The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by malika02923, 2022-03-06 00:21:55

แผนกฎทรงมวล

แผนกฎทรงมวล

แผนการจัดการเรยี นรู้

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๕ ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชวี ิตประจำวนั เรอ่ื ง การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

ผ้สู อน : นางสาวมลั ลิกา เหลยชยั เวลา ๑ ชั่วโมง (1 คาบ)

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบัติ ของสสาร

กับโครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของ สสาร การ
เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
2. ตวั ชี้วดั

ตวั ช้ีวดั ว 2.3 ม.3/4 อธิบายกฎทรงมวล โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ

ตัวชวี้ ดั ว 2.3 ม.5/5 วิเคราะห์ปฏกิ ริ ิยาดดู ความร้อน และปฏกิ ิริยา คายความร้อน จากการ
เปลี่ยนแปลงพลงั งาน ความร้อนของปฏิกิรยิ า

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นกั เรยี นสามารถเขา้ ใจและอธิบายกฎทรงมวล โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษได้ (K)
2. นกั เรยี นสามารถอธิบายปฏิกิรยิ าดูดความร้อน และปฏิกริ ิยาคายความรอ้ น จากการเปลย่ี นแปลง
พลังงานความร้อนของปฏกิ ิริยาได้ (K)
3. นกั เรยี นมคี วามใฝ่เรยี นรู้ (A)
4. นกั เรยี นมุ่งมัน่ ในการทำงาน (A)
4. ทักษะ/กระบวนการ (P)
- ทกั ษะการสอ่ื สาร
- ทกั ษะการคิด

5. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
กฎทรงมวล คือ เม่ือเกดิ ปฏิกริ ิยา อะตอมของสารตง้ั ต้นจะมีการจดั เรียนตัวใหมไ่ ด้เป็นผลิตภณั ฑ์ โดย

ไมม่ ีอะตอมใดสูญหายหรือเกิดข้นึ ใหม่ ดงั นนั้ มวลรวมของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเทา่ กับมวลรวมของสาร

หลังเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

6. สาระการเรยี นรู้
กฎทรงมวล (Law of mass conservation)กฎทรงมวลเป็นกฎที่ใช้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมวลสาร

ก่อนเกดิ ปฏกิ ิริยา และมวลสารภายหลังเกดิ ปฏิกิรยิ า เม่ือปี ค.ศ. 1774 (พ.ศ. 2317) อองตวน - โลรอง ลาววั ซเิ ยร์
(Antoine - Lourent Lavoisier) นักเคมีชาวฝรั่งเศส ได้ทดลองเผาไหม้สารในหลอดปิด และพบว่ามวลของสาร
กอ่ นการเผาไหมเ้ ท่ากับมวลของสารภายหลังการเผาไหม้ ซงึ่ ตอ่ มาไดน้ ำมาสรุปเป็น “กฎทรงมวล” ดงั น้ี

“ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ มวลของสารทั้งหมดก่อนทำปฏิกิริยา จะเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังทำ
ปฏิกริ ยิ า”

มวลของสารก่อนทำปฏิกิริยา หมายถึง มวลของสารทั้งหมดตอนเริ่มต้นของปฏิกิริยา มวลของสาร
เหล่าน้ีอาจจะทำปฏิกิริยาพอดีกัน หรอื อาจจะมสี ารใดเหลืออย่กู ไ็ ด้

มวลของสารหลังทำปฏิกิริยา หมายถึง มวลของสารทั้งหมดหลังจากเกิดปฏิกิริยาแล้ว ทั้งมวลของ
ผลิตภัณฑ์ทง้ั หมด และมวลของสารตั้งตน้ ทีย่ งั เหลอื อยู่

ตัวอย่างเชน่
เมื่อผสมโพแทสเซียมไอโอไดด์ กับ เลด (II) ไนเตรต เข้าด้วยกัน จะพบว่ามีปฏิกิริยาเกิดขึ้น เกิด
ตะกอนของเลด (II) ไอโอไดด์ และอุณหภูมิของระบบเปลี่ยนแปลง เมื่อนำของผสมหลังปฏิกิริยาทั้งหมดไปช่ัง
พบว่ามวลเท่ากับมวลของโพแทสเซียมไอโอไดด์ กับ เลด(II) ไอโอไดด์ ก่อนผสมกัน แสดงว่ามวลของสารทั้งหมด
ก่อนและหลงั ทำปฏิกริ ิยาเท่ากนั เป็นไปตามกฎทรงมวล และเนอื่ งจากไม่มีการถ่ายเทมวล แต่มีการถ่ายเทพลังงาน
ระหวา่ งระบบกับส่ิงแวดลอ้ ม จงึ จดั วา่ เป็นระบบปิด

ปฏกิ ิรยิ าดูดความรอ้ น ( Endothermic reaction) เปน็ ปฏิกิรยิ าท่ดี ูดพลังงานเขา้ ไปสลายพนั ธะ
มากกว่าทค่ี ายออกมาเพื่อสรา้ งพันธะ โดยในปฏกิ ริ ิยาดูดความร้อนนีส้ ารตง้ั ต้นจะมีพลังงานตำ่ กว่าผลติ ภณั ฑ์ จึง
ทำใหส้ ง่ิ แวดลอ้ มเยน็ ลง อุณหภมู ิลดลง เมอื่ เอามือสัมผัสภาชนะจะรสู้ กึ เย็น

2. ปฏิกิริยาคายความร้อน ( Exothermic reaction) เป็นปฏิกิริยาท่ีดดู พลงั งานเข้าไปสลายพนั ธะน้อยกว่าท่ี
คายออกมาเพื่อสร้างพนั ธะ โดยในปฏกิ ริ ยิ าคายความร้อนนส้ี ารตง้ั ตน้ จะมีพลงั งานสงู กว่าผลติ ภัณฑ์ จึงให้
พลงั งานความร้อนออกมาส่สู ิ่งแวดลอ้ ม ทำให้อณุ หภูมสิ งู ข้ึน เม่ือเอามือสัมผสั ภาชนะจะรู้สึกรอ้ น

7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycles: 5Es)
(1 ช่วั โมง : 60นาท)ี

ขั้นที่ 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ ( Engagement) (5 นาท)ี
1. ครูและนกั เรยี นทบทวนความรู้เดมิ เร่ือง การเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี โดยยกตวั อย่างสมการเคมี ดังน้ี
กรดไฮโดรคลอริก + แคลเซยี มคาร์บอเนต แคลเซยี มคลอร์ไรด์ + น้ำ + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
2. ครตู ัง้ คำถามนกั เรียนดังนี้
- จากปฏิกริ ยิ าเคมีขา้ งต้นสารใดเปน็ สารตัง้ ต้น และสารใดเปน็ ผลิตภณั ฑ์ ?
(แนวคำตอบ กรดไฮโดรคลอริก และ แคลเซยี มคารบ์ อเนต เป็นสารตงั้ ต้น แคลเซียมคลอรไ์ รด์ ,นำ้ และแกส๊
คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ปน็ สารผลติ ภัณฑ์)
- นกั เรียนคดิ วา่ มวลรวมของสารก่อนเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมีจะเท่ากบั มวลรวมของสารหลังเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีหรือไม่ ?
ขนั้ ที่ 2 ขนั้ สำรวจและค้นหา( Exploration) (5 นาท)ี
1. นกั เรียนตอบคำถามครูจากสือ่ Power point เร่ืองปฏกิ ิริยาเคมรี ะหว่างกรดไฮโดรคอลริกและแคลเซียม
คาร์บอเนตในภาชนะปดิ และเปดิ
2. ครถู ามคำถามนักเรียน ดังต่อไปนี้
-จากภาพนักเรยี นสังเกตเห็นความแตกตา่ งอะไรบา้ ง ?
-ปฏิกริ ิยาเคมใี นภาชนะปิดและภาชนะเปน็ มีความแตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร ?
3.ขัน้ สรา้ งคำอธิบาย(Explanation) (30 นาที)
1.ครูและนกั เรยี นอภิปรายสรุปใจความสำคัญร่วมกนั รว่ มกันโดยใชส้ อ่ื Power point ในหัวขอ้ ดังต่อไปนี้

1.1 กฎทรงมวล
1.2 ปฏกิ ริ ิยาดูความร้อน
1.3 ปฏิกริ ิยาคายความร้อน

ขั้นท่4ี ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาที)

1. ครูตัง้ คำถามดงั น้ี

-เมอื่ ใช้มือสัมผสั ภาชนะท่ีมแี อมโมเนียมคอไรด์ผสมกบั ปนู ขาวจะรสู้ กึ เย็นนักเรียนคดิ วา่ ปฏกิ ริ ิยาท่เี กิดข้ึนเปน็
ปฏกิ ริ ิยาดดู หรอื คายความร้อนเพราะเหตุใด?

(แนวคำตอบ ปฏิกิรยิ าดดู ความร้อน)

ข้นั ที่ 5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (5 นาที)

- นกั เรยี นทำกจิ กรรมเรื่องปฏกิ ิริยาเคมรี อบตวั ผ่านใบงาน

- ครูและนกั เรียนอภปิ รายรว่ มกนั ในใบงาน เรื่องการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

8. คุณลกั ษณะผูเ้ รียน
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

9. ด้านสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3. ความสามารถในการสือ่ สาร

10. ภาระงาน
1. ใบงานเร่ือง การเกิดปฏิกิริยาเคมี

11. ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้
1. ส่ือ Power point วิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
2. หนังสอื เรียน รายวิชาพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 เล่ม 2

12. การวดั และการประเมนิ

สิ่งทตี่ ้องการวัด วธิ ีการวัดผล เครอื่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การ
ประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบงาน เร่อื ง ใบงานเรื่อง -เฉลยใบงาน เร่ือง ใบ รอ้ ยละ 70 ผา่ น

1. นกั เรยี นสามารถเขา้ ใจและ การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี งานเรื่องการเกิด เกณฑ์

อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้หลกั ฐาน ปฏิกิริยาเคมี

เชิงประจักษได้ (K)

2. นกั เรียนสามารถอธบิ าย

ปฏิกริ ยิ าดูดความร้อน และ

ปฏิกิรยิ าคายความร้อน จากการ

เปลย่ี นแปลงพลงั งานความรอ้ นของ

ปฏิกิรยิ าได้ (K)

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) -สังเกตจากพฤติกรรมในช้นั เรียน - แบบประเมนิ ทักษะ/ ร้อยละ 70 ผา่ น
ดา้ นคุณลักษณะ (A)
กระบวนการ เกณฑ์

-สงั เกตจากพฤตกิ รรมในชั้นเรยี น -แบบประเมนิ ร้อยละ 70 ผ่าน
คุณลักษณะอนั พงึ เกณฑ์
ประสงค์

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน - สังเกตพฤตกิ รรมในช้นั เรียน -แบบประเมิน รอ้ ยละ 70 ผา่ น
สมรรถนะสำคัญ เกณฑ์
รายบุคคล

บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการจดั การเรยี นรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หา/อปุ สรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางแก้ไข /แนวทางการพฒั นา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ครูผ้สู อน
ลงชือ่ ..................................................

(................................................)
ครผู สู้ อน

วันที่..................................


Click to View FlipBook Version