ใบความรู้ เรื่อง การหกั แหของคลน่ื
เม่ือคล่ืนเคลื่อนท่ีผ่านตัวกลางต่างชนิด กัน จะทาใ ห้
ความเรว็ ของคล่ืนและความยาวคลื่นเปล่ียนแต่ความถ่ีคงเดิม จาก
การทดลองของคล่ืนน้า พบว่าเมื่อให้คลื่นเคล่ือนท่ีในทิศไม่ต้ัง
ฉากกับรอยต่อของตัวกลางพบว่านอกจากความเร็วของคลื่นและ
ความยาวคล่ืนเปล่ียนแปลงแล้ว ทิศทางการเคล่ือนที่ของคล่ืนยัง
เปลี่ยนแปลงด้วย เราเรียกปรากฏการณ์ที่คล่ืนเคลื่อนที่ผ่าน
รอยต่อระหว่างตัวกลางท่ีมีสมบัติต่างกัน แล้วทาให้ทิศทางการ
เคล่ือนท่ีของคล่ืนเปลี่ยนไปเช่นน้ีว่า“การหักเห” (refraction) ดัง
รูป
รูปท่ี 1 คลน่ื ผวิ นา้ เคลือ่ นที่จากบริเวณนา้ ลึกเขา้ ไปใน รูปท่ี 2 การ
หกั เหเมอ่ื หนา้ คลื่นตกกระทบไม่ ต้ัง
บรเิ วณน้าตนื้ โดยหนา้ คลื่นตกกระทบขนาน
ฉากกบั ผิวรอยต่อกับรอยต่อ
จากรปู ท่ี 1 และ 2 เมอ่ื คล่นื เคลอ่ื นท่ีจากบรเิ วณนา้ ลึกไปยัง
บรเิ วณนา้ ตน้ื พบว่าระยะหา่ งระหว่างหน้าคลื่น () ในบรเิ วณน้า
ลึกมีค่ามากกว่าระยะห่างระหว่างหน้าคล่นื () ในบริเวณน้าตน้ื
แตค่ วามถี่( f)ของคลน่ื ผิวนา้ ในบริเวณทั้งสองคงเดมิ เนอื่ งจาก
ความถี่( f ) ของคลน่ื ผวิ น้าขึ้นอยู่กับความถ่ีของแหลง่ กาเนดิ
ดงั นั้นความเร็วของคล่ืนในบรเิ วณนา้ ลกึ (v ลกึ ) จะมีคา่ มากกวา่
ความเร็วของคล่ืนในบรเิ วณน้าต้ืน (vตื้น) เพราะ v = f สรปุ ได้วา่
ในน้าลึก v , มากกวา่ ในนา้ ตื้น
สงั เกตรปู ต่อไปนี้… บริเวณน้าลึก
ทศิ การเคลอื่ นท่ี
ค1วามยาวคลื่นเปลี่ยนเมื่อผา่ นน้าต้ืน
และ
(ความถ่ี f ) 2 แสดงว่าเมื่อคล่ืนตรงตกต้งั ฉากจะไม่
บริเวณนา้ ต้ืน เปล่ียนทิศทาง
รูปที่ 3 แสดงความยาวคลื่นและทิศการเคลื่อนท่ีของคลื่นเม่ือเกิดการหกั เหเมื่อคล่ืนตรงตกต้งั
ฉาก 2.
ทิศทางเคลื่อนที่ บรเิ วณน้าลึก
ผวิ รอยตอ่ คน1้วาตาม้ืนยเาพวรคาละื่นคลใ่ืนนนน้้าาเลคึกลจ่ือะนยทา่ีใวนกนว้่าาลในึก
ไดเ้ ร็วกว่าในน้าต้ืนและจากภาพเมื่อ
คลื่นตกไม่ต้งั ฉ2ากกบั ระนาบ(เส้นแบ่ง
เขตน้ าลึกและน้ าต้ืน)จะมีการเปล่ียน
บรเิ วณน้าตทนื้ ิศทางการเคลื่อนที่
รูปที่ 4 แสดงความยาวคลื่นและทศิ การเคลื่อนทข่ี องคลื่นหักเห
บรเิ วณรอยต่อทไี่ ม่ตัง้ ฉาก
จากภาพขา้ งตน้ จะเห็นว่า อตั ราเรว็ คล่ืนบริเวณนา้ ลึกจะเรว็ กว่า
อัตราเรว็ คลืน่ บริเวณน้าตืน้
ให้ v = อัตราเรว็ คล่ืน
H = ความลกึ
จะไดค้ วามสัมพนั ธ์ระหว่าง v และ H ดังน้ี…
v = gH
เม่อื g = อตั ราเรง่ เนื่องจากแรงโนม้ ถ่วงของโลก =
9.8 m/s 2
พจิ ารณาการหกั เหของคลน่ื นา้ ทร่ี อยตอ่ ของนา้ ลกึ กบั นา้ ตน้ื
จากการทดลองเม่ือคลน่ื น้าหน้าตรงเคลอื่ นทีจ่ ากบรเิ วณน้า
ลกึ ไปสบู่ รเิ วณน้าต้ืนในทศิ ทางทามุมตกกระทบ 1 กับเส้นแนว
ฉาก ณ ตาแหน่งรอยต่อระหว่างน้าลกึ (ตวั กลางที่ 1) กับน้าต้ืน
(ตัวกลางท่ี 2 ) จะเกดิ การหกั เหทาให้ทศิ ทางคลน่ื หักเหทามมุ หัก
เห2 กบั เส้นแนวฉาก ดงั รูป
รปู ที่ 5 แสดงมุมตกกระทบ(1) และมมุ หกั เห(2)
จากรูปท่ี 5 ระยะ BC เป็นความยาวคล่นื ในเขตน้าลกึ 1
ระยะ AD เป็นความยาวคลื่นในเขตน้าต้ืน 2
จาก ABC และ ABD
จะได้วา่ … sin1 = BC , Sin 2
AB
= AD
AB
ดังนั้น sin 1 BC AB BC
sin 2 AB AD AD
นัน่ กค็ ือ sin 1 1
sin 2 2
…….. ( 1 )
ถา้ ให้ v1 เปน็ อตั ราเรว็ ของคลน่ื ในน้าลกึ
v2 เปน็ อัตราเรว็ คล่ืนในน้าตนื้
และกาหนดให้ความถ่ีในน้าลึกมีค่าเท่ากบั ความถี่
ในน้าตื้น
จะไดว้ ่า v 1 1f จะได้ v 1 1
…….. ( 2 ) v 2 2f v 2 2
จากสมการ (1) และ ( 2 ) จะได้ว่า…
sin1 = v1
……… (3)
sin2 v2
จากสมการที่ 3 พบว่าเมื่อคล่ืนมีการหักเห อัตราส่วนของค่า
sine ของมุมตกกระทบกับค่า sine ของมุมหักเหจะมีค่าเท่ากับ
อัตราส่วนระหว่างอัตราเร็วของคล่ืนในตัวกลางที่คล่ืนตกกระทบ
กับอตั ราเร็วของคลื่นในตัวกลางท่ีคลื่นหักเห ดังน้ันถ้าเป็นการหัก
เหของคล่ืนผวิ น้าโดยบรเิ วณสองบริเวณมีความลกึ ความต้ืนคงที่ค่า
v 1 จะมีค่าคงท่ี ซ่ึงจะได้ว่า sin 1 มีค่าคงที่ด้วย จาก
sin 2
v2
สมการ(1) และ (2) เขียนรวมกันได้ดงั น้ี…
sin 1 v 1 1
sin 2 v 2 2
………(4)
เมอื่ 1 , 2 คือความยาวคลื่นในตวั กลางที่ 1 และ 2
ตามลาดบั
v1 , v2 คืออัตราเร็วคลื่นในตวั กลางท่ี 1 และ 2
ตามลาดบั
1 คือมุมตกกระทบในตวั กลางท่ี 1
2 คือมุมหกั เหในตัวกลางท่ี 2
จากสมการที่ 4 สามารถสรปุ เปน็ “กฎการหกั เหของคลนื่ ” ไดว้ า่
1. ทศิ ทางของคล่ืนตกกระทบ เสน้ แนวฉากและทิศทางของ
คลื่นหกั เหอยู่ในระนาบเดียวกนั
2. อตั ราส่วนของคา่ sine ของมุมตกกระทบต่อค่า sine
ของมุมหกั เหสาหรับตวั กลางคหู่ น่งึ ๆ จะมีค่าคงท่เี สมอ
จากสมการที่ (4) จะเหน็ ว่า…ตวั กลางทีม่ ีอตั ราเร็วมากมมุ
จะมีค่ามากและตวั กลางที่มี
อตั ราเรว็ น้อยมมุ จะมคี ่าน้อย
รปู ที่ 6 แสดงการหักเหของคลน่ื ผวิ น้า
จากรูปอาจสรปุ ลักษณะของการหักเหของคล่ืนผวิ นา้ ไดว้ า่ …
1. คลืน่ เคล่ือนทจ่ี ากน้าตืน้ (v น้อย ,นอ้ ย) สู่น้าลกึ (v มาก
,มาก) ทศิ ทางคลื่นหกั เหจะเบนออกจากเสน้ แนวฉาก
2. คล่ืนเคลือ่ นทีจ่ ากน้าลกึ (v มาก ,มาก) ส่นู า้ ตนื้ (v น้อย
,นอ้ ย) ทิศทางคล่ืนหกั เหจะเบนเขา้ หาเสน้ แนวฉาก
กฎการหักเหซง่ึ เรียกอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ “กฎของสเนล” ซึง่
อตั ราส่วนของคา่ sine ของมุมตกกระทบในตวั กลางท่ี 1(1) ต่อ
คา่ sine ของมุมหกั เหในตัวกลางที่ 2 (2) จะมีคา่ คงที่เสมอ เรยี ก
อัตราสว่ นนี้ว่า… “ดัชนีหกั เหของตวั กลางที่ 2 เทยี บตวั อย่างท่ี 1
ใช้สัญลกั ษณ์แทนด้วย “ n”
n sin 1
sin 2
ดงั น้ันเราสามารถสรปุ เป็นสมการรวมได้ว่า…
n sin 1 v 1 1
sin 2 v 2 2
หมายเหตุ ค่าดชั นหี กั เห (n) จะต้องกาหนดว่าเปรียบเทียบกับ
ตัวกลางใด ดังน้นั การเขยี น
คา่ ดัชนี (n) จึงตอ้ งมอี ักษรกากบั ไว้เพื่อบ่งบอกค่าดัชนีหกั เห เชน่
AnB หมายถึง ดัชนีหักเหของตวั กลาง B เทียบกับ
ตวั กลาง A หรือคลื่นเคลอ่ื นที่จาก
ตัวกลาง A ไปสตู่ ัวกลาง B แล้วเกิดการหกั
เหในตัวกลาง B
1n2 หมายถึง ดัชนีหกั เหของตัวกลาง 2 เทียบ
ตวั กลาง 1