่ปฏิบัติการ






รวมท้งวิเคราะหผลกระทบจากสภาพแวดลอมในพ้นท่ดังกลาวตอกําลังฝายเรา

และฝายขาศึก
ขั้นตอนที่ ๓ การกําหนดปญหา (Defi ne Problem) จะเปนขั้นตอนในการ
ระบุภัยคุกคาม หรือสถานการณใด ๆ ในสภาวะแวดลอมทางยุทธการที่จะมาเปนอุปสรรค


ตอการเปล่ยนแปลงจากระบบท่เฝาสังเกตในปจจุบัน (Observed System) ไปยังระบบ
ที่ปรารถนา (Desired System) รวมทั้งปจจัยตาง ๆ ของปญหา พื้นที่ที่เกิดแรงตึงเครียด
(แรงเสียดทาน) การแขงขัน และโอกาส ซ่งในข้นตอนดังกลาว การระบุภัยคุกคาม


¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
44 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ











และพนท จะสมพนธกบกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง


ตามราง อทร.๘๓๐๗ ในข้นท่ ๑ การระบุสภาพแวดลอมทางยุทธการ ในหัวขอกําหนดขอบเขต
ภัยคุกคาม สําหรับการวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ของปญหาหรือภัยคุกคาม การแขงขัน









และโอกาส จะเปนการวิเคราะหซงกระจายอยในสวนตาง ๆ ของข้นตอนท่ ๒ - ๔ ทงน ี ้







อาจจะกลาวไดวาการกาหนดปญหามความสมพนธกบในทก ๆ ขนตอนของกระบวนการ







เตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง ตามราง อทร.๘๓๐๗


ข้นตอนท่ ๔ พัฒนาแนวทางการยุทธ (Develop an Operational Approach)

จะเปนการแสดงวิสัยทัศนของผบังคับบัญชาวาการปฏิบัติการทางทหารในคร้งน้นจะ





ดาเนนไปในแนวทางใด ซ่งในข้นตอนดังกลาวจะสัมพันธกับกระบวนการวางแผนทางทหาร




ตามราง อทร.๘๓๐๗ ในข้นตอนท่ ๒ การวิเคราะหภารกิจ โดยเฉพาะในหัวขอการกําหนดภารกิจ

















และเจตนารมณผบงคบบญชา ซงจะเปนตวแสดงวสยทศนของการปฏบตการในเบองตน




รวมท้ง สัมพันธกับข้นตอนท่ ๓ การกําหนดหนทางปฏิบัติของหนวย ท่เปนการอธิบายแนวทาง




การปฏิบัติการโดยใชภาพอธิบายเปนสวนใหญ โดยในข้นตอนดังกลาว จะนําองคประกอบ

ของ Operational Design (Design Elements) ท่สําคัญมาชวยในการวิเคราะห เชน
การนําแนวคิดเร่องผลกระทบ (Effect) มาวิเคราะหเพ่อกําหนดสภาวะช้ขาดทางการรบ



(Decisive Point) รวมทั้งแสดงภาพแนวทางการปฏิบัติการที่มีการลงรายละเอียด ในรูปแบบ

ของเสนแนวการยุทธ (Line of Operations) ท่ประกอบไปดวยการรอยเรียงของสภาวะ
ชี้ขาดทางการรบ (Decisive Point) ตามเฟส (Phase) ตาง ๆ ไปจนไปถึงจุดศูนยดุล (COG)
และสภาวะสุดทายที่ตองการ (End State)
กลาวโดยสรุปสําหรับคําถามขอ ๗ พนฐาน Operational Art โดยเฉพาะ



องคประกอบของ Operational Art ท้ง ๙ องคประกอบ จะถูกนําไปประยุกตใชภายใต 

ศิลปะ และความชํานาญในทุกข้นตอนของกระบวนการวางแผนทางทหาร และกระบวนการ

เตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง เพ่อใหการวางแผนเปนไปอยางเช่อมโยง

ระหวางวัตถุประสงค วิธีการ และเครื่องมือ โดยที่พื้นฐาน Operational Design ที่สําคัญ
ไดแก กระบวนการ Operational Design (Design Methodology) จะเปนแนวทาง


ในภาพรวมของข้นตอนท่สําคัญในการกระบวนการวางแผนทางทหาร โดยเฉพาะ
ในข้นตอนท่ ๑ การกําหนดกรอบการปฏิบัติเบ้องตน จนถึงข้นตอนท่ ๓ การกําหนด





หนทางปฏิบัติของหนวย และในทุกข้นตอนของกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอม

ทางยุทธการดานขาวกรอง ในขณะท่องคประกอบ Operational Design จะถูกไปใช 

¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 45

เปนเคร่องมือในการวิเคราะหหรือแสดงรายละเอียดภาพแนวทางการปฏิบัติท่เปน








ผลผลตทสาคญใหมีความชัดเจน ดวยความสัมพันธดังกลาว การเขาใจพ้นฐานของ
Operational Art และ Operational Design จึงมีความสําคัญตอการวางแผน
ตามกระบวนการการวางแผนของกองทัพเรือ และกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอม
ทางยุทธการดานขาวกรองในปจจุบัน
































ภาพความสัมพันธของ Operational Art และ Operational Design กับกระบวนการ
วางแผนทางทหาร และการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรอง ตาม ราง อทร.๘๓๐๗ ๒๗












¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
46 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ


บทสรุป Operational Art และ Operational Design เปนพ้นฐาน



ท่อยในข้นตอนตาง ๆ ของกระบวนการวางแผนทางทหาร และการเตรียม

สภาพแวดลอมทางยทธการดานขาวกรอง ตามเอกสาร ราง อทร.๘๓๐๗






ตามท่ไดกลาวมา อยางไมสามารถแยกออกจากกนได รวมท้งเปนส่งท่ชวย


ใหผูบังคับบัญชา หรือฝายเสนาธิการสามารถวางแผน ตัดสินใจ และกําหนด
แนวทางการใชกําลังทหารอยางมีศิลปะ และความชํานาญภายใตสภาวะ


แวดลอมของการปฏิบัติการท่มีความซับซอนไดอยางมีหลักตรรกะ เช่อมโยง
ระหวางวัตถุประสงคของการปฏิบัติการ (Ends) แนวทางการใชกําลัง (Ways)
และกําลังรบ (Means) รวมท้งสามารถบรรลุวัตถุประสงคในระดับยุทธศาสตร 







ไดตามทกาหนด โดยมการแสดงภาพแนวทางการใชกาลงทมความชดเจน






จากความสําคัญตามที่ไดกลาวมา จึงสามารถสรุปไดตามหัวขอของบทความ

ในคร้งน้วาพ้นฐานของ Operational Art และ Operational Design



เปนสงท่มีความสาคัญตอการวางแผนตามกระบวนการวางแผนทางทหาร





และกระบวนการเตรียมสภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรองของ
กองทัพเรือไทย ดวยความสําคัญดังกลาว ผบังคับบัญชา และฝายเสนาธิการ

ท่เก่ยวของกับการฝก หรือการปฏิบัติการตางๆ ของกองทัพเรือท่จะตองวางแผน



และตัดสินใจ โดยใชกระบวนการวางแผนทางทหาร และกระบวนการเตรียม
สภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรองของกองทัพเรือไทย ตามเอกสาร
ราง อทร.๘๓๐๗ จึงมีความจําเปนท่จะตองทําความเขาใจพ้นฐานของ


Operational Art และ Operational Design ใหไดอยางทองแท ไมใช 
ทําความเขาใจเฉพาะหลักการตามขั้นตอนตาง ๆ ของกระบวนการดังกลาว




เพียงเทาน้น ท้งน้ เพ่อใหการวางแผนในการปฏิบัติการ และการเตรียม

สภาพแวดลอมทางยุทธการดานขาวกรองเปนไปตามความมงหมาย
และสามารถบรรลุวัตถุประสงคของการปฏิบัติการในระดับตาง ๆ ของกองทัพ
เรอไดอยางมีประสิทธิภาพ


¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ 47

เอกสารอางอิง


๑ Lt. Col. Wilson C. Blythe Jr., U.S. Army. Historical Perspectives Operational Art :
Military Review 2018, p.39-40
๒ Milan N. Vego., Joint Operational Warfare: Theory and Practice, p. I-24
๓ US Army, FM 5-0 (2010), p.2-4
๔ US Joint Chief of Staff, JP 5-0 Joint Planning, p.GL-12
๕ Milan Vego, Joint Operational Warfare Theory and Practice, p.ii-3-ii-4
๖ Ibid, p.III-60
๗ Ibid, p.VII-4
๘ อทร.๘๐๐๔ หลักการและทฤษฎีการทําสงคราม พ.ศ.๒๕๔๓, หนา ๑๖๑ - ๑๖๒
๙ Michael Howard and Peter Paret, ON WAR, p.595
๑๐ Critical Vulnerability (CV) คือ องคประกอบของความตองการวิกฤติท่มีความออนแอ

หรือสามารถทําใหออนแอได / ราง อทร.๘๓๐๗
๑๑ Steven D. Kornatz, Joint Force Quarterly 82 (3rd Quarter, July 2016) The Primacy
of COG Planning: Getting Back to Basics, p.94-96
๑๒ Ibid, Joint Operational Warfare Theory and Practice, p.XIV14-XIV-15
๑๓ Ibid, p.XIV-12
๑๔ Ibid, p.XIV-4
๑๕ Ibid, p.VII-3
๑๖ U.S.Navy, NWP 5-01 Navy Planning Edition 2013, p.D-2
๑๗ Ibid, p.D-3
๑๘ Ibid, p.D-4
๑๙ Ibid, p.D-4
๒๐ Ibid, p.D-6
๒๑ Ibid, p.D-8
๒๒ Ibid, p.D-9
๒๓ US. Army Planner Hand book/ JP 5-01/ A.D.F.P 5.0.1 AL2/ Joint Operation/ราง
อทร.๘๓๐๗
๒๔ Ibid
๒๕ ราง อทร.๘๓๐๗ การวางแผนทางทหาร แกไข ป พ.ศ.๒๕๖๒, หนา ๑
๒๖ Ibid, หนา ๑ - ๓
๒๗ Ibid.






¹ÒÇÔ¡Ò¸Ô»˜µÂÊÒÃ
48 ¤Åѧ»˜ÞÞÒ ¾Ñ²¹Ò¼ÙŒ¹íÒ


Click to View FlipBook Version