The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thatchapongpat, 2022-05-13 04:57:15

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)

ระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 25๖4

โรงเรียน บา้ นแมต่ ะละเหนอื
อาเภอ กัลยาณวิ ฒั นา จงั หวดั เชียงใหม่

สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 6
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คานา

การศึกษาเป็นกระบวนการที่ทาให้คนมีความรู้และคุณสมบัติต่างๆ ที่ช่วยให้คนน้ันอยู่รอดใน
สังคมได้ เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคมโดยรวม ดังนั้นคุณภาพการศึกษาจึงสะท้อนถึง
คณุ ภาพของคนท่เี ป็นผลผลติ ของการจัดการศกึ ษา ในบรบิ ทของสงั คมไทย รูปแบบการจัดการศึกษาส่วน
ใหญ่จะเป็นการศึกษาในระบบ ดังนั้น สถานศึกษาจึงเป็นหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่ในการจัดการศึกษา
โดยเฉพาะในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ปัจจุบัน สถานศึกษาส่วนใหญ่มี
ความเหล่ือมล้าแตกต่างกนั ท้ังในดา้ น งบประมาณ คุณภาพ บุคลากร หรือจากชุมชน หน่วยงานองค์กร
ที่อยู่ใกล้เคียงสถานศึกษา และการติดตามช่วยเหลือจากหน่วยงานต้นสังกัด ส่ิงเหล่าน้ีส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพการจัดการศึกษาท้ังส้ิน อีกทั้งสถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการศึกษาด้วยตนเอง มีการ
พัฒนาหลักสูตรตามบริบทและความต้องการของตนเอง คุณภาพการจัดการศึกษาจึงแตกต่างกัน
พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2545 จึงได้กาหนดให้สถานศึกษา
จัดให้มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษา เพ่ือให้มีการประกันคุณภาพของการจัดการศึกษาให้มี
คุณภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานของสถานศึกษาทไ่ี ด้กาหนดไว้

โรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดการศึกษาท่ามกลาง
ทรัพยากรท่ีจากัด แต่ก็มีเป้าหมายท่ีชัดเจนในการจัดการศึกษา และได้มุ่งเน้นในการใช้ทรัพยากรให้เต็ม
ศักยภาพเพื่อปรับปรุงให้การศึกษาของโรงเรียนเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาท่ีโรงเรียนได้กาหนด
ดังนั้นเม่ือส้ินปีการศึกษาจึงได้ทาการวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ของโรงเรียนที่ได้จัดทาในรอบปี
การศึกษา เพ่ือประเมินผลการจัดการศึกษา และได้เขียนรายงานน้ีข้ึนเพ่ือรายงานให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องได้รบั ทราบถงึ ผลการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน อันจะสะท้อนถึงผลงาน และนาไปวางแผนงาน
ในการจะร่วมมอื กนั ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นบา้ นแม่ตะละเหนือตอ่ ไป

กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ

สารบัญ ข

สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน หน้า
ส่วนท่ี 2 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา โดยรวม
ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 1
ส่วนท่ี 3 ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 8
ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 8
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน 11
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั 11
สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการช่วยเหลือ 14
ภาคผนวก 17
ผลการเรยี นรู้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ 22
ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน (RT) 24
ผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) 25
รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) 28
เกียรติบตั ร ปีการศกึ ษา 2564 32
คาส่ังโรงเรียนบา้ นแมต่ ะละเหนอื 36
บันทกึ การใหค้ วามเห็นชอบรายงานประจาปีของสถานศึกษา 44
50
51

สว่ นที่ 1

ข้อมูลพ้นื ฐาน

1.1 ข้อมูลทวั่ ไป

โรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ ตง้ั อยู่เลขที่ 64 หมู่ ๒ ตาบลแมแ่ ดด อาเภอกลั ยาณิวัฒนา
จงั หวัดเชียงใหม่ 58130 สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 6 โทรศัพท์. – โทรสาร. –
e-mail. [email protected] website. –

เปดิ สอน ระดับชน้ั อนุบาล 1–๓ และ ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑–6
ผู้บรหิ ารสถานโรงเรยี น นายศกั ดชิ์ ยั แสนพิลุม ตาแหนง่ รักษาราชการแทนผอู้ านวยการ
โรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ เบอรโ์ ทรศพั ท์. 091–8516669
พ้ืนที่บริการ 2 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 2 บ้านแม่ตะละเหนือและบ้านนะโน และหมู่ที่ 3 บ้านแม่
ตะละกลางและบ้านสบแม่แดดหลวง ตาบลแมแ่ ดด อาเภอกลั ยาณิวัฒนา จงั หวัดเชยี งใหม่
ประวัติโรงเรียน
โรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ ตั้งข้นึ เม่ือ พ.ศ. 2522 มีคณะผกู้ อ่ ตั้งจานวน 4 คน คือ

1. นายบญุ เลศิ เรอื งกติ ตเิ ศรษฐ
2. นายสมชัย เส่พรรณ
3. นายทสู ว่ ย วรี ยิ ะชาญไพร
4. นายสอพอ สภาวนากุล
โดยได้นาเร่ืองขอก่อตั้งโรงเรียนไปปรึกษาหวั หน้าหมวดการศึกษาอาเภอแมแ่ จ่ม ซ่ึงไดค้ าแนะนาให้
สร้างเปน็ อาคารเรยี นช่ัวคราว โดยมีนายสพุ ัฒน์พงษ์ มาทาการสอนเป็นครูคนแรกตอ่ มานายสุพฒั น์พงษ์
ไดล้ าออก ชาวบา้ นจงึ ไปจ้าง นายตวิ ิ จากบา้ นแจ่มน้อยมาสอนแทน
ในปี พ.ศ. 2522 โรงเรยี นบา้ นห้วยปไู ด้รับการแต่งต้ังเป็นโรงเรียนเอกเทศโรงเรยี นบา้ นแมต่ ะละ
เหนอื จึงไดร้ ับการสนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื จากโรงเรียนบา้ นหว้ ยปเู รื่อยมา
ปีการศกึ ษา 2523 โรงเรยี นบา้ นหว้ ยปู ได้รับเอาโรงเรยี นบ้านแม่ตะละเหนือ เป็นโรงเรียน
สาขา โดยมีนายดวงเดช คาออน ครใู หญโ่ รงเรียนบา้ นห้วยปู มาชว่ ยสอนจนสนิ้ ปีการศกึ ษา 2524
และในวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 โรงเรยี นบา้ นแมต่ ะละเหนือ ได้รับแต่งต้ังจากสานักงานการ
ประถมศึกษาจังหวัดเชยี งใหม่ ใหเ้ ป็นโรงเรยี นเอกเทศอยา่ งเป็นทางการ และตั้งชือ่ ว่า “โรงเรียนบา้ นแม่
ตะละเหนือ” ตัง้ แตน่ น้ั เป็นต้นมา
อกั ษรย่อ
มตน.
วสิ ยั ทัศน์
โรงเรียนบา้ นแม่ตะละเหนอื จัดการศึกษาให้นักเรยี นมีความรคู้ ู่คุณธรรม สามารถอา่ นออก
เขียนไดด้ ี มีคณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ประสานความรว่ มมอื กับชุมชน รกั ษาสิ่งแวดล้อมน้อมนา
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2

พนั ธกจิ
1. การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
2. การพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอน
3. การพัฒนาการบริหารการศกึ ษา
4. การพัฒนาแห่งเรยี นรู้

เปา้ ประสงค์
1. โรงเรียนมีการปรับปรงุ สถานที่ให้เอ้ือต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
2. ครูมคี วามสามารถในการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย
3. นกั เรียนสามารถอ่านออกเขยี นไดต้ ามระดับชั้นและศักยภาพ
4. โรงเรียนมหี ลกั สตู รสถานศึกษาที่สอดคล้องกบั ความต้องการของท้องถนิ่
5. นักเรยี นร้จู ักใชช้ ีวติ แบบพอเพยี ง

คาขวญั
โรงเรยี นน่าอยู่ ครสู อนดี นกั เรยี นมีคุณภาพ

อัตลักษณ์
มารยาทงาม ตามรอยชนเผ่า เขา้ ใจวถิ ีชีวิตพอเพยี ง

เอกลักษณ์
โรงเรียนสะอาด บรรยากาศน่าอยู่

สปี ระจาโรงเรยี น
สีฟ้า หมายถึง ความมีระเบยี บวินัย ซ่ือสัตย์ และอดทน
สีขาว หมายถงึ ความรักอันบริสทุ ธ์ทิ ่ีมีต่อสถาบัน

ต้นไมป้ ระจาโรงเรยี น
ต้นไทร หมายถึง ความสงบสุข รม่ เย็น

ดอกไมป้ ระจาโรงเรยี น
ดอกบานบุรี หมายถงึ ความเจริญรงุ่ เรือง

3

1.2 ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา

1.2.1 จานวนบุคลากร

บคุ ลากร ผู้บริหาร ขา้ ราชการครู พนกั งานราชการ ครอู ตั ราจา้ ง เจ้าหน้าทอ่ี ื่นๆ รวมทั้งหมด
6
จานวน - 3 - 12
รวมทั้งหมด
1.2.2 วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ ของบคุ ลากร 6

บคุ ลากร ต่ากว่าปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก

จานวน 1 41 -

๑.๓ ขอ้ มูลนักเรียน

จานวนนักเรยี นปีการศึกษา ๒๕๖๔ รวม ๔3 คน

ระดับ อ.๑ อ.๒ อ.๓ รวม ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวม รวม

ชนั้ เรียน ทั้งหมด

จานวนห้อง 010 ๑ ๑๑๑ ๑ ๑๑ ๖ ๗

เพศ ชาย 0 3 0 3 6 ๔ 3 5 4 0 22 2๕

หญิง 0 4 0 4 ๒ 2 1 5 0 4 14 ๑8

รวม 0 7 0 ๗ 8 6 4 10 ๔ 4 ๓6 ๔3

เฉลี่ยตอ่ ห้อง 0 7:1 0 8:๑ ๖:๑ 4:๑ 10:๑ ๔:๑ 4:๑

1.4 ขอ้ มูลผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศึกษา

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแต่ละวิชาในระดับ ๓ ข้ึนไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

4

1.๕ ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน (Reading Test: RT)

1) ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test: RT)
ประจาปกี ารศึกษา 25๖๔

ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test: RT) ปีการศึกษา 25๖๔ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑

2) เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (Reading Test: RT)
ประจาปกี ารศกึ ษา 256๓ – 25๖๔

ผลการเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ปีการศึกษา ๒๕๖๓-25๖๔ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑

1.๖ ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รยี นระดบั ชาติ (National
Test NT)

1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ (National Test NT)
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ ประจาปีการศึกษา 25๖๔

5

คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐาน
ของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๔

ร้อยละของจานวนนักเรียนท่ีมีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐาน
ของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๔

จาแนกตามระดับคุณภาพ

2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test
NT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ประจาปีการศกึ ษา 256๓ – 25๖๔

2.1) เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ
(National Test NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ประจาปีการศึกษา 256๓ – 25๖๔

ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ร้อยละของผลต่าง
๒๕6๓ ๒๕๖๔ ระหวา่ งปกี ารศึกษา
ดา้ นภาษาไทย 38.70 22.75
ดา้ นคณติ ศาสตร์ 23.50 20.50 -1๕.๙๕
รวมความสามารถทั้ง ๒ ดา้ น 31.10 21.62 -๓.00
-1๘.๙๕

6
2.2) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ
(National Test NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ประจาปกี ารศึกษา 2563 – 25๖4 จาแนกตาม
ค่าร้อยละของระดับคุณภาพ

ความสามารถดา้ นภาษาไทย

ความสามารถด้านคณิตศาสตร์

รวม ๒ ด้าน

7

1.๗ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET)

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 25๖๔

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 25๖๔ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖

2) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา
256๓ – 25๖๔

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 25๖๔ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖

8

สว่ นท่ี 2

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา
โดยรวม

ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

โรงเรียนแม่ตะละเหนือจัดการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา มีนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จานวน ๓๖ คน ครูผู้สอน ๔ คน จัดทารายงานการ
ประเมนิ คณุ ภาพของตนเอง (SAR) ปกี ารศกึ ษา 256๔ เสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั และหน่วยงานอ่ืน ๆ
ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวม อยใู่ นระดบั ดี มีผลการดาเนนิ งาน ดงั ต่อไปนี้

ความสาเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนสถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้
กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้
พัฒนาสูงข้ึน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิด
คานวณ สง่ เสริมผ้เู รียนไดพ้ ฒั นาเต็มศกั ยภาพ จดั แหล่งเรยี นรู้ภายในใหเ้ หมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีท่ี
ทันสมยั จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจติ ดี มคี วามกลา้ แสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นอย่างมีความสุข เน้นทักษะการทางานร่วมกัน ทาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การ
สื่อสาร และการคดิ คานวณเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกาหนดในแต่ระดับชั้น จากการประเมินนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 ผลการอ่านออกเขียนได้อยู่ในระดับพอใช้ ข้ึนไป จานวน ๓๖ คน คิดเป็น
ร้อยละ ๑๐๐ (ข้อมูล เดือน มีนาคม) นักเรียนมีความสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ
ไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ท้ังด้วยตนเองและการ
ทางานเป็นทีม เช่ือมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ ๆ จากการเรียนรู้
โดย โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้สู่มาตรฐานการศึกษา/ กิจกรรมวิถีพุทธและอนุรักษ์วัฒนธรรม
ไทยนักเรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทยมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทยเข้าร่วมกิจกรรมท่ีโรงเรียนจัดคิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนมี
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากาหนด รอ้ ยละ 100 มีผลการอ่านคิด วิเคราะห์และ
เขยี นผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด รอ้ ยละ 100 กาหนดมาตรฐานดา้ นคณุ ภาพผู้เรียนตามท่ีว่า “การ
จัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้
และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข
ดงั นน้ั โรงเรียนแมต่ ะละเหนือจึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจานวน 2 ดา้ น ไดแ้ ก่

1) ดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและ
2) ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน
ดา้ นผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นมุ่งเน้นใหน้ ักเรยี นมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร
การคิดคานวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการ
วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การส่ือสาร และการมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน เจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด และ มีสุ ข

9

ภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถ่ิน และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน
ความแตกต่างและหลากหลายความสาเร็จด้านคุณภาพผู้เรียน มีดังน้ี นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การ
เขียน การสือ่ สาร และการคิดคานวณเปน็ ไปตามเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนดในแต่ระดับชั้น มีความสามารถ
ในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการ
ตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีความสามารถในการ
รวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทางานเป็นทีม เช่ือมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ใน
การสรา้ งสรรค์สง่ิ ใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิตความสามารถในการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทางาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรมมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจาก
พ้ืนฐานเดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมท้ังมีความก้าวหน้าในผลการ
ทดสอบระดับชาติ หรอื ผลการทดสอบอ่นื ๆมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานในการจัดการ เจตคติท่ีดีพร้อมที่จะ
ศึกษาตอ่ ในระดับชนั้ ทีส่ งู ข้นึ การทางานหรืองานอาชีพมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพ
ในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสานึกตามท่ีสถานศึกษากาหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดี
ของสังคมมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณีไทยรวมทงั้ ภูมิปญั ญา ผู้เรียนยอมรับการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ
วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม
แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอ่ืนอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อ่ืน ไม่มีความ
ขดั แย้งกับผ้อู ่ืน

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการเพ่ือให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการ
คุณภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัด
การศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน
ดาเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย
เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทาแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มี
ความเช่ียวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนบ้าน แม่ตะละเหนือ
มีความสาเร็จดังน้ี โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่โรงเรียนกาหนดชัดเจน สอดคล้องกับ
บริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัด รวมท้ังทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมมีระบบการบริหาร
จัดการคุณภาพอยา่ งเปน็ ระบบ วางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาโดยนาแผนไปปฏิบัติ ติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเน่ือง มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากร
ทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนา
บุคลากร และผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการ
จัดการศึกษามีการบริหารจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ พัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้น
คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริงและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ มีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ

10

และการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน จัดหา พัฒนาและบริการด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ จัดให้มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้อย่าง
เหมาะสม

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/โครงการ/
กิจกรรม อย่างหลากหลาย มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning)
ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพ่ือนาไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซ้ึงและคงทน ตามมาตรฐานและ
ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการ
ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ และนาผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้จัด
กิจกรรมได้จริง ครูใช้ส่ือและแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพ่ือให้เด็กรักการเรียนรู้
และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการ
จัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ กาหนดคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียน
ทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการ
คิด เช่น จดั การเรียนรู้ด้วยโครงงาน

ครใู ชส้ ื่อการเรยี นการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและ
ประสทิ ธิภาพของส่อื การสอนที่ใช้ โดยกาหนดประเด็นภาพความสาเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการ
สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังน้ี ครูจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง
ใหน้ ักเรยี นนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได้ ครใู ชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้
รวมท้ังนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ นักเรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือท่ี
หลากหลาย ครูมกี ารบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างเด็กกับครู ครูกับเด็ก
เด็กกับเด็ก เด็กรักการเรียนรู้ และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ประเมินผู้เรียนอย่างมีข้ันตอน
ใช้เครอื่ งมือ วธิ ีการวดั และประเมินผลทเี่ หมาะสมพร้อมทง้ั นาผลไปใช้พฒั นาการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน ครูผู้สอนร่วมกัน
แลกเปล่ยี นความรู้และประสบการณ์ (PLC) เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และนาไปปรับปรุง
/พัฒนาการจดั การเรียนรู้

11

ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียน

1. ระดบั คณุ ภาพ ดี (ประเมนิ ตนเองในระดบั ดี)
2. วิธกี ารพัฒนา ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง

2.1 กจิ กรรม กระบวนการบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรทู้ ่สี ่งผลต่อระดบั คณุ ภาพ
โรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดย
การดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการ
จัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า “การจัดการ
ศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ
คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งสอด
รับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีได้มุ่งพัฒนาให้
ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังน้ันโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือจึงกาหนดมาตรฐานการศึกษา
ด้านคณุ ภาพผเู้ รยี นจานวน 2 ดา้ น ไดแ้ ก่
1) ดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
2) ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น
ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นมุง่ เน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร
การคิดคานวณ รวมท้ังการมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการ
วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การส่ือสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด และ มีสุข
ภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบน
ความแตกตา่ งและหลากหลาย
2.2 ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานด้านผู้เรียน

๑) นักเรียนทุกคนมีความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาไทย ในระดับพอใช้
ตามเกณฑ์สถานศกึ ษา

๒) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 มากกว่าร้อยละ 80 มีความสามารถในการอ่านออก
เสียง อ่านรู้เรื่อง การเขียนคา และการเขียนเรื่อง ตามแบบประเมินและเกณฑ์การประเมินของสานัก
ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.

๓) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 มากกว่าร้อยละ 80 มีความสามารถในการอ่านออก
เสียง ในระดบั พอใช้ จากแบบทดสอบความสามารถในการอ่าน (Reading Test) ของ สพฐ.

๔) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มากกว่าร้อยละ 80 มีความสามารถในการอ่านรู้เร่ือง
ในระดบั พอใช้ จากแบบทดสอบความสามารถในการอา่ น (Reading Test) ของ สพฐ.

12

๕) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 มากกว่าร้อยละ 50 มีความสามารถด้านภาษาไทย
ในระดับพอใช้ขึ้นไป จากแบบทดสอบความสามารถด้านภาษา ในการทดสอบความสามารถพื้นฐานของ
ผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ของ สพฐ.

6) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มากกว่าร้อยละ 50 มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์
ในระดับพอใช้ข้ึนไป จากแบบทดสอบความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ในการทดสอบความสามารถ
พน้ื ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ (NT) ของ สพฐ

7) นักเรียนทุกคนมีความสามารถใช้ภาษาอังกฤษแนะนาตนเอง สถานศึกษา และสนทนา
อยา่ งงา่ ย

8) นกั เรยี นร้อยละ 90 ไดร้ ะดับผลการเรยี นเฉล่ยี ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละ
ศกึ ษา ระดบั 3 ขึน้ ไป

9) นักเรียนทุกคนมีผลงานจากการทาโครงงานผ้าทอกะเหร่ียง/ผลงานประดิษฐ์ใหม่ และ
สามารถอธิบายหลกั การ แนวคดิ ข้ันตอนการทางาน และปญั หาอุปสรรคของการทางานได้

10) นกั เรียนทุกคนสามารถสืบค้นขอ้ มูลจากอนิ เทอร์เน็ต และสรปุ ความรดู้ ้วยตนเอง
11) นักเรยี นร้อยละ 80 มีระดับผลการเรียนเฉล่ียตามหลักสูตร ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไปตาม
เกณฑ์ถานศกึ ษากาหนด
12) นักเรียนเข้ารว่ มโครงงานคณุ ธรรม นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ และนักเรียนทุกคน
มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมจติ อาสา
13) นกั เรียนทกุ คนมีความรบั ผดิ ชอบ มีวนิ ัย มีภาวะผู้นา มีจิตอาสา อย่รู ่วมกับคนอ่ืนอย่าง
มีความสขุ เข้าใจผ้อู น่ื ไมม่ คี วามขดั แยง้ กบั ผู้อื่น
14) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน มีความรู้และทักษะพื้นฐานต่องานอาชีพอย่าง
น้อย 1 อยา่ ง
15) นักเรียนทุกคนเป็นสมาชิกและร่วมโครงการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมของชุมชนอย่าง
ต่อเนื่อง
16) นักเรยี นทกุ คนมสี ่วนร่วมในกิจกรรมประเพณขี องท้องถน่ิ
17) นักเรยี นร้อยละ 9๐ มนี า้ หนกั สว่ นสงู ตามเกณฑ์กรมอนามัย และมสี ุขภาพแขง็ แรง
18) นกั เรียนทกุ คนไม่เกี่ยวข้องส่ิงเสพติด โรงเรียนมีโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
อยา่ งเขม้ แข็ง
19) ไมม่ ีการทะเลาะววิ าทในโรงเรียน
20) นักเรียนทุกคนได้รับการเยี่ยมบ้าน และโรงเรียนนาข้อมูลมาใช้ในการดูแลช่วยเหลือ
ผเู้ รยี น

13

3. จุดเด่น จุดท่ีควรพฒั นา และแผนการพฒั นาคุณภาพให้สงู ขึ้น
3.1 จดุ เดน่
๑) ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/

กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดการ
เรียนการสอน การพัฒนาผู้เรยี น สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผ้เู รยี นบรรลตุ ามเปา้ หมายท่ีว่า “การจัดการศึกษา
ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม
จรยิ ธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยูร่ ว่ มกับผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

3.2 จดุ ทีค่ วรพฒั นา
1) ครผู สู้ อนควรมีการพฒั นาปรบั ปรงุ นวัตกรรมและเผยแพร่นวัตกรรมทีใ่ ช้ในการ

จัดการเรยี นการสอนใหห้ ลากหลายย่ิงขึ้นเพอื่ พัฒนาตนเองสู่การเปน็ “ครใู นยคุ ดจิ ิทัล”
2) ความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ สญั ญาณอินเทอร์เน็ตท่ใี ชใ้ นการเรียนรูข้ องผ้เู รียน
3) ความพร้อมของอปุ กรณ์ โทรทศั น์ คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง หรอื เครื่องฉาย

โปรเจกเตอร์ในการจัดการเรียนการสอน ในบางหอ้ งเรยี นมีการชารดุ เสยี หาย ไมพ่ รอ้ มตอ่ การใช้งาน
3.๓ แผนการพัฒนาคุณภาพใหส้ ูงข้นึ
1) โครงการส่งเสริมและพฒั นาบุคลากร
2) โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
3) โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ส่มู าตรฐานการศึกษา

14

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

1. ระดับคณุ ภาพ ดี (ประเมินตนเองในระดับ ดี)
2. วธิ กี ารพัฒนา ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทีส่ นบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง

2.1 กิจกรรม กระบวนการบรหิ ารและการจดั การท่สี ่งผลต่อระดบั คุณภาพ
วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนาเพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการ
คณุ ภาพของสถานศกึ ษาในโรงเรียนบ้านบา้ นแม่ตะละเหนือ ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัด
การศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจนในการ
ดาเนินการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย
เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทาแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มี
ความเชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือ
สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกบั สภาพของโรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือ
2.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง

1) มีการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา ความต้องการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ โดยผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วน
ร่วมในการดาเนินการ และมีการทบทวน ปรับปรุงให้สามารถนาไปใช้จริง และทันต่อการเปลี่ยนแปลง

๒) นกั เรยี นทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษ จานวน 4 คน ไดร้ ับการพฒั นา ตามแผน IEP
๓) ครูทุกคนได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้ได้รับการอบรม พัฒนาตามมาตรฐานวิชาชีพ
และนาความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์นามาใชใ้ นการพฒั นางานในหน้าท่ีและพัฒนาผเู้ รียน
๔) ครูทุกคนได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้ ประสบการณ์ จากการจัดชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (PLC) เพือ่ นาความรู้ แนวคิดมาใช้ในการพัฒนาการจดั การเรยี นร้ใู หม้ ีคณุ ภาพย่ิงข้ึน
๕) ครูผู้สอนทุกคนได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ส่งผลให้ได้รับรางวัลที่เก่ียวข้องกับ
มาตรฐานวิชาชีพครู เชน่

๕.1) นายธชั พงศ์พัชร์ พนั ธแ์ุ ก้ว ได้รบั รางวลั ครูผู้สอนดเี ดน่
๕.2) นายธัชพงศ์พัชร์ พันธ์ุแก้ว ผ่านการอบรม ครูกับการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษา
“การสอนเพศวิถีศึกษา : การพัฒนาการเรียนรู้แบบ E-Leaning เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูให้สอนเพศวิถี
ศกึ ษาและทักษะชีวติ ในระบบการศึกษาข้ันพื้นฐาน”
๕.3) นายธชั พงศ์พัชร์ พันธแุ์ กว้ ผ่านการอบรม เชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการจัดการ
เรียนรู้รูปแบบออนไลน์ สาหรับครูสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อนาไปใช้ใน
การสรา้ งห้องเรียนออนไลน์ จดั การเรยี นรอู้ อนไลน์ การวดั และประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน
๕.๔) นางสาวมธุรส อาชีพบริสุทธิ์ ผ่านการอบรม เชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการ
จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ สาหรับครูสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อ
นาไปใช้ในการสร้างห้องเรยี นออนไลน์ จดั การเรียนร้อู อนไลน์ การวัดและประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น
๕.๕) นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า ผ่านการอบรม เชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการจัดการ
เรียนรู้รูปแบบออนไลน์ สาหรับครูสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือนาไปใช้ใน
การสรา้ งหอ้ งเรียนออนไลน์ จัดการเรยี นรู้ออนไลน์ การวัดและประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน

15

๕.๖) นายธัชพงศ์พัชร์ พันธ์ุแก้ว ผ่านการอบรม ปฏิบัติการพัฒนาผู้บริหาร ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือให้ผู้บริหาร ครู
และนักเรียน ตระหนักรู้ เข้าใจ มีกระบวนการคิด อย่างมีเหตุผล และสร้างเครือข่ายชุมชนองค์กรแห่ง
คณุ ธรรม โดยขอความรว่ มมอื จากหน่วยงาน และองค์กรท่ีทางานด้านคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
และมีความตอ่ เน่อื ง

๕.๗) นายธัชพงศพ์ ชั ร์ พันธแ์ุ ก้ว ผ่านการประชุมการวิจยั ทางการศึกษาระดับชาติคร้ังที่
๑๖ “นวตั กรรมการศึกษา : กลา้ เปลี่ยน สรา้ งสรรค์ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาไทย”

๕.๘) นายธัชพงศ์พัชร์ พันธุ์แก้ว ผ่านการอบรม ปฏิบัติการเพ่ือขับเคล่ือนโรงเรียนวิถี
พุทธ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
เพอื่ การพฒั นาโรงเรียนวถิ พี ุทธ

๕.๙) นายธัชพงศ์พัชร์ พันธุ์แก้ว ผ่านการอบรม การจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ
สาหรบั ครูประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ Coding for Grade ๑-๓ Teacher (C๔T–๒)

๕.๑๐) นางสาวลัดดา แซ่เฒ่า ผ่านการอบรม การจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ
สาหรบั ครปู ระถมศึกษาปที ี่ ๑-๓ Coding for Grade ๑-๓ Teacher (C๔T–๒)

๕.๑๑) นายธัชพงศ์พัชร์ พันธุ์แก้ว ผ่านการอบรม การจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ
สาหรบั ครูประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ Coding for Grade ๔-๖ Teacher (C๔T–๓)

6) ได้จัดการบริหารข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน เช่น ข้อมูลผลการจัดการศึกษา ข้อมูล
ภาวะโภชนาการ โปรแกรม DMC (ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล) โปรแกรม B-OBEC (ข้อมูลท่ีดิน
ส่ิงก่อสร้าง) โปรแกรม M-OBEC (ข้อมูลครุภัณฑ์) โปรแกรม EMIS (ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน)
โปรแกรม School MISS (ข้อมูลผลการเรียนตามหลักสูตร) ข้อมูลเด็กพิเศษ เพื่อนามาใช้ในการบริหาร
และการจดั การเรยี นรขู้ องนักเรยี นทกุ กลุม่ อย่างเป็นระบบ ทันสมยั

๗) ผู้ปกครองนกั เรียนมคี วามพงึ พอใจในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนในระดบั มาก

16

3. จดุ เดน่ จดุ ที่ควรพัฒนา และแผนการพฒั นาคุณภาพให้สูงขน้ึ
3.2 จดุ เดน่
ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานใน

การกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน ในการดาเนินการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพ
ผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยงกับชีวิตจริง จัดทาแผนพัฒนา
คุณภาพจัดการศึกษา ดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตาม
ความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ
เรยี นรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ

3.2 จุดท่ีควรพฒั นา
๑) ครแู ละบุคลากรทุกคนควรมีส่วนร่วม ตระหนัก และเห็นความสาคัญของการจัดทา

โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ
3.3 แผนการพัฒนาคณุ ภาพใหส้ งู ข้นึ
1) โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
2) โครงการสง่ เสริมและพัฒนาบุคลากร
3) โครงการศึกษาแหล่งเรยี นรู้และภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
4) โครงการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการเรียนการสอน

17

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั

1. ระดบั คณุ ภาพ ดี (ประเมนิ ตนเองในระดบั ดี)
2. วิธีการพฒั นา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมินตนเอง

2.1 กจิ กรรม วธิ กี ารพฒั นาทสี่ ง่ ผลต่อระดับคุณภาพ
โรงเรียนบ้านแม่ตะละเหนือส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยการดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุง
หลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) ส่งเสริมให้ครู
จัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning) ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพ่ือ
นาไปสู่การเรียนรู้ท่ีลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมี
ส่วนรว่ ม ครรู ู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนา
ผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาผลท่ีได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหาร
จัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพ่ือให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้และนาข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ อกี ทั้งปรบั โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรยี นรู้ กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ท่ีสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีสร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมี
ส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการคิด เช่น
จัดการเรยี นรู้ด้วยโครงงาน จดั การเรยี นการสอน DLTV/DLIT
2.2 ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนับสนุนผลการประเมินตนเอง
1) ครผู สู้ อนทกุ คนสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ในการพัฒนากระบวนการคิด ใช้กระบวนการ
กลุม่ ให้นักเรียนปฏบิ ัตจิ ริง และครูใช้คาถามระดบั สงู ในการจัดกิจกรรมเพอ่ื กระตุ้น ส่งเสริมกระบวนการ
คิดและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็น สรุปการเรียนรู้ การนา
เสนองาน และนาความรู้ ทักษะ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้การจัดการเรียนรู้กระบวนการแก้ปัญหา
การจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะ การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน การจัดการเรียนรู้โดยใช้
กรณีศึกษา การจดั การเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การจัดการเรียนรู้ STEM Education การใช้
บทบาทสมมุติ การจดั การเรียนรู้โดยใช้แหลง่ เรียนรู้
2) ครูผู้สอนทุกคนมีส่วนร่วมในการในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาทุกปี
สอดคลอ้ งกับนโยบาย และการเปลีย่ นแปลงสาระการเรียนรู้ และนาไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
ผู้เรียนอย่างรอบด้าน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ังนักเรียนปกติ
และนักเรียนพิเศษเรียนรวม โดยเช่ือมโยงกับท้องถ่ิน การดาเนินชีวิตของนักเรียน และสอดคล้องกับ
เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ความรู้ในศตวรรษท่ี 21 และเตรียมผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ
ประสบการณ์ ในการใช้ชวี ติ ในโลกอนาคต และตอบสนองกับการพัฒนานักเรียนพิเศษเรียนรวม ท่ีได้รับ
การพัฒนาตามความสามารถและศักยภาพ

18

3) ครูผ้สู อนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 และชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ได้จัดการเรียนรู้สาหรับเด็กพิเศษ
เรียนรวมนักเรียนท่มี ีความตอ้ งการพเิ ศษ จานวน 3 คน โดยใชแ้ ผน IEP เพ่อื การพฒั นาผเู้ รียนรายบคุ คล

4) ครูทุกคนใช้สื่อ เทคโนโลยี Computer แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน
ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน ทั้งครูภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนรู้ในการทอผ้ากะเหร่ียง
และใหส้ ่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทั้งกิจกรรมในห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ การจัด
กิจกรรมโครงการสารวจตามความตอ้ งการและปญั หาที่ต้องการเรยี นรู้ แกไ้ ข

5) ครูผู้สอนทุกคนใช้ DLTV ประกอบการจดั การเรยี นรู้ในการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
6) ครูผู้สอนทุกคน ได้จัดห้องเรียนท่ีสะอาด เรียบร้อย ปลอดภัย และพื้นท่ีว่างในห้องเรียน
ส่อื การเรยี นรู้ บรรยากาศท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนทกุ คน
7) ครูผ้สู อนทุกคนไดร้ ่วมจัดหอ้ งสมุดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของผู้เรียน จัดบรรยากาศในห้องสมุดให้
จูงใจ ในการใช้ จัดให้มีหนังสือ คอมพิวเตอร์ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า ได้เข้าถึงในการใช้และ
การเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาคุณภาพ
8) ครูผู้สอนทุกคนจัดการเรียนรู้โดยเน้นการปฏิสัมพันธ์เชิงบวก รักและเอาใจใส่นักเรียน สร้าง
นกั เรียนให้เป็นคนดี ใหน้ กั เรยี นมีความมั่นใจ ปลอดภัย ที่จะเรียนรู้กับครูและเพ่ือน และเรียน เล่นอย่าง
มีความสุข และไดร้ บั คาชืน่ ชมจากผู้ปกครองในการดแู ลนกั เรยี น
9) ครูผู้สอนทุกคนดาเนินการวัด ประเมินผลผู้เรียนโดยเก็บข้อมูลจากวิธีการหลากหลาย เช่น
การสอบถาม สัมภาษณ์ ให้คะแนนจากผลงาน รายงาน ช้ินงาน การทางานกลุ่ม พฤติกรรมการเรียน
การทางาน ลกั ษณะนิสัย การสอบท้ังแบบอัตนัย และปรนัย การปฏิบัติจริง สอดคล้องกับธรรมชาติวิชา
และเป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียน มีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับแก่ผู้เรียน ผู้ปกครอง เพ่ือนาผลการ
ประเมนิ ไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
10) ครูผู้สอนส่วนใหญ่นาผลการประเมินในการจัดการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และใช้
กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนในการพัฒนาการจดั การเรียนรูเ้ พอ่ื พฒั นาผู้เรียน
11) ครูผู้สอนทุกคนได้เข้าร่วม ได้รับความรู้ ประสบการณ์ จากการจัดชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (PLC) เพื่อนาความรู้ แนวคิดมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ให้
และรับข้อมูลสะท้อนกลบั และนามาใชใ้ นการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรยี นใหด้ ียิ่งขนึ้
12) ครูผู้สอนทุกคนมีส่วนร่วมในการในการจัดการบริหารข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน เช่น
ข้อมูลผลกสนจัดการศึกษา ข้อมูลภาวะโภชนาการ โปรแกรม DMC (ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล)
โปรแกรม B-OBEC (ข้อมูลท่ีดินส่ิงก่อสร้าง) โปรแกรม M-OBEC (ข้อมูลครุภัณฑ์) โปรแกรม EMIS
(ข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน) โปรแกรม School MISS (ข้อมูลผลการเรียนตามหลักสูตร) ข้อมูลเด็ก
พิเศษ เพือ่ นามาใช้ในการบริหารและการจดั การเรยี นรูข้ องนกั เรยี นทกุ กลุ่ม

19

3. จดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพฒั นา และแผนการพัฒนาคณุ ภาพให้สงู ข้นึ
3.2 จุดเด่น
ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการดาเนินงาน/กิจกรรมอย่าง

หลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวช้ีวัดฯ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ
(Active learning) ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพ่ือนาไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซ้ึงและคงทน
ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกัน
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และนาผลทีไ่ ดม้ าปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้

3.2 จดุ ทค่ี วรพัฒนา
๑) ครแู ละบคุ ลากรทุกคนควรมสี ว่ นร่วม ตระหนัก และเห็นความสาคัญของการ

จัดทาโครงการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ
3.3 แผนการพัฒนาคุณภาพใหส้ งู ข้นึ
๑) โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
๒) โครงการสง่ เสริมและพัฒนาบคุ ลากร
๓) โครงการขับเคลอื่ นกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
4) โครงการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรสู้ ู่มาตรฐานการศึกษา
5) โครงการเสรมิ สรา้ งความสัมพันธ์กบั ชมุ ชน

20

สรุปผลการประเมินคณุ ภาพการจดั การศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ผลการประเมนิ

มาตรฐาน / ประเด็นการประเมิน กาลัง ปาน ดี ดเี ลิศ ยอด
พัฒนา กลาง เยี่ยม
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน ดี

1. มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สาร และ ดี
การคิดคานวณ ดี

2. มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมี ดี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา ดี

3. มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ดี
4. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ดี
ส่อื สาร
5. มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ดี
6. มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดตี อ่ การงาอาชพี
1.2 ดา้ นคุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรยี น ดี
1. การมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามทสี่ ถานศึกษา ดี
กาหนด
2. ความภมู ิใจในทอ้ งถ่นิ และความเป็นไทย ดี
3. การยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและ ดี
หลากหลาย ดี
4. สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดี
2.1 มีเปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากาหนด ดี
ชดั เจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดี
2.3 ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้าน ดี
ตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดี
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเออ้ื ตอ่ การ
จัดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ าร
จัดการและการจดั การเรียนรู้

21

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอน ดี
ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ดี

3.1 จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และ ดี
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตได้
ดี
3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทีเ่ อื้อต่อการ ดี
เรยี นรู้
ดี
3.3 มกี ารบริหารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผล
มาพัฒนาผเู้ รียน

3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อ
พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้

สรปุ ผลการประเมินทกุ มาตรฐาน ระดบั ดี

22

ส่วนท่ี 3

สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการช่วยเหลอื

จดุ เด่น
ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

คณุ ภาพของผู้เรยี น
สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน
โดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคานวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็ม
ศกั ยภาพ มกี ารจดั แหล่งเรียนรภู้ ายในไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีสอื่ ด้านเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ผู้เรียนมี สุขภาพ
กาย สุขภาพจิตดี กล้าแสดงออก และสามารถอย่รู ่วมกับผู้อื่นอย่างมคี วามสุข
กระบวนการบริหารและการจดั การ
โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่กาหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
ตามความตอ้ งการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบายของรัฐบาลและ
ต้นสังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตาม
หลักสูตรสถานศึกษา และส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความ
ต้องการ ใหเ้ ปน็ ชุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี มาใช้ในการพัฒนางานและการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน

กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
ครูมีความต้ังใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ท่ีเน้นทักษะ
กระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้
จากส่อื เทคโนโลยีดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อ
ตอ่ การเรียนรู้

จดุ ควรพฒั นา
ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

คุณภาพของผ้เู รียน
การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ยังขาดการปฏิบัติท่ีต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับ
ผลสัมฤทธ์แิ ตล่ ะกลมุ่ สาระประสบผลสาเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป
ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปล่ียนแปลงพัฒนาข้ึนโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ในบางกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ จึงตอ้ งม่งุ เน้นพัฒนาต่อไป
กระบวนการบริหารและการจัดการ
โรงเรยี นควรจัดให้มหี ้องปฏิบตั กิ ารและหอ้ งพิเศษทเี่ พียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรยี นรู้
มีการนเิ ทศ ติดตาม ทช่ี ัดเจน
กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั
ควรนาภูมิปัญญาท้องถ่ินให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้
ขอ้ มลู ยอ้ นกลับแกน่ กั เรยี นทนั ทีเพอื่ นักเรียนนาไปใชพ้ ฒั นาตนเอง

23

แนวทางการพฒั นาในอนาคต
กิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการประเมินระดับชาติ ความสามารถใน
การคิดวเิ คราะห์ ของนักเรียน การพฒั นาความสามารถภาษาอังกฤษของนักเรยี น ความสามารถในการ
จัดการเรียนรู้ภาษาองั กฤษของครูผูส้ อน

ความตอ้ งการช่วยเหลือ
1. ดา้ นครแู ละบุคลากร
2. ดา้ นงบประมาณการบริหารจัดการ

24

ภาคผนวก

25

ผลการเรยี นรู้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๒

26

ผลการเรยี นรู้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓-๔

27

ผลการเรยี นรู้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕-๖

28

ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผ้เู รียน (Reading Test: RT)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา 25๖๓

29

ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผ้เู รียน (Reading Test: RT)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา 25๖๓

30

ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผ้เู รียน (Reading Test: RT)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา 25๖๔

31

ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผ้เู รียน (Reading Test: RT)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา 25๖๔

32

ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 25๖๓

33

ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 25๖๓

34

ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 25๖๔

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O-NET)
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ปกี ารศึกษา 25๖๐ – ๒๕๖๑

35

ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 25๖๔

36

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
วชิ าภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศึกษา 25๖๓ ฉบบั ที่ ๕

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET)
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

37

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET)
วชิ าภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปีการศกึ ษา 25๖๓ ฉบบั ท่ี ๕

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

38

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET)
วชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปกี ารศึกษา 25๖๓ ฉบับท่ี ๕

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

39

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
วชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปีการศึกษา 25๖๓ ฉบบั ท่ี ๕

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

40

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
วชิ าภาษาไทย-ภาษาองั กฤษ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปีการศึกษา 25๖๓ ฉบบั ที่ ๖

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

41

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET)
วชิ าคณิตศาสตร์-วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศึกษา 25๖๓ ฉบบั ที่ ๖

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

42

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
วชิ าภาษาไทย-ภาษาองั กฤษ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปีการศึกษา 25๖๔ ฉบบั ที่ ๖

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

43

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET)
วชิ าคณิตศาสตร์-วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ปกี ารศึกษา 25๖๔ ฉบบั ที่ ๖

รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ปกี ารศกึ ษา 25๖๑

44

เกียรติบตั ร ปีการศกึ ษา 2564

45

เกียรติบตั ร ปีการศกึ ษา 2564

46

เกียรติบตั ร ปีการศกึ ษา 2564

47

เกียรติบตั ร ปีการศกึ ษา 2564


Click to View FlipBook Version