The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ อ่านป้ายได้่สาระ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thatchapongpat, 2022-05-31 23:22:55

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ อ่านป้ายได้่สาระ

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ อ่านป้ายได้่สาระ

แผนการจัดการเรยี นร้รู ายวชิ าภาษาไทย รหสั ท๑๖๑๐๑
ชดุ ภาษาเพอ่ื ชวี ิต (ภาษาพาท)ี

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอื่ งอา่ นปา้ ยไดส้ าระ
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

ของ
นายธัชพงศพ์ ัชร์ พนั ธแ์ุ กว้ ตาแหนง่ ครชู านาญการ

โรงเรยี น บา้ นแมต่ ะละเหนือ
อาเภอ กัลยาณวิ ฒั นา จงั หวดั เชียงใหม่

สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๖
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนการจัดการเรยี นรูท ี่ ๑

กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๓ เรอ่ื ง อานปายไดสาระ เวลา ๘ ช่ัวโมง

เรื่อง อา น เขียน คําควรรคู คู วามหมาย เวลา ๑ ช่ัวโมง

.....................................................................................

สาระสาํ คญั

การอาน และการเขียนคําควรรคู ูความหมาย จะชวยใหการอานเร่ืองราวในบทเรียนเขาใจไดงาย และ

สามารถพฒั นาทกั ษะทางภาษาไดดี

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรา งความรูและความคดิ เพื่อนาํ ไปตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตและ

มนี ิสยั รกั การอาน

ตวั ช้ีวัด
ป.๖/๒ อธบิ ายความหมายของคํา ประโยคและขอความท่ีเปนโวหาร

จุดประสงค
๑. นกั เรียนอา นคําศพั ทยากไดถูกตอ ง
๒. นกั เรียนบอกความหมายของคําในบทเรียนได
๓. นักเรยี นใชคําไดถูกตองตามบรบิ ท

สมรรถนะสําคัญของผูเ รยี น
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ

คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเ รียนรู
๓. มจี ติ สาธารณะ
๔. มวี นิ ัย
๕. อยูอ ยา งพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
- ความหมายของคํา
- การใชคาํ

กระบวนการจัดการเรียนรู
๑. ครูติดแผนภูมิบทรอ ยกรองเกย่ี วกบั ภาษาบนกระดานดาํ ดังน้ี

ใครเลา จักโอบเอือ้ เกอ้ื กลู รัก เรม่ิ ตนถักทอฝน ใครกนั หนอ
รักของแมล น ปร่ีมีเพยี งพอ รักแมกอ กาํ แพงกั้นปองกนั ภยั
เชอ่ื มกระแสรกั มัน่ ไมห วนั่ ไหว
หยบิ มะลิกราบลงตรงตกั แม เชอ่ื มสายใยผูกพัน...นิรนั ดร
มือตอ มือส่อื กนั หนอใจตอใจ
ราณี สระบัว....ประพันธ

๒. นกั เรยี นอานพรอ มกัน จากนนั้ แบงกลุมออกเปน กลุมละ ๔ – ๕ คน รวมกันสนทนาถึงความหมาย
ครตู ้งั คําถามใหแตล ะกลมุ ชวยกันตอบดังนี้

 บทรอ ยกรองนมี้ งุ เนน ส่ิงใด
 วรรคใดท่กี อใหเ กิดความซาบซ้ึงใจมากทสี่ ดุ เพราะเหตุใด
 บทรอ ยกรองนีน้ า จะกลาวในวนั ใด
๓. ใหแตล ะกลมุ ชวยกันสรุปความหมายของบทรอยกรอง แลว สง ตัวแทนออกมารายงานท่ีหนาช้ันเรียน
ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ ในสว นทีบ่ กพรอ ง
๔. ครูใหนกั เรียนอานบัตรคาํ ดงั นี้ “กระหึ่ม เกษตรทฤษฎใี หม เกษยี ณอายุราชการ คํานึง คางคาใจ
บริษทั ประชาสมั พนั ธ พฤติกรรม มหกรรม ยานยนต รว มสมัย รหสั ละลานตา สติ๊กเกอร สมรรถนะ หลุด
โลก โหม ฯลฯ” ใหน กั เรียนแตละกลุมชวยกันอธิบายความหมายของคาํ เหลา นี้ โดยคน จากพจนานุกรม แลว ทกุ
คนคัดลอกลงในสมดุ
๕. นกั เรียนทาํ แบบฝกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอ่ื ชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาป
ท่ี ๖ บอกความหมาย อธิบายและฝกใชคํา หนา ๒๒ จากนั้นนําสงครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอง ครู
เนน ใหนกั เรียนมคี วามขยันหม่นั เพียร ซือ่ สตั ย และตรงตอเวลา
๖. นักเรยี นทําแบบฝก ทักษะรายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ติ ภาษาพาที ช้ันประถมศึกษา
ปที่ ๖ เขยี นคําอานและนําคํามาแตงประโยค เสร็จแลวนําสงครูตรวจสอบความถูกตองและอานประโยคท่ี
ตนเองแตง ใหเ พ่อื นฟง เพือ่ นๆ ชวยกนั วิเคราะหความถกู ตอง

สอ่ื / แหลง เรยี นรู
๑. บัตรคาํ
๒. หนังสอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอ่ื ชวี ติ ภาษาพาที ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖
๓. แบบฝกหัด รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่ือชวี ติ ทักษะภาษา ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖

การวดั ผลและประเมินผล
๑) วธิ ปี ระเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจแบบฝกหัด
๒) เคร่อื งมือประเมนิ
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- ทาํ แบบฝก หดั
๓) เกณฑก ารประเมนิ
- นักเรียนผา นเกณฑการสังเกตพฤตกิ รรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐
- นกั เรยี นผา นเกณฑการทาํ แบบฝก หดั รอยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๒

กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๓ เรือ่ ง อา นปายไดส าระ เวลา ๘ ช่ัวโมง

เรื่อง การอานออกเสียง เวลา ๑ ชัว่ โมง

.....................................................................................

สาระสาํ คัญ

การอานออกเสียง เปน การอา นใหผ อู นื่ ฟง ฉะนน้ั ผูอานจะตอ งแบงวรรคตอน เนน เสยี งหนกั เบา และออก

เสยี งใหถ ูกตอ งชัดเจน จึงจะส่ือความหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรา งความรูและความคิดเพ่ือนําไปตัดสนิ ใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตและ

มนี สิ ยั รกั การอา น

ตวั ชว้ี ดั
ป.๖/๑ อา นออกเสียงบทรอ ยแกว และบทรอยกรองได

จดุ ประสงค
๑. นกั เรียนอานออกเสยี งเนือ้ หาในบทเรียนได
๒. นกั เรียนจับใจความเรือ่ งทอี่ านได
๓. นกั เรยี นตอบคาํ ถามเร่อื งที่อา นได

สมรรถนะสําคญั ของผูเรียน
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
๑. รกั ความเปน ไทย
๒. ใฝเ รยี นรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มวี นิ ัย
๕. อยูอยางพอเพียง

สาระการเรยี นรู
- การอานออกเสียง
- การจับใจความสาํ คญั
- การตอบคาํ ถาม

กระบวนการจดั การเรยี นรู
๑. ครใู หนักเรียนชวยกันบอกหลักเกณฑการอานออกเสียงที่ดี เชน อานคลอง อานถูกตอง ชัดเจน

เวนวรรคตอนถูกตอง ใชน ้ําเสียงสอดคลองกบั อารมณข องตัวละคร เปนตน
๒. ครูสาธิตการอา นทดี่ ใี หนกั เรียนฟง หรอื ใหนักเรยี นฟงจากเคร่ืองบันทึกเสียงก็ได เพื่อเปนแนวทางใน

การอา นของนกั เรยี น
๓. นักเรียนอานเนื้อหาในหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุดภาษาเพ่ือชีวิต ภาษาพาที ชั้น

ประถมศึกษาปท ่ี ๖ หนา ๓๘ – ๔๒ โดยอานตอ กนั คนละ ๑ ยอ หนา แลว รว มกันสนทนาถงึ เนอื้ หาวา ใคร ทํา
อะไร ที่ไหน ผลเปน อยา งไร แลว ชวยกนั เลา เรือ่ งตอ เนื่องจนจบ โดยครูชว ยเพิม่ เตมิ สว นทบี่ กพรอง

๔. นักเรียนชวยกันสรปุ ความรเู รอ่ื งการอานออกเสียงและการตอบคาํ ถามและขอ คดิ ทไี่ ดจ ากบทอา น
๕. นักเรียนทาํ แบบฝก หดั รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชวี ิต ทกั ษะภาษา ช้ันประถมศึกษาป
ที่ ๖ หนา ๒๑ – ๒๒

สอ่ื / แหลงเรียนรู
๑. หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชวี ิต ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖
๒. แบบฝกหดั รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่อื ชวี ติ ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑) วธิ ปี ระเมิน
- สงั เกตพฤติกรรม
- ตรวจแบบฝก หัด
๒) เครอ่ื งมือประเมิน
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- ทาํ แบบฝกหดั
๓) เกณฑการประเมิน
- นักเรียนผา นเกณฑการสังเกตพฤติกรรม รอยละ ๗๕ – ๘๐
- นกั เรยี นผานเกณฑก ารทําแบบฝกหดั รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี ๓

กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖

หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๓ เร่อื ง อา นปา ยไดส าระ เวลา ๘ ช่วั โมง

เร่ือง การอา นคิด วเิ คราะห เวลา ๑ ช่วั โมง

.....................................................................................

สาระสําคัญ

การวิเคราะหเร่ือง เปนการพจิ ารณาสวนตางๆ ของเรอ่ื ง เชน ขอเท็จจริงและขอคิดเห็น สวนดีและสวน

บกพรองของเน้ือเรื่อง จุดประสงคของผแู ตง ความเหมาะสมในการใชคํา ประโยค ขอความ ฯลฯ สรุปขอคิดท่ีได

จากเร่อื ง สามารถนําความรูท่ีไดรับไปใชป ระโยชนใ นชีวิตประจาํ วนั

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอา นสรางความรูแ ละความคิดเพอื่ นําไปตดั สนิ ใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตและ

มีนิสยั รักการอา น

ตัวช้วี ัด
ป.๖/๔ แยกขอเทจ็ จริงและขอคดิ เหน็ จากเรื่องทอ่ี า น

จุดประสงค
๑. นกั เรยี นต้งั คาํ ถาม – ตอบคาํ ถามเรือ่ งทอี่ านได
๒. นกั เรยี นแยกขอเท็จจริงและขอ คิดเห็นจากเร่อื งทอ่ี านได
๓. นักเรยี นสรุปขอ คดิ ทีไ่ ดจากการอานได

สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวติ

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค
๑. รกั ความเปน ไทย
๒. ใฝเ รยี นรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มวี ินัย
๕. อยอู ยางพอเพยี ง

สาระการเรียนรู
๑. การต้งั คําถามและตอบคําถาม
๒. การแยกขอ เท็จจริงและขอคิดเหน็

กระบวนการจดั การเรียนรู
๑. ใหนักเรียนแตล ะกลมุ อานในใจเน้อื หาบทเรยี น จากหนงั สือภาษาไทยชดุ ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษา

ปท ่ี ๖ บทที่ ๓ “อา นปายไดส าระ” จากหนา ๓๘ ถงึ หนา ๔๒ อกี คร้ัง จากนั้นใหแตละกลุมต้ังคําถามใหกลุมอ่ืน
ตอบ กลุม ละ ๒ คาํ ถาม

๒. ครูตัง้ คาํ ถามตอไปนใี้ หน กั เรยี นแตละกลมุ ตอบ
 บทเรยี นนี้ตัง้ ชือ่ วา “อานปายไดส าระ” เพราะเหตุใด
 ตัวละครสําคญั ในเรอ่ื งนม้ี ีใครบา ง
 สถานที่ใดบางทีก่ ลา วถึง
 ทําไมครอบครัวน้ีจึงไปดงู านแสดงมหกรรมยานยนต
 นกั เรยี นคิดวา ปายขา งทางมีประโยชนอยางไรบา ง

๓. ใหแตละกลุมชวยกนั เขียนคําตอบลงในแผน กระดาษ จากน้ันสงตัวแทนออกมาอานคําตอบที่หนาชั้น
เรียน ครชู มเชยกลมุ ท่ีตอบไดดี

๔. รว มกนั สนทนาถงึ เน้อื หาของเร่ือง “อานปายไดสาระ” ครูซกั ถามนักเรียนวา นักเรียนไดอะไรบางจาก
การอานเร่อื งน้ี

๕. นักเรยี นทาํ แบบฝก ทักษะตอบคาํ ถามจากเร่ืองท่ีอาน เสร็จแลวครเู ฉลยและนาํ สงครูตรวจสอบความ
ถูกตอ ง

๖. นักเรียนทําแบบฝกทักษะบอกสิ่งที่ไดจากการอานเร่ือง “อานปายไดสาระ” ถาไมเสร็จไปทําเปน
การบาน ครูเนนใหนักเรียนใชกระดาษสมุดใหคุมคาโดยเขียนทุกบรรทัด และรักษาความสะอาด ทํางานให
เรยี บรอ ย

ส่อื / แหลง เรียนรู
๑. หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอ่ื ชวี ิต ภาษาพาที ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖
๒. แบบฝกหัด รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพอื่ ชวี ิต ทกั ษะภาษา ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖

การวัดผลและประเมินผล
๑) วิธีประเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจแบบฝกหดั
๒) เครื่องมอื ประเมิน
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- ทาํ แบบฝก หัด
๓) เกณฑการประเมนิ
- นกั เรยี นผา นเกณฑการสังเกตพฤตกิ รรม รอยละ ๗๕ – ๘๐
- นักเรยี นผา นเกณฑก ารทาํ แบบฝก หัด รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๔

กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๖

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๓ เรอื่ ง อา นปายไดสาระ เวลา ๘ ชั่วโมง

เรื่อง การอา นเสรมิ บทเรียน เวลา ๑ ชัว่ โมง

.....................................................................................

สาระสาํ คญั

การอานเสรมิ บทเรยี น ทําใหผ ูอ านไดรบั ความรู ความบนั เทงิ และขอ คิดจากการอาน และสามารถเลือก

หนงั สืออา นไดตรงตามความตองการ นอกจากน้ีท่ีสําคัญ คือสามารถนําความรูท่ีไดรับจากการอานมาปรับใชให

เปน ประโยชนในชวี ิตประจําวันได

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอา นสรา งความรูและความคิดเพือ่ นําไปตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิตและ

มนี ิสัยรกั การอา น

ตัวชวี้ ัด
ป.๖/๑ อา นออกเสียงบทรอยแกว และบทรอ ยกรองไดถ กู ตอง

จดุ ประสงค
๑. นักเรยี นอา นและจบั ใจความสําคัญของบทรอยกรองได
๒. นักเรียนคดิ วิเคราะหส รุปบทรอยกรองท่อี าน

สมรรถนะสําคัญของผูเ รยี น
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา
๔. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยอู ยางพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
- การอา นเสรมิ “เรื่องคาํ ไทย เกิดใหมเ ปน ธรรมดา”

กระบวนการจัดการเรียนรู
๑. ทบทวนเนือ้ หาท่ีเรียนในชว่ั โมงทีแ่ ลว ดวยการใหนักเรียนมารวมกนั ตรวจสอบแบบฝกทักษะและเฉลย

อีกคร้งั
๒. นักเรียนอานในใจบทอานเสริม “คําไทย เกิดใหมเปนธรรมดา” จากนั้นนักเรียนรวมกันอภิปราย

ซักถามเนอื้ หาสาระการเรยี นรู ครตู ั้งคาํ ถามใหน ักเรียนแตละกลุมชว ยกนั คดิ หาคาํ ตอบ ตัวอยา งเชน
 ปจ จบุ ัน คาํ ไทยมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา งไรบา ง
 คาํ ท่ีเกดิ ใหม เรียกวา อะไร
 นกั เรยี นรจู กั คําใดบา งทีเ่ คยใชในอดีต แตป จจบุ ันเลกิ ใชแ ลว
 คาํ วา “ก๊ิก” หมายความวา อยางไร
 คาํ ทม่ี ีความหมายวา “คนรกั ” ปจจุบนั มีคําวาอะไรบาง
 กลมุ ใดที่มอี ิทธิพลทาํ ใหภาษาไทยมกี ารเปลีย่ นแปลงมากท่สี ดุ

๓. นกั เรียนทกุ คนเขียนคําถามและคําตอบลงในสมุด นกั เรยี นและครชู วยกันสรปุ เนอื้ หาสาระการเรยี นรู
ทัง้ หมดอกี คร้งั หน่ึง

๔. นักเรยี นทําแบบฝกทักษะ เขียนคําในสมยั ปจ จบุ ันแทนคาํ ไทยโบราณ จากน้ันนําสงครู ครูเฉลยและ
ตรวจสอบความถูกตอ ง

๕. นักเรยี นทําแบบฝกทักษะเขยี นบรรยายรปู ภาพทก่ี าํ หนดใหเสรจ็ แลวนําสงครตู รวจสอบความถกู ตอง

สอ่ื / แหลง เรียนรู
๑. ตวั อยา งคาํ ท่ีเลิกใชแ ลว
๒. หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชวี ติ ภาษาพาที ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖
๓. แบบฝกหัด รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพอื่ ชวี ิต ทกั ษะภาษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

การวัดผลและประเมนิ ผล
๑) วิธปี ระเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจแบบฝก หัด
๒) เครือ่ งมือประเมนิ
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- ทาํ แบบฝกหดั
๓) เกณฑก ารประเมนิ
- นักเรยี นผานเกณฑก ารสงั เกตพฤติกรรม รอยละ ๗๕ – ๘๐
- นกั เรยี นผา นเกณฑก ารทําแบบฝก หดั รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๖

หนว ยการเรียนรูท่ี ๓ เรือ่ ง อานปายไดส าระ เวลา ๘ ช่วั โมง

เร่อื ง วลีหรือกลมุ คํา เวลา ๑ ชว่ั โมง

.....................................................................................

สาระสาํ คญั

กลุมคาํ หรือวลี คอื การนําคาํ มาเรียงกันตั้งแต ๒ คําขึ้นไป แตยังมีความหมายไมครบถวนสมบูรณอยาง

ประโยค ถา ผูเรียนมคี วามรคู วามเขา ใจแจม แจง ก็จะสามารถนําไปใชไดอ ยา งถูกตอง

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปน สมบัติของชาติ

ตัวชีว้ ดั
ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค

จุดประสงค
๑. นกั เรียนออกบอกความหมายของกลมุ คําหรอื วลไี ด
๒. นักเรียนบอกชนิดของวลไี ด
๓. นกั เรยี นใชก ลุม คําหรอื วลีไดถูกตอ งเหมาะสม

สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มวี นิ ยั
๕. อยูอยางพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
- กลมุ คําหรอื วลี

กระบวนการจัดการเรียนรู
๑. นกั เรียนแบงกลมุ ออกเปน กลมุ ละ ๔ – ๕ คน แตล ะกลุมประกอบไปดวยนักเรียนที่มีระดับปญญา

สูง กลาง และต่าํ ใหแตละกลมุ เลือกหวั หนากลุม รองหวั หนากลุม และเลขานุการกลุม
๒. นักเรียนศึกษาเนื้อหาเกย่ี วกับ กลมุ คาํ หรือวลี จากนั้นใหนกั เรยี น ๓ – ๕ คน ต้งั คาํ ถามใหเพอื่ นตอบ
๓. ใหน กั เรียนแตล ะกลมุ หากลุมคําหรอื วลีตามหัวขอทีค่ รูกําหนดให เชน ครูกําหนดชนิดของวลีใหแต

ละกลุมเขียน ๕ ชนิด กลุมใดเสร็จกอนและถูกตองถือวาเปนผูชนะ จากน้ันนักเรียนและครูรวมกันสรุปเน้ือหา
เกี่ยวกับกลุม คาํ หรอื วลี จากขอความท่อี าน ใหค รอบคลุมประเดน็ ตอ ไปน้ี

 ความหมายหรือคาํ จาํ กัดความ
 ตัวอยางคํา
 การนาํ ไปใชในชีวติ ประจําวนั
๔. นักเรียนทําแบบฝก หัด รายวชิ าพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่อื ชีวิต ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาป
ท่ี ๖ เรอื่ งแตงประโยคจากคาํ หรือกลมุ คาํ หนา ๒๕ จากน้นั นําสง ครู ครเู ฉลยและตรวจสอบความถูกตอ ง

ส่ือ / แหลง เรียนรู
๑. ตวั อยา งวลีหรือกลุมคํา
๒. หนังสอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพอ่ื ชวี ติ ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๖
๓. แบบฝก หดั รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพื่อชีวิต ทักษะภาษา ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑) วธิ ปี ระเมนิ
- สังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจแบบฝกหดั
๒) เคร่ืองมือประเมิน
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- ทําแบบฝก หดั
๓) เกณฑการประเมนิ
- นกั เรียนผานเกณฑก ารสังเกตพฤติกรรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐
- นักเรียนผา นเกณฑก ารทาํ แบบฝกหดั รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๖

กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรูท ่ี ๓ เรื่อง อานปา ยไดส าระ เวลา ๘ ชัว่ โมง

เรอ่ื ง ประโยค เวลา ๑ ชว่ั โมง

.....................................................................................

สาระสาํ คัญ

ประโยค หมายถงึ ถอยคําหลายคําท่ีนํามาเรยี งกันแลวเกดิ ใจความสมบรู ณ ซ่ึงประกอบดว ยภาคประธาน

และภาคแสดง ใชสือ่ สารกันไดท งั้ ภาษาเขียนและภาษาพูด แตการใชภาษาพูดในสถานการณตางๆ กัน อาจละ

เวน สวนหนงึ่ สวนใดได ในฐานท่เี ขา ใจกันระหวา งผูพดู และผูฟง

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปนสมบตั ขิ องชาติ

ตัวชี้วดั
ป.๖/๔ ระบลุ กั ษณะของประโยค

จดุ ประสงค
๑. นักเรียนบอกสวนประกอบของประโยคได
๒. นักเรยี นบอกชนดิ ของประโยคได
๓. นักเรียนเขียนประโยคไดถกู ตอง

สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
๑. รกั ความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มีวนิ ยั
๕. อยูอยา งพอเพยี ง

สาระการเรยี นรู
- สวนประกอบของประโยค
- ชนิดของประโยค

กระบวนการจัดการเรียนรู
๑. นักเรยี นเลน เกม “ใบคํา” โดยใหเพื่อนออกมาแสดงทาทางแลวบอกวากําลังทําอะไร แลวสนทนา

แลกเปล่ยี นเรียนรูรวมกัน ครูใหความรูเพ่ิมเติมแลวพูดโยงเขาสูสาระเรียนรู จากนั้นนักเรียนศึกษาหาความรู
เกีย่ วกับการแตง ประโยค ประโยคบอกชนิดตางๆ จากแหลง เรียนรตู า งๆ ใกลห องเรียน เชน หนังสือเกี่ยวกับหลัก
ภาษาไทยในมมุ ลายแทงแหง ขุมทรัพยหลังหอง สอบถามผูร ู เปนตน ทาํ ความเขา ใจใหชัดเจน จากน้ันอานเรื่อง
ประโยคชนิดตา งๆ จากในหนงั สือภาษาพาที เพือ่ ประกอบการศึกษา ทําความเขาใจ สรางองคความรูแลวสรุป
ความหมายของประโยค การเรยี งคําในประโยคชนดิ ตางๆ เปน ตน

๒. ใหน ักเรียนศกึ ษาเรอ่ื ง ประโยค จากหนงั สือเรียนภาษาพาที ชั้น ป.๖ หนา ๔๖ – ๔๗ ครูอธิบาย
เพมิ่ เตมิ เปดโอกาสใหน กั เรยี นซกั ถามปญ หาขอ สงสยั

๓. นักเรียนฝกแตง ประโยคปากเปลาตามที่ไดเรียนมา ซึ่งมีการเรียงลําดับนี้ ประธาน + กริยา หรือ
ประธาน + กริยา + กรรม คนละ ๑ ประโยค จากนน้ั ครอู ธิบายเพ่มิ เตมิ ความรู เร่ืององคประกอบของประโยค

๔. แบงกลมุ ตามความเหมาะสม แตล ะกลมุ แตงประโยคชนิดตางๆ กลุมละ ๓ – ๔ ประโยค แลวเขียน
บนกระดานดํา

๕. นักเรียนฝกแตงประโยคดวยปากเปลาเปนรายบุคคล โดยมคี รูคอยใหค าํ แนะนํา
๖. นักเรยี นทาํ แบบฝก หดั รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชวี ติ ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาป
ท่ี ๖ เร่อื งหนาทีข่ องคาํ ในประโยค หนา ๒๖ เสร็จแลวนําสงครู ครูเฉลยนักเรียนตรวจสอบและแกไขใหถูกตอง
ครแู ละนักเรยี นรว มกนั สรปุ เรอ่ื งประโยค

ส่อื / แหลงเรยี นรู
๑. เกมใบคํา
๒. หนงั สือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่ือชีวติ ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖
๓. แบบฝกหัด รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชีวติ ทักษะภาษา ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑) วธิ ีประเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจแบบฝกหดั
๒) เคร่อื งมือประเมิน
- แบบสงั เกตพฤติกรรม
- ทําแบบฝก หัด
๓) เกณฑการประเมนิ
- นักเรยี นผานเกณฑก ารสังเกตพฤติกรรม รอยละ ๗๕ – ๘๐
- นกั เรียนผา นเกณฑการทาํ แบบฝก หัด รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๗

กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖

หนวยการเรยี นรูท ่ี ๓ เรือ่ ง อานปายไดส าระ เวลา ๘ ชั่วโมง

เรอื่ ง ภาพูด ภาษาเขียน เวลา ๑ ชว่ั โมง

.....................................................................................

สาระสําคญั

“ภาษาพูด” หรือ “ภาษาปาก” เปนการใชภาษาท่ีไมเครงครัดดานกฎเกณฑและไมเปนทางการ สวน

“ภาษาเขียน” เปน ภาษาท่ใี ชอ ยางเปน ทางการตองเลือกใชใหถูกตองตามกฎเกณฑ และคํานึงถึงวัฒนธรรมของ

เจา ของภาษา ดงั นั้นจงึ ตองเรียนรแู ละนําไปใชใ หถกู ตอ ง

มาตรฐานการเรียนรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมปิ ญ ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปน สมบตั ิของชาติ

ตัวช้ีวัด
ป.๖/๒ ใชค ําไดเ หมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล

จุดประสงค
๑. นักเรยี นบอกไดวา คาํ ใดเปน ภาษาพูด คาํ ใดเปน ภาษาเขียน
๒. นกั เรียนนําภาษาพดู และภาษาเขยี นไปใชสื่อสารไดถ ูกตองตามสถานการณ

สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกป ญ หา
๔. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มจี ิตสาธารณะ
๔. มวี นิ ยั
๕. อยอู ยา งพอเพยี ง

สาระการเรียนรู
- ภาษาพดู และภาษาเขยี น

กระบวนการจัดการเรยี นรู
๑. นกั เรยี นแบง กลมุ ออกเปนกลุม ละ ๔ – ๕ คน โดยใชก ลุมเดิมในชั่วโมงที่แลว จากนัน้ ครูใหน กั เรียน

ศึกษาการอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เร่อื งภาษาพูดและภาษาเขียน ในหนังสือเรยี นภาษาไทย ป. ๖ ชุดภาษาพาที หนา ๔๘
แลว ครูเขียนประโยคท่เี ปนภาษาพดู บนกระดาน ๒ – ๓ ประโยค เชน

- แมเ ธอเปน ไงบางหายดียงั
- ระยะนงี้ านยงุ ชะมดั เลย
- จรงิ ๆ แลว เขาก็เปนคนดีนะ
๒. ใหนกั เรียนแตล ะกลุมเปล่ยี นเปนภาษาเขียนโดยการพดู ปากเปลา ครใู หคาํ แนะนาํ เพม่ิ เติม
๓. ครูและนักเรยี นชว ยกนั สรปุ ความรเู รื่อง ภาษาพูดและภาษาเขียนดงั นี้
- ภาษาพูดเปนภาษาท่ีใชกบั คนทค่ี นุ เคยกนั
- ภาษาเขยี นจะใชแ บบเปนทางการ เชน หนงั สอื ราชการ
- ภาษาพูดใชในงานเขียนประเภทนวนิยาย การต ูน เรอื่ งส้ัน
- ภาษาเขยี นใชในงานเขยี นประเภทสารคดี วารสารทัว่ ไป
- ภาษาพูดเปนภาษาทไ่ี มเ ครงครดั เรอ่ื งกฎเกณฑ
- ภาษาเขยี นเปน ภาษาทเี่ ครงครดั เรือ่ งกฎเกณฑ
๔. นักเรียนทําแบบฝกทักษะภาษา เร่ืองการเปล่ียนคําในประโยคที่กําหนดใหเปนถอยคําที่เหมาะสม
หนา ๒๗ จากนนั้ นาํ สง ครู ครเู ฉลยและตรวจสอบความถูกตอง
๕. ครูกําหนดใหนักเรียนทําชิ้นงานรวบยอด โดยใหหาประโยคที่เปนภาษาพูดและภาษาเขียนจาก
สื่อสารมวลชนตางๆ เขยี นบันทกึ นําสงครู

ส่อื / แหลง เรียนรู
๑. ตัวอยา งภาษาพดู
๒. หนังสือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพอ่ื ชวี ิต ภาษาพาที ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖
๓. แบบฝกหัด รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่อื ชีวิต ทักษะภาษา ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

การวัดผลและประเมินผล
๑) วิธปี ระเมนิ
- สังเกตพฤตกิ รรม
- ตรวจแบบฝกหดั
๒) เครือ่ งมือประเมนิ
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- ทําแบบฝกหัด
๓) เกณฑก ารประเมิน
- นักเรียนผานเกณฑก ารสังเกตพฤติกรรม รอยละ ๗๕ – ๘๐
- นกั เรียนผานเกณฑก ารทาํ แบบฝกหดั รอ ยละ ๗๕ – ๘๐

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๘

กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๖

หนวยการเรียนรทู ่ี ๓ เร่อื ง อานปายไดส าระ เวลา ๘ ชัว่ โมง

เรอ่ื ง สาํ นวนภาษา เวลา ๑ ชวั่ โมง

.....................................................................................

สาระสําคญั

สาํ นวนภาษา เปน ถอยคาํ ทมี่ คี วามหมายลกึ ซึ้ง ทําใหการใชภาษาในการพูดและการเขยี นสละสลวยย่ิงข้ึน

การนําสํานวนภาษาไปใชใหถูกตอง เหมาะสมกับกาลเทศะ จะชวยใหการเรียนรูภาษาและใชภาษาไดอยางมี

ประสทิ ธิภาพ

มาตรฐานการเรยี นรู
ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภมู ิปญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ ปนสมบัติของชาติ

ตวั ชีว้ ัด
ป.๖/๖ วเิ คราะหแ ละเปรียบเทยี บสํานวนทีเ่ ปน คาํ พงั เพยและสุภาษติ

จุดประสงค
๑. บอกความหมายของสาํ นวนภาษาทกี่ าํ หนดใหไดถ ูกตอ ง
๒. นาํ สาํ นวนภาษาไปใชไดถกู ตอง

สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแกปญหา
๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ

คุณลักษณะอนั พึงประสงค
๑. รักความเปน ไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มวี นิ ยั
๕. อยูอยางพอเพียง

สาระการเรยี นรู
- ความหมายของสาํ นวนภาษา
- การใชส าํ นวนภาษา

กระบวนการจัดการเรียนรู
๑. ครนู ําแถบประโยคมาใหน ักเรียนอานพรอ มกนั เชน สีซอใหค วายฟง หนเี สอื ปะจระเข รําไมดีโทษ

ปโ ทษกลอง นํา้ ข้นึ ใหรบี ตกั ฯลฯ รวมกนั สนทนาความหมายของสํานวน
๒. นกั เรียนแขง ขนั เลนเกมทายสํานวนจากภาพ ผใู ดทายถูกมากที่สุดเปน ผูช นะ
๓. นกั เรียนศกึ ษาความรูเร่อื งสํานวนภาษาจากใบความรู เพอ่ื ประกอบการสรุปความและทาํ กิจกรรม
- บอกความหมายของสํานวน
- ฝก แตงประโยคจากสาํ นวน
๔. นกั เรยี นทําแบบฝกหดั รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่อื ชวี ิต ทักษะภาษา ช้ันประถมศึกษาป

ที่ ๖ ฝก การใชภ าษา หนา ๓

ส่ือ / แหลง เรยี นรู
๑. ตัวอยา งสาํ นวน
๒. ภาพสํานวนไทย
๓. หนงั สือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพือ่ ชีวิต ภาษาพาที ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖
๔. แบบฝกหัด รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ชดุ ภาษาเพ่ือชวี ติ ทักษะภาษา ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖

การวดั ผลและประเมนิ ผล
๑) วิธีประเมนิ
- สังเกตพฤติกรรม
- ตรวจแบบฝก หดั
๒) เคร่ืองมอื ประเมิน
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
- ทาํ แบบฝก หัด
๓) เกณฑก ารประเมนิ
- นักเรียนผา นเกณฑการสังเกตพฤติกรรม รอ ยละ ๗๕ – ๘๐
- นักเรียนผานเกณฑการทาํ แบบฝก หัด รอยละ ๗๕ – ๘๐


Click to View FlipBook Version