กิจกรรมท่ี 11 หน้าลูกเตา๋
การจัดกจิ กรรม
1. ครูแจกลูกเต๋าให้นกั เรียน
2. ให้นกั เรียนสงั เกตความสมั พันธข์ องจานวนจุดบนแตล่ ะหน้าของลูกเต๋า
3. ครูแจกใบกจิ กรรมหน้าลูกเตา๋ ให้นักเรยี น
4. ใหน้ ักเรยี นนกึ ภาพว่าหน้าของลกู เตา๋ ที่มองไม่เห็นจะมีจานวนจุดอย่างไร แล้วลองวาดภาพ
น้นั ออกมาพรอ้ มบอกวา่ หนา้ ไหนอยู่ตรงข้ามกับหน้าไหน
พฒั นาการรับร้เู ชิงปริภมู ิ
ดา้ นความทรงจาเกี่ยวกบั สิง่ ท่ีได้เหน็ (Visual Memory)
4488
ลกู เตา๋
4499
ใบกิจกรรมหนา้ ลูกเต๋า 1
จงหาหนา้ ของลูกเตา๋ ที่มองไม่เหน็ ว่ามจี านวนจดุ อย่างไร แล้วลองวาดภาพนน้ั ออกมาพร้อมบอกว่าหนา้ ไหนอยู่
ตรงข้ามกับหน้าไหน
5500
ใบกิจกรรมหนา้ ลกู เต๋า 2
จงหาหนา้ ของลูกเตา๋ ท่ีมองไม่เหน็ ว่ามจี านวนจดุ อย่างไร แล้วลองวาดภาพนน้ั ออกมาพร้อมบอกวา่ หน้าไหนอยู่
ตรงขา้ มกบั หน้าไหน
5511
กิจกรรมที่ 12 ลูกบาศก์ทห่ี ายไป
การจัดกจิ กรรม
1. ครูแจกใบกิจกรรมลกู บาศก์ที่หายไปใหน้ ักเรยี น
2. ใหน้ ักเรยี นหาวา่ ตอ้ งใชล้ กู บาศก์กอ่ี ันจึงจะเติมเต็มรูปได้ตามรทกี่ าหนด
พัฒนาการรบั รู้เชิงปริภูมิ
ด้านการรับรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์เชิงปริภูมิ (Perception of Spatial
Relationship)
5522
ใบกิจกรรมลกู บาศกท์ ห่ี ายไป
จงหาว่าตอ้ งใช้ลูกบาศก์ก่อี ันจึงจะเติมเต็มรปู ได้ตามที่กาหนดใหด้ งั นี้
5533
กจิ กรรมท่ี 13 ประดษิ ฐ์ปริซึม
การจดั กจิ กรรม
1. ครแู จกใบกจิ กรรมประดษิ ฐ์ปรซิ ึม และ กรรไกร ให้นักเรียน
2. ให้นกั เรยี นใชก้ รรไกรตัดรูปออกมา
3. ในใบกจิ กรรมประดิษฐป์ ริซึม 1 และ 2 ใหน้ ักเรยี นใชก้ าวทาและติดตรงทเ่ี ปน็ หมายเลข
เดียวกนั เขา้ เดยี วกัน ในใบกิจกรรมประดิษฐ์ปรซิ มึ 3 และ 4 ใหน้ ักเรียนลองประดิษฐ์ปริซมึ
ออกมาโดยไมม่ ตี วั เลขใหว้ า่ ดา้ นไหนตอ้ งติดกบั ด้านไหนนักเรยี นต้องคดิ เอง
4. ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันหาฐานของปรซิ มึ ที่ประดิษฐ์ขน้ึ มาและทาสลี งไป
5. ใหน้ กั เรียนอธิบายว่าปริซึมทีป่ ระดิษฐ์ขนึ้ มาคือปรซิ ึมฐานอะไร
พัฒนาการรบั รู้เชิงปริภูมิ
ดา้ นการรบั รู้เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธ์เชงิ ปริภมู ิ (Perception of Spatial Relationship)
5544
ใบกจิ กรรมประดิษฐ์ปรซิ มึ 1
5555
ใบกจิ กรรมประดิษฐ์ปรซิ มึ 2
5566
ใบกจิ กรรมประดิษฐ์ปรซิ มึ 3
5577
ใบกจิ กรรมประดิษฐ์ปรซิ มึ 4
5588
ใบกจิ กรรมประดิษฐ์ปรซิ มึ 5
5599
กิจกรรมที่ 14 พ้ืนที่หรรษา
จีโอบอร์ด กระดานตะปู
การจดั กจิ กรรม
1. ครแู จกกระดานตะปูใหน้ ักเรียนหรอื จีโอบอร์ดหรืออาจจะใช้กระดาษแทนจีโอบอรด์ แทน
2. ครใู หน้ ักเรียนใช้ยางรัดสรา้ งรูปบนกระดานหรือใช้ดินสอสรา้ งรปู บนกระดาษใหเ้ หมือนกับ
รปู ต้นแบบท่ีกาหนดให้
3.ให้นักเรียนคาดเดาว่ารปู ใดมพี ้ืนท่ีมากเปน็ อันดับท่ี 1 และอนั ไหนมีพนื้ ทน่ี ้อยท่สี ุด
4. ให้นกั เรียนแต่ละคนอธิบายวิธที ีใ่ ชใ้ นการคาดเดา เชน่ นับจุดที่เหลือ หรือ นบั จุดที่ใชไ้ ป
5. ใหน้ กั เรยี นตรวจสอบการคาดเดา
กจิ กรรมที่ 15
พัฒนาการรับรเู้ ชงิ ปรภิ ูมิ
ด้านการประสานสัมพันธ์กันทางสายตา (Eye-Motor Coordination) และ ด้านการรับรู้
เก่ียวกบั ความสัมพันธ์เชิงปรภิ ูมิ (Perception of Spatial Relationship)
6600
รปู ต้นแบบพน้ื ที่หรรษา
6611
กระดาษจโี อบอรด์
6622
กจิ กรรมที่ 15 CHECK MATE
1 D2
2
3
4
5
ABC DE F
แนวทางในการจัดกจิ กรรม
1. ครูใหน้ ักเรียนจับคู่ 2 คน
2. ครูแจกใบกจิ กรรม CHECK MATE ใหน้ กั เรียน
3. ใหน้ กั เรยี นวาดรปู สี่เหลีย่ มผืนผ้าขนาดใดก็ไดแ้ ละด้านของสี่เหลี่ยมจะตอ้ งทบั กบั เส้นตาราง
ลงในใบกิจกรรมโดยห้ามให้ฝ่ายตรงข้ามเหน็
4. ใหน้ กั เรียนแต่ละคผู่ ลัดกันทายตาแหนง่ ท่ีนักเรียนคิดวา่ ฝา่ ยตรงขา้ มวาด เช่น D2 คือ หลกั
D แถว 2 ผ้าฝ่ายตรงข้ามมีจุดนัน้ อยู่บนรปู ที่วาดใหน้ ักเรยี นจดไวใ้ นฝั่งท่ีเป็นตารางของคู่แข่ง
5. นักเรียนคนทีเ่ ดารปู ของฝา่ ยตรงขา้ มไดก้ ่อนและถกู ตอ้ งจะเปน็ ผู้ชนะ
พัฒนาการรับร้เู ชงิ ปรภิ ูมิ
ดา้ นการรับรเู้ กี่ยวกบั ความสัมพนั ธ์เชิงปรภิ มู ิ (Perception of Spatial Relationship)
6633
ใบกจิ กรรม CHECK MATE
รูปร่างของคณุ
รปู รา่ งของคู่แข่ง
6644
กจิ กรรมท่ี 16 แบบแปลนสามมติ ิ
แผนของรปู สามมิติ หลัง
(มุมมองด้านบน)
ซา้ ย ขวา
หน้า
ตัวเลขแทน
จานวนลูกบาศก์
หนา้ ซา้ ย ขวา หลัง
แนวทางในการจดั กิจกรรม
1. ครูแจกใบกจิ กรรมแบบแปลนสามมิตใิ ห้นักเรียน
2. ครูให้นกั เรียนเขียนแผนขอรปู สามมติ ิที่กาหนดให้ ดงั รูปข้างต้น
3. ครใู ห้นกั เรียนวาดมุมมองทางซ้าย, ทางขวา, ด้านหนา้ และด้านหลัง ของรูปสามมิติท่ี
กาหนดมาให้
4. ครูใหน้ ักเรียนลองสรา้ งรปู สามมิตพิ ร้อมทง้ั เขียนแผนการสร้างและวาดมุมมองทางซา้ ย
ทางขวา, ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั
5. ครใู หน้ กั เรยี นนาเสนอรปู สามิติท่ีสร้างข้ึนมา
พฒั นาการรับรเู้ ชงิ ปริภูมิ
ดา้ นการรับรูเ้ กยี่ วกบั ตาแหน่งในมิติ (Position-in-Space Perception)
6655
ใบกจิ กรรมแบบแปลนสามมิติ 1
จงวาดมุมมองทางซ้าย, ทางขวา, ด้านหน้า และดา้ นหลงั ของรปู สามมิตทิ ี่กาหนดมาให้
6666
ใบกจิ กรรมแบบแปลนสามมิติ 2
จงวาดมมุ มองทางซา้ ย, ทางขวา, ด้านหน้า และดา้ นหลัง ของรปู สามมิติที่กาหนดมาให้
6677
ใบกจิ กรรมแบบแปลนสามมติ ิ 3
จงสรา้ งรปู สามมติ ิพร้อมทัง้ เขียนแผนการสรา้ งและวาดมุมมองทางซ้าย, ทางขวา, ด้านหน้า และดา้ นหลงั
6688
กิจกรรมที่ 17 นยิ ามยังไงให้ใช้เงื่อนไขน้อยท่ีสดุ
แนวทางในการจัดกิจกรรม
1. ครูใหน้ กั เรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 3 - 4 คน
2. ให้นักเรียนสรา้ งรายการคานิยามให้ไดเ้ งอื่ นไขน้อยท่สี ดุ สาหรับแตล่ ะรปู ร่าง
3. ครอู ธิบายเพิ่มเติมว่าถา้ มกี ารลบคุณสมบตั ิ 1 สมบตั ิออกจากรายการมนั จะไมเ่ ปน็ บท
นยิ ามอีกตอ่ ไป เชน่
สเ่ี หล่ยี มจตั ุรัส
(1) มีดา้ นสดี่ า้ นทย่ี าวเทา่ กนั
(2) มีมุมส่มี มุ เปน็ มมุ ฉาก
และอีกหน่งึ รายการสาหรับสี่เหล่ยี มจตั ุรสั
(1) มีดา้ นสี่ดา้ นที่มีความยาวเทา่ กัน
(2) เส้น ทแยงมมุ ตงั้ ฉากกัน
สาหรับรายการที่ 2 เป็นส่งิ ทา้ ทายให้กับนักเรียนท่ีพบมากกว่ารายการท่ี 1
4. แตล่ ะรายการไม่ควรจะมีตัวอยา่ งท่ีโตแ้ ย้ง เป็นรปู รา่ งอ่ืนๆ มากกวา่ หนึ่งรูปรา่ ง
5. ให้นกั เรียนและกลุ่มนาเสนอรายการท่ไี ด้จากการนิยามแต่ละรูปรา่ ง
พัฒนาการรับรู้เชิงปริภูมิ
ดา้ นความคงตัวในการรับรู้ (Perceptual Constancy)
6699
ใบกิจกรรมนยิ ามยงั ไงใหใ้ ช้เง่อื นไขนอ้ ยท่ีสดุ 1
จงสรา้ งรายการคานยิ ามให้ได้เง่อื นไขนอ้ ยที่สุดสาหรับรูปส่ีเหลี่ยมจตั ุรสั
ลาดบั ที่ รายการ
7700
ใบกิจกรรมนยิ ามยังไงให้ใชเ้ งื่อนไขนอ้ ยท่ีสุด 2
จงสร้างรายการคานยิ ามให้ได้เง่ือนไขน้อยท่สี ุดสาหรับรปู สีเ่ หลยี่ มมมุ ฉากหรือสี่เหลยี่ มผนื ผา้
ลาดับที่ รายการ
7711
ใบกิจกรรมนิยามยังไงให้ใช้เงอ่ื นไขนอ้ ยที่สุด 3
จงสรา้ งรายการคานิยามให้ได้เง่ือนไขน้อยท่สี ุดสาหรับรูปส่ีเหล่ียมด้านขนาน
ลาดับที่ รายการ
7722
ใบกิจกรรมนยิ ามยังไงให้ใช้เงอื่ นไขนอ้ ยท่ีสุด 4
จงสร้างรายการคานยิ ามให้ได้เงื่อนไขนอ้ ยที่สุดสาหรับรูปสามเหลยี่ มหน้าจั่ว
ลาดับที่ รายการ
7733
ใบกิจกรรมนิยามยังไงให้ใช้เง่อื นไขนอ้ ยท่ีสุด 5
จงสร้างรายการคานยิ ามให้ได้เงื่อนไขน้อยท่ีสุดสาหรับรปู สามเหลี่ยมมุมฉาก
ลาดบั ที่ รายการ
7744
กิจกรรมที่ 18 ปริศนาแทนแกรม
แนวทางในการจัดกจิ กรรม
1. ครูแจกใบกิจกรรมปริศนาแทนแกรม
2. ครกู าหนด ช้ินสว่ น แลว้ ใหน้ กั เรยี นนาไปสรา้ งรูปทก่ี าหนด ในใบกิจกรรมปรศิ นาแทนแกรม 1
3. ครูให้นักเรียนใชช้ น้ิ ส่วนแทนแกรมในการสรา้ งรูปต่างท่ีกาหนดให้ในใบกจิ กรรมที่ 2 - 5
3. ครูใหน้ ักเรยี นอธิบายวา่ ใช้ชน้ิ ส่วนใดบา้ งในการสร้างรูปนน้ั ๆขน้ึ มา
พฒั นาการรับรู้เชิงปรภิ มู ิ
ดา้ นการรับรูเ้ กี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์เชงิ ปรภิ มู ิ (Perception of Spatial Relationship)
7755
ชนิ้ สว่ นแทนแกรม
7766
ใบกจิ กรรมปริศนาแทนแกรม 1
จงใช้ช้ินส่วนแทนแกรมต่อไปน้ใี ห้สร้างรปู ภาพท่ีกาหนด
ใช้
สร้าง
7777
ใบกจิ กรรมปรศิ นาแทนแกรม 2
จงใช้ช้นิ ส่วนแทนแกรม 3 ชน้ิ เพื่อสร้างรปู ภาพที่กาหนด
7788
ใบกจิ กรรมปริศนาแทนแกรม 3
จงใชช้ นิ้ สว่ นแทนแกรม 4 ชิน้ เพ่อื สร้างรูปภาพท่ีกาหนด
7799
ใบกจิ กรรมปริศนาแทนแกรม 4
จงใช้ช้นิ ส่วนแทนแกรม 4 ชิ้นเพื่อสรา้ งรูปภาพที่กาหนด
8800
ใบกจิ กรรมปรศิ นาแทนแกรม 5
จงใช้ช้นิ ส่วนแทนแกรม 7 ชิน้ เพอื่ สรา้ งรูปภาพท่ีกาหนด
8811
กิจกรรมท่ี 19 “จากันได้ไหม”
การจัดกิจกรรม
1. ครูแจกใบกิจกรรมแนวเดนิ
2. ครูเลือกภาพต้นแบบมา 1 ภาพพร้อมแสดงภาพต้นแบบนน้ั ให้นกั เรยี นดูเปน็ เวลา
ประมาณ 5 วินาที
3. ให้นักเรียนพยายามวาดตามด้วยตนเอง
4. ครแู สดงรูปภาพรปู เดมิ อกี ครง้ั ในเวลาทีน่ อ้ ยลงและสามารถใหน้ กั เรียนแกไ้ ขภาพวาดได้
5. ทาแบบเดิมอกี คร้ัง โดยการเพมิ่ จานวนรปู ภาพจาก 1 รูป เปน็ 2 รปู หรอื 3 รูป
6. ขอใหอ้ ธิบายวา่ นักเรยี นคิดอย่างไรเกี่ยวกับรปู ภาพหรือให้ยกตัวอย่างลักษณะของรปู ท่ี
ชว่ ยให้นกั เรียนจดจาส่ิงทีน่ ักเรียนเห็น
พฒั นาการรับรูเ้ ชงิ ปริภูมิ
ดา้ นความทรงจาเกย่ี วกับสิ่งท่ไี ด้เห็น (Visual Memory)
8822
ภาพต้นแบบ
8833
ใบกจิ กรรม จากันไดไ้ หม
จงวาดภาพท่ีเหน็
จงวาดภาพท่เี หน็
8844
กิจกรรมท่ี 20 แนวเดิน
การจดั กจิ กรรม
1. ครแู จกใบกจิ กรรมแนวเดนิ
2. ครูใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมายสองจุดทแี่ ตกตา่ งกัน คือ จุด F และจดุ G บน 2 - Centimeter
ดังรปู แนวเดิน “ขนึ้ ไป 4 หบนรร่วณยแาลนะุกไรปมทางขวา 4 หนว่ ย”
3. ครยู กตัวอยา่ งแนวเดิน
4. ครูใหน้ ักเรียนหาแนวเดนิ ท่ีส้ันทส่ี ุดทตี่ า่ งออกไปเชน่ ไปทางขวา 2 หน่วย, ขนึ้ ไป 2 หน่วย,
ไปทางขวา 2 หนว่ ย, ข้ึนไป 2 หน่วย
5. ครใู ห้นักเรยี นหาแนวเดินคู่อ่ืนๆ โดย ใชส้ ขี องแนวเดินแต่ละอันแตกตา่ งกัน
6. ให้นกั เรียนอธบิ ายแนวเดนิ ของค่อู ่นื ๆพร้อมบอกพกิ ดั แต่ละจดุ ของแนวเดนิ ด้วย
พัฒนาการรับรู้เชิงปรภิ มู ิ
ดา้ นการรบั รเู้ กีย่ วกบั ความสมั พนั ธ์เชิงปริภมู ิ (Perception of Spatial Relationship)
8855
ใบกจิ กรรมแนวเดิน 1
จงหาแนวเดนิ ทส่ี นั้ ทีส่ ุดจากจุด F ไปยงั จุด G พร้อมทงั้ วาดเสน้ ลงบนกราฟโดยใช้สีของแนวเดินแต่ละแนวเดิน
ด้วยสีทีแ่ ตกตา่ งกนั พร้อมทัง้ บอกพิกัดแตล่ ะจดุ ของแนวเดนิ
แนวเดนิ ที่ 1
พกิ ัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดินท่ี 2
พิกดั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดินที่ 3
พกิ ัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ท่ี 4
พิกดั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8866
ใบกิจกรรมแนวเดนิ 2
จงหาแนวเดินท่ีส้นั ที่สดุ จากจุด A ไปยังจดุ B พร้อมทั้งวาดเสน้ ลงบนกราฟโดยใช้สขี องแนวเดินแตล่ ะแนวเดนิ
ดว้ ยสที ีแ่ ตกต่างกนั พร้อมท้งั บอกพิกดั แตล่ ะจุดของแนวเดนิ
แนวเดนิ ท่ี 1
พิกดั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ท่ี 2
พิกัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ท่ี 3
พิกดั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ที่ 4
พิกดั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8877
ใบกิจกรรมแนวเดนิ 3
จงหาแนวเดนิ ทีส่ ั้นที่สดุ จากจุด D ไปยังจดุ C พร้อมท้ังวาดเส้นลงบนกราฟโดยใชส้ ขี องแนวเดินแต่ละแนวเดนิ
ดว้ ยสที ่แี ตกตา่ งกันพร้อมทั้งบอกพิกัดแต่ละจดุ ของแนวเดิน
แนวเดินที่ 1
พิกัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ท่ี 2
พกิ ดั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ท่ี 3
พกิ ดั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ท่ี 4
พกิ ัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8888
ใบกิจกรรมแนวเดิน 4
จงหาแนวเดนิ ท่สี น้ั ที่สดุ จากจุด E ไปยังจุด C พรอ้ มทงั้ วาดเสน้ ลงบนกราฟโดยใชส้ ขี องแนวเดนิ แต่ละแนว
เดนิ ดว้ ยสที ี่แตกต่างกันพร้อมทั้งบอกพิกัดแต่ละจุดของแนวเดิน
แนวเดนิ ท่ี 1
พกิ ัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดนิ ท่ี 2
พิกัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดินท่ี 3
พิกัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวเดินท่ี 4
พกิ ัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8899
บรรณานกุ รม
Shaw, M. (1990). Spatial Sense. Arithmetic Teacher, 37(6) , 4 – 5.
Shaw, Jean M. (1990). Spatial Orien Skill and Mathematical Ploblem Solving. Long
Beach: California State University.
Juanita V. (2000). Geometry and Spatial Sense in the Early Childhood Curriculum.
ธิดารัตน์ ลือโลก. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ือง
ภาคตัดกรวยเพ่ือส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถเชิงปริภูมิของนักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4. วารสารมหาวทิ ยาลัยศรีนครทิ รวโิ รฒ (สาขาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย)ี .
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). ความรู้สึกเชิงปริภูมิ. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ: เอส. พี. เอ็น. การพมิ พ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). เรขาคณิตและความรู้สึกเชิงปริภูมิ.
พิมพค์ รงั้ ท่ี 1. กรุงเทพฯ: เอส. พี. เอน็ . การพมิ พ์
Ontario Education. (2005). Geometry and Spatial Sense, Grades 3. Ontario: Queen’s Printer.
Ontario. (2008). Geometry and Spatial Sense, Grades 4 to 6. Ontario: Queen’s Printer.
Jo, Anne Lake. (2009). Math Memories You Count On A Literature-bases Approach to
Teaching Mathematics in the primary classroom. Pembroke Publishers.
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). ครูคณติ ศาสตรม์ ืออาชีพเสน้ ทางสู่ ความสาเร็จ.
กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยูเคชน่ั .
อศั วรักษ์ ช่างอินทร์. (2559). การสง่ เสริมความรูส้ ึกเชงิ ปริภูมิและการคดิ ทางเรขาคณติ เรื่อง ความสัมพันธ์
ระหวา่ งรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมติ ิ ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้แนวการสอนของ
แวน ฮลี ี รว่ มกบั โปรแกรมจีโอมเิ ตอรส์ เก็ตชแพด. ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต(คณิตศาสตร์ศึกษา).
มหาวิทยาลัยเชงิ ใหม่.
จุฑาทิพย์ หลักคาพันธ์. (2561). การศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ท่ีมรี ะดับความรสู้ ึกเชงิ ปรภิ มู ิแตกต่างกนั โรงเรยี นวาปีปทมุ
อาเภอวาปปี ทมุ จังหวัดมหาสารคาม. ปริญญาครศุ าสตรม์ หาบณั ฑิต(คณติ สาสตรศ์ ึกษา).
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม.
9900
91