The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เรืองที 1

เรืองที 1

เรอ่ื ง พลเมอื งดจิ ทิ ลั และความฉลาดทางดจิ ทิ ลั

จดั ทาโดย

นาย ณฐั วุฒิ ชยั รกั ษ์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/7 เลขที่ 5

เสนอ

คณุ ครู วชิ ยั สงิ หน์ อ้ ย
โรงเรยี นสนั กาแพง
อ.สนั กาแพง จ.เชยี งใหม่ เขต34

ความเป็ นพลเมืองดิจทิ ลั (DIGITAL CITIZENSHIP) คอื อะไร

 ความเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ลั คอื พลเมืองผูใ้ ชง้ านสอื่ ดจิ ทิ ลั และสอ่ื สงั คมออนไลนท์ เี่ ขา้ ใจบรรทดั ฐานของ
การปฏิบตั ติ วั ใหเ้ หมาะสมและมคี วามรบั ผิดชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การสอื่ สาร ใน
ยุคดจิ ทิ ลั เป็นการสอื่ สารทไี่ รพ้ รมแดน สมาชกิ ของโลกออนไลนค์ อื ทกุ คนทใี่ ชเ้ ครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต บน
โลกใบน้ี ผใู้ ชส้ อ่ื สงั คมออนไลนม์ คี วามหลากหลายทางเช้อื ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมอื ง
ดจิ ทิ ลั จงึ ตอ้ งเป็นพลเมืองทม่ี ีความรบั ผิดชอบ มจี รยิ ธรรม เหน็ อกเหน็ ใจและเคารพผอู้ น่ื มสี ว่ นรว่ ม
และมุง่ เนน้ ความเป็นธรรมในสงั คม การเป็นพลเมอื งในยุคดจิ ทิ ลั นนั้ มีทกั ษะทส่ี าคญั 8 ประการ

1. ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณท์ ดี่ ขี องตนเอง
(DIGITAL CITIZEN IDENTITY)

 สามารถสรา้ งและบรหิ ารจดั การอตั ลกั ษณท์ ดี่ ขี องตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดที ง้ั ในโลกออนไลนแ์ ละโลกความจรงิ
อตั ลกั ษณท์ ดี่ คี อื การทผี่ ใู้ ชส้ อื่ ดจิ ทิ ลั สรา้ งภาพลกั ษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแงบ่ วก ทงั้ ความคิด
ความรูส้ กึ และการกระทา โดยมีวจิ ารณญานในการรบั สง่ ขา่ วสารและแสดงความคดิ เหน็ มคี วามเห็นอก
เหน็ ใจผรู้ ว่ มใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรูจ้ กั รบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทา ไมก่ ระทาการทผ่ี ิดกฎหมาย และ
จรยิ ธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ การกลน่ั แกลง้ หรอื การใชว้ าจาทสี่ รา้ งความ เกลียดชงั
ผูอ้ น่ื ทางสอื่ ออนไลน์

2. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหม์ ีวจิ ารณญาณทดี่ ี
(CRITICAL THINKING)

 สามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและขอ้ มลู ทผี่ ิด ขอ้ มูลทม่ี เี น้ือหาเป็นประโยชน์
และขอ้ มลู ทเ่ี ขา้ ขา่ ยอนั ตราย ขอ้ มูลตดิ ตอ่ ทางออนไลนท์ น่ี ่าตงั้ ขอ้ สงสยั และน่าเชอื่ ถือได้ เมื่อใช้
อนิ เทอรเ์ น็ต จะรูว้ า่ เน้ือหาอะไร เป็นสาระ มปี ระโยชน์ รูเ้ ทา่ ทนั สอื่ และสารสนเทศ สามารถวเิ คราะหแ์ ละ
ประเมนิ ขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มลู ทหี่ ลากหลายได้ เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงตา่ งๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่
ขา่ วปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตดั ตอ่ เป็นตน้

3. ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเอง ในโลกไซเบอร์
(CYBERSECURITY MANAGEMENT)

 1. เพื่อรกั ษาความเป็ นสว่ นตวั และความลบั หากไมไ่ ดร้ กั ษาความปลอดภยั ใหก้ บั อุปกรณด์ จิ ทิ ลั ขอ้ มลู สว่ นตวั และขอ้ มูลที่
เป็ นความลบั อาจจะรว่ั ไหลหรือถกู โจรกรรมได้

 2. เพื่อป้ องกนั การขโมยอตั ลกั ษณ์ การขโมยอตั ลกั ษณเ์ ริ่มมจี านวนทม่ี ากข้ึนในยุคขอ้ มูล ขา่ วสาร เนื่องจากมกี ารทา
ธุรกรรมทางออนไลนม์ ากยิ่งข้นึ ผคู้ นเรมิ่ ทาการชาระคา่ สนิ คา้ ผา่ น สอ่ื อนิ เทอรเ์ น็ต และทาธุรกรรมกบั ธนาคารทางออนไลน์
หากไมม่ ีการรกั ษาความปลอดภยั ที่ เพียงพอ มจิ ฉาชพี อาจจะลว้ งขอ้ มลู เกีย่ วกบั บตั รเครดติ และขอ้ มูลสว่ นตวั ของผใู้ ชง้ านไป
สวมรอย ทาธุรกรรมได้ เชน่ ไปซ้อื สนิ คา้ กยู้ มื เงิน หรอื สวมรอยรบั ผลประโยชนแ์ ละสวสั ดกิ าร

 . เพื่อป้ องกนั การโจรกรรมขอ้ มลู เน่ืองจากขอ้ มูลตา่ งๆ มกั เก็บรกั ษาในรูปของดจิ ทิ ลั ไมว่ า่ จะเป็ นเอกสาร ภาพถา่ ย หรอื
คลปิ วดี โิ อ ขอ้ มลู เหลา่ น้ีอาจจะถกู โจรกรรมเพ่ือนาไปขายตอ่ แบล็คเมล์ หรือเรยี กคา่ ไถ่

 4. เพื่อป้ องกนั ความเสยี หายของขอ้ มลู และอุปกรณ์ ภยั คกุ คามทางไซเบอรอ์ าจสง่ ผลเสยี ตอ่ ขอ้ มูลและ อุปกรณด์ จิ ทิ ลั ได้ ผไู้ ม่
หวงั ดบี างรายอาจมุง่ หวงั ใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ขอ้ มูลและอุปกรณท์ เ่ี ก็บรกั ษามากกวา่ ทจ่ี ะ โจรกรรมขอ้ มูลนน้ั ภยั คกุ คามอยา่ ง
ไวรสั คอมพิวเตอร์ โทรจนั และมลั แวรส์ รา้ งความเสยี หายรา้ ยแรงใหก้ บั คอมพิวเตอรห์ รือระบบปฏิบตั กิ ารได้

4. ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มูลสว่ นตวั
(PRIVACY MANAGEMENT)

 มดี ุลพินิจในการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลสว่ นตวั รูจ้ กั ปกป้ องขอ้ มูลความสว่ นตวั ในโลกออนไลนโ์ ดยเฉพาะ
การแชรข์ อ้ มลู ออนไลนเ์ พ่ือป้ องกนั ความเป็นสว่ นตวั ทงั้ ของตนเองและผอู้ น่ื รูเ้ ทา่ ทนั ภยั คกุ คามทาง
อนิ เทอรเ์ น็ต เชน่ มลั แวรไ์ วรสั คอมพิวเตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์

5. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ
(SCREEN TIME MANAGEMENT)

 สามารถในการบรหิ ารเวลาทใ่ี ชอ้ ุปกรณย์ ุคดจิ ทิ ลั รวมไปถึงการควบคมุ เพื่อใหเ้ กิดสมดุลระหวา่ ง โลก
ออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถึงอนั ตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป การทางาน หลาย
อยา่ งในเวลาเดยี วกนั และผลเสยี ของการเสพตดิ สอื่ ดจิ ทิ ลั

6. ทกั ษะในการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลทผ่ี ใู้ ชง้ าน มีการท้งิ ไวบ้ นโลกออนไลน์
(DIGITAL FOOTPRINTS)

 สามารถเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใชช้ วี ติ ในโลกดจิ ทิ ลั วา่ จะหลงเหลือรอ่ ยรอยขอ้ มลู ท้งิ ไวเ้ สมอ รวมไปถึง
เขา้ ใจผลลพั ธท์ อี่ าจเกิดข้นึ เพื่อการดแู ลสง่ิ เหลา่ น้ีอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ

7. ทกั ษะในการรบั มือกบั การกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์
(CYBERBULLYING MANAGEMENT)

 การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอรค์ อื การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเป็นเครอื่ งมือหรอื ชอ่ งทางเพ่ือกอ่ ใหเ้ กิดการ
คกุ คาม ลอ่ ลวงและการกลนั่ แกลง้ บนโลกอนิ เทอรเ์ น็ตและสอื่ สงั คมออนไลน์ โดยกลุม่ เป้ าหมายมกั จะ
เป็น กลุม่ เด็กจนถึงเด็กวยั รุน่ การกลน่ั แกลง้ บนโลกไซเบอรค์ ลา้ ยกนั กบั การกลนั่ แกลง้ ในรูปแบบอนื่
หากแตก่ ารกลนั่ แกลง้ ประเภทน้ีจะกระทาผา่ นสอ่ื ออนไลนห์ รอื สอื่ ดจิ ทิ ลั เชน่ การสง่ ขอ้ ความทาง
โทรศพั ท์ ผกู้ ลนั่ แกลง้ อาจจะเป็นเพ่ือนรว่ มชนั้ คนรูจ้ กั ในสอื่ สงั คมออนไลน์ หรอื อาจจะเป็นคน แปลก
หนา้ ก็ได้ แตส่ ว่ นใหญผ่ ูท้ ก่ี ระทาจะรูจ้ กั ผูท้ ถ่ี กู กลนั่ แกลง้

8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจรยิ ธรรม
(DIGITAL EMPATHY)

 มคี วามเห็นอกเห็นใจ และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ กี บั ผอู้ น่ื บนโลกออนไลน์ แมจ้ ะเป็นการสอ่ื สารที่ ไมไ่ ด้
เหน็ หนา้ กนั มปี ฏิสมั พนั ธอ์ นั ดตี อ่ คนรอบขา้ ง ไมว่ า่ พอ่ แม่ ครู เพื่อนทงั้ ในโลกออนไลนแ์ ละใน ชวี ติ จรงิ
ไมด่ ว่ นตดั สนิ ผูอ้ น่ื จากขอ้ มลู ออนไลนแ์ ตเ่ พียงอยา่ งเดยี ว และจะเป็นกระบอกเสยี งใหผ้ ูท้ ่ี ตอ้ งการความ
ชว่ ยเหลอื

ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: DIGITAL INTELLIGENCE) คอื อะไร

 ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คอื กลุม่
ความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรบั รู้ ทจี่ ะทาใหค้ นคนหนึ่งสามารถเผชญิ กบั ความทา้ ทายของ
ชวี ติ ดจิ ทิ ลั และสามารถ ปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชวี ติ ดจิ ทิ ลั ได้ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ครอบคลุมทงั้ ความรู้
ทกั ษะ ทศั นคตแิ ละคา่ นิยม ทจ่ี าเป็นตอ่ การใชช้ วี ติ ในฐานะสมาชกิ ของโลกออนไลน์ กลา่ วอกี นยั หน่ึงคอื
ทกั ษะการใชส้ อื่ และ การเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์

ทาไมตอ้ งเพ่ิมทกั ษะ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ?

 อนิ เทอรเ์ น็ตและอุปกรณด์ จิ ทิ ลั ถึงแมจ้ ะเพิ่มความสะดวกสบาย แตก่ ็แฝงดว้ ยอนั ตราย เชน่ กนั ไมว่ า่ จะ
เป็น อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ การเสพตดิ เทคโนโลยี หากใชง้ านสอื่ ดจิ ทิ ลั มากเกินไป หรอื อนั ตรายจาก
มจิ ฉาชพี ออนไลน์ การคกุ คามทางไซเบอร์ และการกลน่ั แกลง้ ทางไซเบอร์ พลเมอื งยุคใหม่ จงึ ตอ้ งรูเ้ ทา่
ทนั สอ่ื สารสนเทศ และมที กั ษะความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เพื่อทจ่ี ะใชช้ วี ติ อยใู่ นสงั คมออนไลน์ และในชวี ติ
จรงิ โดยไมท่ �ำาตวั เองและผอู้ นื่ ใหเ้ ดอื ดรอ้ น ดงั นนั้ ครอบครวั โรงเรยี น ทางภาครฐั และ องคก์ รท่ี
เก่ียวของ ควรรว่ มสง่ เสรมิ ใหเ้ ยาวชนเป็น ‘พลเมอื งดจิ ทิ ลั ’ ทมี่ คี วามรูค้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื ง ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
กบั การใชง้ านอนิ เทอรเ์ น็ต

เอกสารอา้ งองิ

 http://www.okmd.or.th/ okmd-opportunity/digital-
age/258/

 http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553


Click to View FlipBook Version