The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสวนพฤกษ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสวนพฤกษ์

รายงานสวนพฤกษ์

Keywords: รายงานประจำปี

แนวทาง
รายงานผลการดําเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น

(ปรับปรุง ณ วันท่ี 28 กรกฎาคม 2560)

3 ซม.

“ตัวอย่างปก”

3.5 ซม. ตราสญั ลกั ษณโครงการฯ ขนาด 2.5 x
3.5 เซนตเิ มตร
จดั วางตําแหนงไวก ง่ึ กลางหนา กระดาษ
สีตามตน ฉบับ

เวน 4 บรรทดั 2.5 ซม.

โครงการอนุรกั ษพนั ธกุ รรมพืชอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ ใหพิมพห า งจากสัญลกั ษณ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี 1.5 เซนตเิ มตร ตวั อกั ษร
TH SarabunPSK
เวน 1 บรรทดั ขนาด 18 ตวั หนา

งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ตวั อกั ษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตวั หนา

เวน 4 บรรทดั 2.5 ซม.

3 ซม. รายงานผลการดําเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ตวั อกั ษร TH SarabunPSK
ประจําปก ารศกึ ษา …..….. ขนาด 16 ตัวหนา

เวน 4 บรรทดั

สนองพระราชดํารโิ ดย ตวั อักษร TH SarabunPSK
............................................................... ขนาด 18 ตวั หนา

เวน 2 บรรทดั ตัวอกั ษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตวั หนา
ตําบล..................อําเภอ ................... จังหวดั ................. (วันทใี่ หใ ชต ามตัวอยา ง พ.ศ
วันที่ 1 มถิ ุนายน พ.ศ. ……… ตามปท ่ีสง รายงาน)

3 ซม.

ตัวอกั ษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตวั หนา

กิตติกรรมประกาศ

ขอบคุณโครงการอนรุ ักษพันธุกรรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ที่ไดใหแนวทางในการจดั การเรียนรู
..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………(ควรระบุชอื่ – นามสกุล คณะท่ีปรกึ ษาฯ และเจาหนา ที่ อพ.สธ.)

ตัวอักษร TH SarabunPSK
ขนาด 16 ตัว ปกติ

โรงเรียน............................................................

ตัวอักษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตวั หนา

คํานาํ

…………………………………………………………………………………………………....................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………....................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………………………………...…...........
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................

ตัวอักษร TH SarabunPSK โรงเรยี น............................................................
ขนาด 16 ตัวปกติ

สารบญั (ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 18 ตวั หนา)

กติ ติกรรมประกาศ หนา

คาํ นํา ข
ค–ง
สารบญั จ

สารบญั ภาพ
....-....
สารบญั ตาราง ....-....

บทนาํ
ความสาํ คัญและที่มา
วัตถปุ ระสงคของการรายงานผล
1.1 โรงเรยี น และชมุ ชนมสี วนรว ม ในงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน
1) รายงานการประชมุ

- วาระการประชุมเร่ืองเกย่ี วกับงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ... - ...

- รายชอ่ื ลายมือชื่อ คณะกรรมการสถานศกึ ษา และ หรอื คณะกรรม การสถานศึกษา

ข้ันพนื้ ฐานและ หรอื กรรมการสภามหาวิทยาลยั หรอื คณะกรรมการอืน่ ใดท่เี กย่ี วขอ ง

กับงานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน ... - ...

2) หลกั ฐานทแ่ี สดงถึงการมสี วนรว ม

- บนั ทึกการประชมุ ... - ...

- ภาพถาย ... - ...

1.2 แตง ตง้ั คณะกรรมการดาํ เนนิ งาน งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน

1) คาํ สัง่ แตงต้งั ในแตละป ตองระบหุ นา ที่ของคณะกรรมการดําเนนิ งานใหชัดเจน ... - ...

2) การดาํ เนินงาน 5 องคประกอบงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ... - ...

3) สาระการเรียนรพู ชื ศกึ ษา (ธรรมชาตแิ หงชีวติ สรรพส่ิงลวนพนั เกยี่ ว ... - ...

ประโยชนแ ทแ กม หาชน)

สารบญั (ตัวอกั ษร TH SarabunPSK ขนาด 18 ตัวหนา)

หนา
1.3 วางแผนการบริหารและแผนการจดั การเรียนรู

1) แผนการดาํ เนินงานดา นการบริหาร โดยเขยี นแผนงานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน

รวมกับแผนงานประจาํ ปข องโรงเรยี น แสดงรายละเอียดงาน ระยะเวลา

งบประมาณ ผูรบั ผิดชอบ ... - ...

2) การจดั ทําปฏิทินการปฏบิ ัตงิ าน ... - ...
3) แผนการจดั การเรียนรู โดยเขยี นแผนบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน

แสดงใหเห็นวธิ ีการจัดการเรียนรอู ยา งชดั เจนในทุกระดับชน้ั และทกุ กลมุ สาระการเรยี นรู

1.4 ดาํ เนินงานตามแผน การประสานงานของคณะกรรมการดาํ เนนิ งาน

งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น หนว ยงานตา งๆ

1) เอกสารสรปุ คาใชจายในการดําเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรยี น ลงนาม

ชอ่ื ผบู ริหาร หวั หนางาน ... - ...

2) หนงั สอื เชญิ ประชมุ ... - ...

3) หนังสือขอบคณุ ผรู วมประชุม ... - ...

1.5 สรปุ และประเมนิ ผลการดําเนนิ งาน

1) ผลการดําเนินงาน 5 องคประกอบงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ... - ...

2) ผลการดาํ เนินงานสาระการเรียนรู ธรรมชาติแหง ชวี ิต สรรพสงิ่ ลวน

พันเก่ยี ว ประโยชนแทแ กม หาชน ... - ...

สารบญั ( ตอ ) (ตัวอกั ษร TH SarabunPSK ขนาด 18 ตัวหนา)

หนา

1.6 วเิ คราะหผ ลและปรับปรงุ พฒั นางาน

1) วเิ คราะหปญ หา และหาขอสรปุ .. - ...

2) วางแผน ปรบั ปรุง และพฒั นาการดาํ เนนิ งานในปตอ ไป ... - ...

อางองิ ... - ...

ภาคผนวก (ในกรณีเลมใหญแ ละหนาเกินไป สามารถแยกภาคผนวกอีกเลม ได โดยตองทาํ สารบัญ

ภาคผนวกเพิม่ เติม)

ตวั อยางพรรณไมและการศึกษาพรรณไม ... - ...
ทะเบียนพรรณไมแ ละภาพถา ยพรรณไม ... - ...
ปา ยช่ือพรรณไมสมบรู ณ ... - ...
ตัวอยา งภาพวาดทางพฤกษศาสตร ... - ...
ตัวอยา ง ก.7-003 หนาปก – หนา ที่ 10 ( พชื ศึกษา ) ... - ...
แผนการจดั การเรียนรู ใบงาน ผลงาน และภาพถายประกอบกจิ กรรม
กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ... - ...
แผนการจัดการเรยี นรู ใบงาน ผลงาน และภาพถายประกอบกจิ กรรม
กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ... - ...
แผนการจดั การเรยี นรู ใบงาน ผลงาน และภาพถายประกอบกิจกรรม
กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ... - ...
แผนการจัดการเรยี นรู ใบงาน ผลงาน และภาพถายประกอบกจิ กรรม
กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ... - ...
แผนการจัดการเรยี นรู ใบงาน ผลงาน และภาพถา ยประกอบกจิ กรรม
กลมุ สาระการเรยี นรูวชิ าสุขศกึ ษาและพละศึกษา ... - ...
แผนการจดั การเรียนรู ใบงาน ผลงาน และภาพถา ยประกอบกจิ กรรม
กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ ... - ...

แผนการจดั การเรียนรู ใบงาน ผลงาน และภาพถา ยประกอบกิจกรรม ... - ...
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชพี และเทคโนโลยี ... - ...
แผนการจดั การเรยี นรู ใบงาน ผลงาน และภาพถายประกอบกจิ กรรม
กลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ

คูม อื การจัดทาํ
รายงานผลการศึกษา

(พืชศกึ ษา)

(ปรบั ปรุง ณ วันที่ 28 กรกฎาคม 2560)

3 ซม.

“ตัวอย่างปก”

3.5 ซม. ตราสญั ลักษณโ ครงการฯ ขนาด 2.5 x
3.5 เซนตเิ มตร
จัดวางตําแหนงไวก่งึ กลางหนากระดาษ
สตี ามตนฉบบั

2.5 ซม.

เวน 4 บรรทดั ใหพ ิมพหา งจากสญั ลักษณ
1.5 เซนติเมตร ตวั อักษร
โครงการอนุรกั ษพนั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ TH SarabunPSK
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ขนาด 18 ตวั หนา

เวน 1 บรรทดั งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น

ตัวอักษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตัวหนา

เวน 4 บรรทดั 2.5 ซม.

3 ซม. รายงานผลการศึกษาพชื ศกึ ษา ตัวอักษร TH SarabunPSK

ประจาํ ปก ารศึกษา …..….. ขนาด 16 ตวั หนา

เวน 4 บรรทดั

สนองพระราชดําริโดย ตวั อักษร TH SarabunPSK
............................................................... ขนาด 18 ตวั หนา

เวน 2 บรรทดั ตวั อักษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตวั หนา
ตําบล..................อําเภอ ................... จังหวดั ................. (วันทใ่ี หใ ชต ามตัวอยาง พ.ศ
วันที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. ……… ตามปท ี่สงรายงาน)

หมายเหตุ: ใชก ระดาษปกแข็งสขี าวลวน ไมมลี วดลาย เขา รูปเลม

3 ซม.

ตวั อกั ษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตวั หนา

โครงการอนุรกั ษพันธุกรรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น ตัวอักษร TH SarabunPSK
สนองพระราชดาํ ริโดย ขนาด 16 ตัวหนา

โรงเรียน .............................. ตําบล ............. อําเภอ................. จงั หวดั ..................... รหัสไปรษณีย
..........
ตวั อักษร TH SarabunPSK บทคดั ยอ 1. แตล ะยอ หนา เขยี นบรรยายสรุป
ขนาด 16 ตัวปกติ เรื่อง รายงานผลการศกึ ษาพืชศึกษา สน้ั ๆ แตครอบคลุมเนื้อหา

2. ใชภาษาท่ีกะทัดรัดไดใจความ

(ชือ่ พชื ).........................................................................................

ยอ หนา ท่ี 1 กลา วถึง ที่มา ความสําคัญ และวัตถุประสงค ในการนาํ พชื ศึกษา มาใชใ นการศกึ ษา
............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ยอหนา ท่ี 2 กลา วถึง จํานวนกลุมนักเรียนผรู วมปฏิบตั ิ บคุ ลากร ระดบั ชัน้ รวมถึงวิธีการ ข้ันตอน
การบรู ณาการพืชศึกษาสูการเรยี นการสอน กลุมสาระการเรียนรใู ดบา ง ศกึ ษาอยางไร........................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

ยอ หนา ที่ 3 กลาวถงึ ผลการเรยี นรูท่ไี ดจากการใชพืชศกึ ษาในการบรู ณาการสกู ารเรยี นการสอน ผลใน
ดานตา งๆ ที่เกิดข้นึ กับ นกั เรียน บคุ ลากร ชุมชน.....................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ตัวอักษร TH SarabunPSK ตัวอกั ษร TH SarabunPSK
ขนาด 16 ตัวปกติ ขนาด 18 ตัวหนา

กิตติกรรมประกาศ

ขอบคุณบุคคลตางๆ ท่ีทําใหงานสําเร็จไดไปดวยดี ไดแก บุคคล หนวยงาน ท่ีใหความรวมมือ ใหความ
ชว ยเหลอื ในดา นตา งๆ โดยระบถุ งึ บทบาทในการชว ยเหลอื ในแตล ะบุคคลกํากับไว (ควรระบชุ ่ือ – นามสกุล)
ตัวอยาง ขอบคุณโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ที่ไดใหแนวทางในการจัดการเรียนรู บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน ขอบคุณที่
ปรกึ ษาฯ และเจา หนาท่ี อพ.สธ. ท่ไี ดใหคําปรึกษา แนะนํา อีกท้ังไดตรวจสอบเอกสาร และขอขอบคุณผูบริหาร
สถานศึกษา ทีไ่ ดสนบั สนุนงบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ การอํานวยความสะดวก และขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชน
ตลอดจนขอขอบคุณคณะกรรมการโรงเรียน คณะครู นักเรียน บุคลากร สนับสนุนของโรงเรียน ผูปกครอง ภูมิ
ปญญาทอ งถนิ่ รวมถงึ ผทู ม่ี สี ว นเกย่ี วขอ งทุกทา น ท่ีเปน กาํ ลงั สําคัญ ในการดําเนนิ งานจนทาํ ใหผลการดําเนินงาน
ของโรงเรยี นสําเร็จลลุ วงไปดว ยดี

1. การเขียนกลาวขอบคุณ ควรกระชับได
ใจความ ไมยดื เยอื้ แตใ หรายละเอยี ดครบ
2. สามารถเขยี นได 1 – 2 ยอ หนา

คณะกรรมการดาํ เนนิ งาน
งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน
โรงเรียน............................................................

ตวั อักษร TH SarabunPSK

คํานาํ ขนาด 18 ตวั หนา

ยอ หนา ท่ี 1 กลาวถึง ความเปนมา จดุ ประสงค เหตผุ ลของการทาํ รายงานฉบับน้ี หรือกลาวถึงแรง
บันดาลใจ กลา วเชญิ ชวนใหผอู า นอยากอา นรายงานเลม นี้ (เขียนสรปุ คราวๆ) และโยงเขาสเู น้ือหายอหนาถดั ไป
...............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

ยอหนาที่ 2 กลาวถึงรายงานประกอบดวยเนื้อหาอะไรบาง ดึงมาเฉพาะประเด็นท่ีนาสนใจ เพ่ือ
ชกั ชวนใหผอู า นติดตาม และกลาวถงึ แหลง ท่มี าของเนือ้ หารายงาน รวบรวมผลการเรียนรูจากการศึกษาของใคร
(นักเรียน)หรือการรวบรวมคนควา จากหนังสือใด เพื่อประกอบการเขียนรายงานใหสมบูรณ
....................................................................................................................................................

ยอหนาท่ี 3 กลาวถงึ ประโยชนทผ่ี อู า นจะไดรบั จากการอานรายงานฉบับนี้ พอสังเขป........................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ตัวอักษร TH SarabunPSK
ขนาด 16 ตวั ปกติ

คณะกรรมการดาํ เนนิ งาน
งานสวนพฤกษศาสตรโ รงเรียน
โรงเรียน............................................................

สารบัญ (ตวั อักษร TH SarabunPSK ขนาด 18 ตวั หนา)

บทคดั ยอ หนา
กติ ติกรรมประกาศ ก
คํานํา ข
สารบญั ค
สารบญั ภาพ ง-จ
สารบญั ตาราง ฉ
บทท่ี 1 บทนํา ช

1.1 ความสาํ คญั และทม่ี า ....-....
1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา.....(ชอ่ื พชื ) ....-....
1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา (ศึกษา ราก ลําตน ใบ ดอก ผล เมลด็ ฯลฯ) ....-.....
บทที่ 2 การตรวจเอกสาร (แสดงท่ีมาของขอ มูลพืชที่ไดจ ากการสืบคน ) ....-....
บทท่ี 3 อุปกรณ และวธิ กี าร ....-.....
บทท่ี 4 ผลการศึกษา ....-.....
บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา ....-.....
เอกสารอางองิ ....-.....
ภาคผนวก
- ตวั อยาง (เรยี งตามระดบั ชนั้ ในแตละกลมุ สาระ) ... - ...
แผนการจดั การเรยี นรู ใบงาน และผลงาน กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ... - ...
แผนการจัดการเรยี นรู ใบงาน และผลงาน กลุมสาระการเรียนรูค ณติ ศาสตร ... - ...
แผนการจดั การเรียนรู ใบงาน และผลงาน กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร
แผนการจัดการเรยี นรู ใบงาน และผลงาน กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ... - ...
ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรียนรู ใบงาน และผลงาน กลุมสาระการเรียนรูสขุ ศกึ ษา ... - ...
และพละศึกษา
แผนการจดั การเรยี นรู ใบงาน และผลงาน กลุมสาระการเรียนรู ... - ...
ภาษาตางประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู ใบงาน และผลงาน กลุมสาระการเรียนรู ... - ...
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ... - ...
แผนการจัดการเรยี นรู ใบงาน และผลงาน กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ

- ภาพประกอบและกิจกรรมการศึกษา

เลขหนาอยชู ดิ ขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

แนวทางหรือหลักการเขียน 1.1 บทท่ี 1 ตัวอักษร TH SarabunPSK
(ก) เขียนถึงวตั ถปุ ระสงค์และความ ตอ้ งการในการศึกษา ยก บทนํา ขนาด 18 ตวั หนา
พระราชดํารสั ฯ คํานิยาม ใหเ้ ห็นความสําคญั ต่อการศึกษาในครงั้ นี้
(ข) ระบปุ ัญหาศึกษาในรูปคําถามหรือประโยคบอกเล่าก็ได้
(ค) เขียนใหม้ ีการอา้ งอิงข้อมูลจากการศึกษาคน้ ควา้
(ง) เขียนให้เห็นความสําคญั เชิงประโยชน์หรือเชิงโทษทีจ่ ะไดร้ บั
(จ) เขียนความยาวประมาณ 6-10 บรรทดั

1.1 ความสําคญั และที่มา ( ชดิ ขอบซา ย TH SarabunPSK หนา ขนาด 16 )
ยอ หนาที่ 1 จุดเร่มิ ตนและความสาํ คัญในการเขารว มสนองพระราชดํารฯิ ของโรงเรียนกับหนวยงานใด

กิจกรรมใดของการสนองพระราชดําริฯ (วัน/เวลา/สถานท่ี) วิธีการเขารวมสนองพระราชดําริฯ โดยเขียนหรือชี้
ประเดน็ ใหเห็นถึงแรงบันดาลใจ ความตระหนัก ความสาํ คญั ตอการสนองพระราชดํารฯิ ในครง้ั นี้

ยอหนาที่ 2 เขียนเสนอประเด็นความสําคัญในการนําพืชศึกษาบูรณาการการเรียนการสอน มี
วัตถุประสงคอยางไรในการศึกษาพืชศึกษาชนิดนี้ ทําไมตองศึกษาพืชชนิดนี้ การศึกษาพืชชนิดน้ีเกี่ยวของกับ
บุคคล ส่ิงแวดลอม และ สถานการณในปจจุบันอยางไร มีบุคคลใดเคยศึกษามาบาง ไดคนควาความรู
ประกอบการศึกษาจากแหลงใดบาง รวมถึงกลาวถึงวิธีการบูรณาการสอนอยางไร กับใคร ท่ีไหน สรุปส้ันๆได
ใจความ

1.2 วัตถปุ ระสงคข องการศกึ ษา ( ชดิ ขอบซา ย TH SarabunPSK หนา ขนาด 16 )
1.เพอื่ ศึกษาลกั ษณะทางพฤกษศาสตร ดานรปู ลกั ษณ ราก ลาํ ตน ใบ ดอก ผล และเมลด็
2.เพอ่ื ศึกษาลักษณะทางนเิ วศวิทยา
3.เพ่อื ศึกษาการขยายพันธุ การดแู ลรักษา การเจรญิ เตบิ โต
4.เพ่ือศึกษาการนาํ ไปใชป ระโยชน
(เวน 1 บรรทัดพิมพ ขนาด 16 )

1.3 ขอบเขตของการศึกษา( ชดิ ขอบซาย TH SarabunPSK หนา ขนาด 16 )
กลา วถึงวิธกี ารขั้นตอนการศึกษาพชื ศึกษาตั้งแตตนจนจบแบบสรุป โดยเนอื้ หากลา วถึง ศึกษา

อะไรบาง สวนใด ศึกษาเรื่องใด มีวธิ กี ารบูรณาการเขากลมุ สาระใด วิธีการบูรณาการกอนและหลังการสอนมี
ขน้ั ตอนอยา งไร ใชอะไรเปนสื่อเรยี นการสอน โดยตอ งอางถึง บคุ คล อปุ กรณ วิธีการ ที่มีในเนอื้ หา (เขยี นสรปุ
เปน เรยี งความยอหนาเดยี ว).........................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................

เลขหนา อยชู ดิ ขอบขวาหนา กระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

บทท่ี 2 ( จัดกลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18 )

การตรวจเอกสาร ( จดั กลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18 )

ในสว นน้ีเปน การเขียนเก่ยี วกับสง่ิ ทโ่ี รงเรยี นไดมาจากการศึกษาคน ควาและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ ง ดังน้นั
ในสวนนจี้ งึ ประกอบไปดว ย แนวคดิ ทฤษฎี หลักการ ขอ เทจ็ จรงิ แนวความคดิ ของผูร ู และผลงานการศึกษา
ท่เี ก่ยี วของ จากแหลง ตางๆ แลว เขยี นใหเ ปนเรือ่ งเดยี วกนั โดยท้ังหมดทกี่ ลาวถึงนี้จะตองสัมพนั ธก ับการศึกษา
พชื ศกึ ษาของทางโรงเรยี นเอง ซึ่งการตรวจสอบเอกสารชว ยใหทราบผลงานการศึกษาของผูเช่ยี วชาญทผี่ า นมามี
การศกึ ษากวา งขวางมากนอยแคไหน ในแงมมุ ใด ผลการศึกษาเปน เชนไร ซ่ึงเปนหลักฐานสําคญั ท่จี ะนาํ มา
ประกอบเหตผุ ลในการต้ังสมมติฐานของผูวจิ ัยและนาํ มาประกอบเหตผุ ลในการอภิปรายผลการวจิ ยั (สามารถ
เขยี นไดห ลายหนา)
หลกั การเขียน
1. เขียนเปน บทความเรียงความเปน เรือ่ งๆ เดียวกนั แมจ ะคน ความาจากหนงั สอื หลายเลมก็ตาม โดยอาจยก
บทความการศกึ ษามา แลวมาเขียนตามความเขา ใจ แตละตอนมีการสรปุ ดว ยถอ ยคําหรอื ความคิดของผศู ึกษา
เอง
2. เรยี งลาํ ดับเน้อื หาสาระทีไ่ ดจากการคนควา ตามความเหมาะสม โดยจัดลําดับแนวคดิ ทฤษฎที ีเ่ ราจะนําเสนอ
โดยแบงเปนหัวขอ ใหญและหัวขอ ยอยลงไป
3. เสนอแนวคดิ ทฤษฎที ่เี ก่ียวของกบั เรอื่ งทีเ่ ราจะศึกษา แลว ตามดวยงานการศึกษาที่เก่ียวของ
4. มีการวิเคราะหเ ปรยี บเทยี บจุดเดน จุดดอ ยของเอกสาร แลว นําแนวคดิ ที่ไดจ ากการคนควาจากหนงั สอื ของ
ผูอืน่ แลว มาประยุกตก บั พฒั นาศกึ ษาของโรงเรียนดวยวธิ ีใหม
5. การเสนอรายงานทั้งหมดมีใจความถูกตอ ง ตรงตามตนฉบบั ไมล าํ เอียง และมิใชการลอกขอความ
6. รปู แบบการนาํ เสนอถกู ตองตามหลกั ภาษาและหลักการเขยี นเอกสารวิชาการ
7. เมอ่ื นําขอความหรือบทความใดมาเขียนในเน้ือหาแลวให เขยี นอางในเนือ้ หาตามหลังขอความนัน้ ดว ย
แหลงท่ีใชใ นการสืบคน เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วของ
1. ตาํ รา (Text book) 2. รายงานวิจัยพรรณไม (Research Report) 3. วิทยานิพนธห รอื ปริญญานพิ นธ
(Thesis) 4. สารานกุ รม 5. วารสาร (Journal) 6. การสบื คนจาก Internet

เลขหนา อยชู ิดขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

การพจิ ารณาเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ ง
1. คน ควาเอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วของใหมากท่สี ุด ในทุกแงทกุ มุม
2. เอกสารและงานวิจยั ควรจะมคี วามทันสมัย ไมเ กา เกินไป
3. การนาํ เสนองานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วของใหน าํ เสนอเฉพาะทีเ่ กยี่ วของกับประเด็นที่เราจะนําเสนอ

เทา น้ัน
4. พจิ ารณาดวู างานวจิ ยั ทีเ่ รานํามาอางอิงนน้ั มีคุณภาพหรอื ไม
5. ระบบอางองิ ตาง ๆ (ใหเอกสารแนบไวทา ยไฟล)

ตัวอยา งการเขียน การตรวจเอกสาร (เขียนใหเ ปน ตวั อยาง ใหทางโรงเรียนเขียนขึน้ เองไมลอกเลยี นแบบ)
ประเทศไทยมพี รรณไมห ลากหลายชนดิ กระจายอยูในบรเิ วณพนื้ ทตี่ า งๆ ทั่วประเทศ ในทุกๆภาค

บางเปน พรรณไมหายาก บางกเ็ ปนพรรณไมพบงา ยตามทองถนิ่ ปจ จุบนั มนุษยแ ละสง่ิ แวดลอมบนโลกนไ้ี ดใช
ประโยชนจ ากพรรณไมมากมาย ไมวา จะเปน ดานอปุ โภค บรโิ ภค และดา นการคา ขายท่ีนับวนั จะมีความกาวหนา
มากขึ้น แตหารูไมวาการใชป ระโยชนพ รรณไมมากขึ้นแตไมมีการปลกู ทดแทนน้นั จะสงผลใหพ รรณไมเหลาน้ีสญู
พนั ธไุ ป พรรณไมหลายชนิดก็เปน ท่ีรจู ักกนั มาชา นานและมีการใชป ระโยชนจากอดตี ถงึ ปจจุบัน กค็ งไมพน
พรรณไมสมุนไพร ที่มนุษยนยิ มทํายารักษาโรค และรับประทานเปนยาชูกําลังและเสริมความแข็งแรงใหก ับ
รางกายกันอยางแพรห ลายในปจจุบัน

วา นสาวหลง พืชสมุนไพรสาํ คัญหายากชนิดหนง่ึ สันนฐิ านวา กลายพันธตามธรรมชาติมาจากเรวน
เพราะมลี กั ษณะทางสณั ฐานวิทยาตรงกัน โดยเฉพาะดอกและใบท่คี ลา ยกันจนไมสามารถแยกไดดว ยตาเปลา
วา นสาวหลงพบไดใ นที่ตางๆในประเทศไทย ข้ึนเปนหยอมๆ ทีพ่ บการสํารวจมากที่สุดที่เขาใหญ จังหวัด
นครราชสมี า ดอยภคู า จงั หวัดนาน และปา คําชะอี จังหวัดมกุ ดาหาร (พงษศักด์ิ และ ยุทธนา, 2552) ไมม ี
รายงานวาพบวา นสาวหลงในตา งประเทศ พรรณไมช นิดน้ีสามารถใชสว นตางๆ นาํ มาทําเปน ยารักษาโรคได จึง
ทําใหเ ปนท่สี นใจในกลุมปราชญช าวบา นและนกั วจิ ยั เปน อยางมาก โดยมีการศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร
ของวา นสาวหลงไวเ ปน ขอมูลเบอ้ื งตน เพ่ือเปนฐานขอมลู ในการจาํ แนกออกจากพรรณไมชนดิ อืน่ จากการศกึ ษา
ของ กมลา โสภณ (2556) ทําการศกึ ษาและสาํ รวจช่ือและลักษณะพฤกษศาสตรของวานสาวหลง จากทุกท่ัว
ประเทศไทย พบวา มชี ื่อพ้นื เมืองเรียกตามทองถิน่ แตกตางกัน คือ วานสาวหลง ฤษผี สม ฤษสี ราง (ภาคกลาง)
วา นมหาเสนห  (ภาคใต) ช่ือวิทยาศาสตร Amomum biflorum Jack วงศ ZINGIBERACEAE ลกั ษณะทาง
พฤกษศาสตร คือ ไมล ม ลุกท่ีมีเหงา ใตด นิ แตกแขนงคลายไหลทอดไมย าว มกี ลิน่ หอม ใบเปน ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั
รปู รแี กมขอบขนาน ขนาดกวา งประมาณ 5-8 ซม. ยาวประมาณ 20-30 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม เกลียวบดิ
เล็กนอ ย โคนใบสอบหรือมน สเี ขยี วเขมกวาดา นลาง เสน กลางใบดา นบนเปนรองเลก็ นอย สเี ขยี วออ น ดา นลา ง
นนู สเี ดยี วกับสีแผนใบ ผิวใบเวา นูนเปน คลืน่ มรี อ งแถบต้ืนตามแนวระหวา งเสนแขนงใบที่เรยี งเปนแนวเอยี ง
ดา นบนเปนแถบเวาตรงกลาง แนวเสน แขนงใบนูนยกสงู ขนึ้ หลงั ใบมขี นนมุ สีเขียวออน มกี าบใบหมุ โคนตน
กา นใบ ยาว 0.5-2 ซม. ดานบนเปนรอ ง สีเขียวแกมเหลือง ดา นลางนนู กลม สเี ขียวแกมน้ําตาลแดงหรือสีเขียว
โคนกานเปน กาบเรียงซอ นกนั แนน มีขนยาวสีเขียวหรือเขียวแกมนาํ้ ตาลแดง ดอกออกที่ไหลใกลโ คนตน ดอกสี

เลขหนาอยูช ิดขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16
ขาว กลีบประดบั หมุ ชอดอก กลบี เลี้ยง โคนเชอ่ื มเปนหลอด กลีบดอก โคนเชื่อมเปน หลอด สขี าวใส ปลาย
แยก 3 หยัก สีขาว เกสรเพศผูสวนทเี่ ปนกลบี อยบู นปลายกลบี ดอก เปนกลบี ปาก สขี าวตรงกลางกลีบมแี ถบสี
เหลอื งถงึ ปลายกลีบ กา นเกสรและอับเกสรสขี าว และยงั พบวาผลการศกึ ษาของนกั พฤกษศาสตรคนอน่ื ๆ ได
ศึกษาลักษณะพฤกษศาสตรของวา นสาวหลงโดยมขี อมลู ทางพฤกษศาสตรท ่ใี กลเคยี งกนั แมวา จะพบในพน้ื ท่ีท่ี
ตา งกนั อาทิ ลักษณะตน เทียมเกดิ จากกาบใบอัดกันแนน ใบ เด่ียว เรยี งสลบั ใบเปนรูปใบหอกแคบ ปลายใบ
เรยี ว แหลม ขอบใบบดิ ซึ่งพบในบริเวณปา ดิบช้นื ภาคใต (สทุ ธิลกั ษณ อําพันวงศ, 2550, หนา 3 -7) ดอกสขี าว
เปนชอออกจากไหล ชูขนึ้ เหนือพน้ื ดิน ทุกสวนมกี ลน่ิ หอม (ส.เปลยี่ นส,ี 2552, หนา 103) คลายกับการศกึ ษา
ของ พะยอม และคณะ (2551) พบวา วา นสาวหลงมลี ักษณะตน และใบคลา ยขา แตว า มีขนาดเล็กกวาขามาก
รากคลา ยหญา คา ขนาดยาวเล้ือยชอนไชไปตามผวิ ดิน ใบแหลม ทองใบหรือหลังใบ มีขนจาํ นวนมากทว่ั ใบ มหี วั
หรือเหงา อยูใตด นิ ดอกชอ ๆสีขาวแกมเหลือง กล่นิ หอมรนุ แรงมาก ทุกสวนทงั้ ใบ ตน มีกลิน่ หอมแรง โดยรากที่
คลายหญา คา สนี ํ้าตาล เปนลักษณะพิเศษท่ีใชจําแนกจากพืชชนดิ อน่ื ๆ เปน ตน

จากการศึกษาวานสาวหลงเปนพรรณไมท ี่ไมอันตรายและมีประโยชน มขี อมูลลกั ษณะทางพฤกษศาสตร
ทม่ี กี ารศกึ ษาจากนักพฤกษศาสตรจนมีบทความตีพิมพใ หความรกู นั อยางแพรหลาย จงึ ทาํ ใหกลมุ ของนักวิจัย
นกั ศึกษา และชาวบา นเร่มิ หันมาสนใจพรรณไมชนิดนีม้ ากข้ึน แตบางกลมุ ทีม่ ีการนาํ วา นสาวหลงมาปลกู ตาม
ความเชอ่ื สมยั บรรพบุรุษเชน ใชเ ปน วานเมตตามหานยิ ม ปลกู ไวใ นบา นเรือนเปนสริ มิ งคล ทํามาคาขน้ึ ชว ยเรยี ก
ลกู คาเขารานดี เพราะเปนทสี่ ะดุดตามหานยิ ม นาํ หัวหรือรากมาผสมสผี ึ้งหรือน้าํ มันจนั ทนทาตัว ทาผม จะทําให
ผูค นเมตตารักใคร จะเจรจาส่ิงใดกจ็ ะสมความปรารถนา (เสนห วานสาวหลง, ม.ป.ป) บางตาํ รากลาว เอาราก
ของวา นนม้ี าฝนหรือบดผสมกับสผี ึ้ง หรือแชนาํ้ มนั จันทน หรือเพยี งแตเอารากของวา นนี้ถือติดตวั ไป ผคู นทั้งปวง
กจ็ ะพากนั งวยงงหลงรักใครใ นผูทม่ี วี า นหรือทาน้าํ มันหรอื สีผึ้งที่เขาวา นจนหมดสิน้ (พรรณเนตร แกนสวัสดิ์, ม.
ป.ป) นอกจากการปลกู เปนศิริมงคลแลวยงั มกี ารนาํ วา นสาวหลงมาวิจัยผลในเชิงวิทยาศาสตร อาทิ การศึกษา
ของ สนุ ีย จนั ทรส กาว (2553) พบวา วา นสาวหลง เมอื่ นาํ มาเขา สกู ระบวนการทํา “น้ํามันหอมระเหย” จะสง
กล่นิ หอมทั้งใบและราก ใหประโยชนบํารุงผิวพรรณ ตา นอนุมูลอิสระ สดู ชว ยผลผอนคลาย ไมพ บความระคาย
เคืองตอผิวหนงั จากผลการวิจยั คา เฉลีย่ ของรอ ยละน้ํามันหอมระเหยจากสว นตางๆ เชน ใบ และลาํ ตนใตด นิ มี
คา เทา กบั 0.98 โดยพบวามีสว นของสาร 1-butenyl anisole เปน องคป ระกอบหลกั และมสี ารท่ีมฤี ทธิ์ตาน
อนุมูลอิสระจากสว นใบ และลาํ ตนใตดนิ ทใ่ี หผ ลดีอยางมาก นอกจากนยี้ งั พบวาวา นสาวหลงยงั สามารถใชเ ปนภูมิ
ปญ ญาในการถนอมอาหารได เชน การนาํ วานสาวหลงตม กับนํา้ ทใี่ สเ กลือ สีน้ําออกสีชมพู แลว ใสไ ขไ กหรือไข
เปดลงไปเพือ่ ทําไขเค็ม ไขท ี่ไดจะรสชาติดแี ละมสี ีของเปลอื กไขท น่ี า รับประทาน (คาํ นึง ชนะสิทธ์ิ,
ม.ป.ป)...................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

เมื่อมีการนําวา นสาวหลงมาใชประโยชนม ากขน้ึ วา นสาวหลงอาจสญู พันธไปไดจ ึงมกี ารนํามาปลกู
ทดแทนกันอยา งมากในหมูเ กษตรกร ปราชญชาวบา น ทจี่ ดั ตัง้ กลุมอนุรกั ษพรรณไม สมนุ ไพรโบราณ เพื่อมิให
สูญหายไป โดยวิธกี ารปลกู จะตองปลกู ในพนื้ ที่ สภาพแวดลอม ตางๆ ทีเ่ หมาะสม จึงมีการศกึ ษาธรรมชาติของ
การปลกู วานสาวหลงอยา งไรใหถกู วิธแี ละไดผ ลผลติ สงู ในป 2549 อําพล เอยี่ มวงศ ทาํ การศึกษาธรรมชาติของ
วา นสาวหลงกอนการสาธติ ปลูกจรงิ พบวา.............................................................................................................

เลขหนา อยูชิดขอบขวาหนา กระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

เลขหนาอยูชดิ ขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16 point

บทท่ี 3 ( จดั กลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18 )

อปุ กรณและวิธกี าร ( จดั กลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18 )

รูปแบบการเขียน
1. นําเสนอทกุ กลุมสาระ ใหเสนอทีละกลมุ สาระ โดยมผี ังมโนทัศนข้ึนกอนตามกลุมสาระ
2. ในแตล ะกลุ มสาระตองมีทุกระดบั ชัน้ (ใชแ ผนการจดั การเรยี นการสอนที่มกี ารบรู ณาการพืช
ศึกษา ทม่ี ีกิจกรรมเปนหลัก) โดยนาํ เสนอ แสดงรายการวัสดุ อปุ กรณ เครื่องมือที่ใชในการเรียนรู
ทง้ั หมด วิธกี าร ข้ันตอนปฏิบัติกอ นและหลังการสอนในแตละกิจกรรม
3. ในแตละกลุมสาระ นําเสนอการบูรณาการระดับชนั้ จาํ นวนเรอื่ งที่นาํ เสนอตามผังมโนทศั นท ี่
ปรากฏ

ตวั อยางรูปแบบ การบรู ณาการสอนกลุม สาระวิชาวิทยาศาสตร

ผังมโนทัศน กลุมสาระวิชาวิทยาศาสตร

เลขหนา อยูช ดิ ขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

วธิ กี ารศึกษา
กจิ กรรมบรู ณาการกลุมสาระวชิ าวิทยาศาสตร

วธิ กี ารเตรียมกอ นการลงสูการสอน (ภาพรวม)
1. ประชมุ หวั หนากลุม สาระวิทยาศาสตร เรอื่ งการหาวธิ ีการบรู ณาพืชศึกษา เขาสกู ารเรียน
การสอน
2. เขยี นแผนการจัดการเรียนการสอน...................................................................................
3. .........................................................................................................................................

1. เรือ่ ง/กจิ กรรม ..การศกึ ษาลกั ษณะภายนอกของลาํ ตน วานสาวหลง .ระดับช้ัน ประถมศึกษาปท่ี 3

อปุ กรณ/สือ่ การสอน 2. ส่อื การสอน บอรด ความรวู านสาวหลง
1. แผนการจดั การเรียนการสอน 4. ใบงานเรอื่ ง.......................................
3. คอมพิวเตอร 6. .ดนิ สอ ไมบรรทดั ยางลบ
5. ใบความรู

วธิ ีการศึกษา และปฏิบัติ
1. .......................................................................................................................................
2. ........................................................................................................................................
3. .........................................................................................................................................
4. .........................................................................................................................................

2. เร่อื ง/กจิ กรรม ............................................................... .ระดับชนั้ ..........................................

อปุ กรณ/สือ่ การสอน 2. ............................................................
1. .................................................. 4. ............................................................
3. .................................................. 6. ...........................................................
5. ..................................................

วิธีการศกึ ษา และปฏิบตั ิ
1. .......................................................................................................................................
2. ........................................................................................................................................
3. .........................................................................................................................................
4. .........................................................................................................................................
การบูรณาการสอนกลมุ สาระวิชา......................................

ผังมโนทัศน กลุมสาระวิชา...........................................

วธิ กี ารศึกษา กจิ กรรมบรู ณาการกลมุ สาระวชิ า......................................

วิธีการเตรียมกอ นการลงสูการสอน (ภาพรวม)
1. ประชมุ หัวหนา กลุมสาระวิทยาศาสตร เรอื่ งการหาวิธีการบรู ณาพืชศึกษา เขาสูการเรียน
การสอน
2. เขียนแผนการจัดการเรียนการสอน...................................................................................
3. .........................................................................................................................................

1. เรอ่ื ง/กจิ กรรม ................................................................ระดบั ชน้ั ..........................................

อปุ กรณ/สอื่ การสอน 2. ส่ือการสอน บอรดความรวู านสาวหลง
1. แผนการจดั การเรยี นการสอน 4. ใบงานเรอ่ื ง.......................................
3. คอมพิวเตอร 6. .ดินสอ ไมบรรทัด ยางลบ
5. ใบความรู

วธิ ีการศึกษา และปฏิบตั ิ
1. .......................................................................................................................................
2. ........................................................................................................................................
3. .........................................................................................................................................
4. .........................................................................................................................................

2. เรือ่ ง/กจิ กรรม ............................................................... .ระดับชนั้ ..........................................

อุปกรณ/ ส่ือการสอน 2. ............................................................
1. .................................................. 4. ............................................................
3. .................................................. 6. ...........................................................
5. ..................................................

วิธกี ารศึกษา และปฏิบตั ิ
1. .......................................................................................................................................
2. ........................................................................................................................................
3. .........................................................................................................................................
4. .........................................................................................................................................

3. เรื่อง/กิจกรรม ............................................................... .ระดับช้นั ..........................................

อปุ กรณ/ สื่อการสอน

1. .................................................. 2. ............................................................

3. .................................................. 4. ............................................................

5. .................................................. 6. ...........................................................

วธิ ีการศึกษา และปฏิบตั ิ

1. .......................................................................................................................................

2. ........................................................................................................................................

3. .........................................................................................................................................

4. .........................................................................................................................................

________________________________________________________________________________

เลขหนา อยชู ดิ ขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

บทท่ี 4 ( จดั กลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18)
ผลการศกึ ษา ( จัดกลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18)

ขอ มลู ที่ควรใส
1. เกร่ินนําหรอื บรรยายเก่ยี วกับผลการศึกษาทส่ี อดคลองตามวตั ถปุ ระสงคแ ละวธิ ีการ ท้ัง 4 ขอ (บท

ที่ 1)
2. นําเสนอผลการศึกษาตามกลุมสาระ ในแตล ะกิจกรรม แตละระดับช้ัน ตามวธิ กี ารท่ีปรากฏในบทท่ี

3 (ผลการศึกษาทใี่ สใ นบทที่ 4 จะสัมพันธกับวิธกี ารบทท่ี 3)
3. ผลการศึกษาจากชน้ิ งานนักเรียน ใหครูพิมพผลการศึกษา ใสล งไปในแตละกจิ กรรม

(ไมตองแสกนช้นิ งานนกั เรยี นใส)
4. ในกรณีท่มี ภี าพประกอบผลการศกึ ษา ใหแ สกนมาจากชิ้นงานนักเรยี น (เฉพาะผลการศึกษาท่เี ปน

ภาพวาด ภาพถาย) และภาพท่ีถา ยจรงิ เพอื่ เปรียบเทยี บ
5. ใสภ าพกจิ กรรมทีน่ กั เรียนกําลังศกึ ษา

รูปแบบ
จากการบูรณาการพชื ศึกษาสูการเรยี นการสอน 8 กลมุ สาระ ไดแ ก กลุมสาระวิทยาศาสตร กลมุ

สาระตา งประเทศ...................................... และกลมุ สาระภาษาไทย ไดท าํ การศึกษาในหัวขอ ลกั ษณะทาง
พฤกษศาสตร ดานรูปลักษณ ราก ลาํ ตน ใบ ดอก ผล และเมล็ด ลกั ษณะทางนเิ วศวทิ ยา การขยายพนั ธุ การ
ดูแลรักษา การเจริญเติบโต และการนาํ ไปใชป ระโยชน ของวานสาวหลง จากผลการเรยี นรขู องนักเรยี น ผล
การศึกษามีดังนี้

เลขหนา อยูช ดิ ขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

ผลการศกึ ษากลมุ สาระวิชาวิทยาศาสตร
1. เร่อื ง/กจิ กรรม การศึกษาและเรียนรสู ว นตางๆ ของพชื (วานสาวหลง) ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5-6

ผลการศกึ ษา การศึกษาสว นตางๆของ วา นสาวหลง ประกอบดว ย ราก ลําตน ใบ ดอก ผล และเมลด็
พรอ มวาดภาพประกอบแยกสวนตา งๆ ของวานสาวหลงได ดังนี้

1. ลักษณะวสิ ัย ไมลมลุก ตง้ั ตรงเองได

ภาพวาดโครงสรา งภายนอก “วานสาวหลง” ภาพวา นสาวหลง

2. ราก ประกอบดว ยรากแกว สีเหลอื งแกมขาวขนาดยาว ชอนไชตามดนิ รากแขนงท่ีแตกออกมา
จากรากแกว ลกั ษณะเปนเสน เลก็ สขี าวแกมนํ้าตาล

ภาพวาดโครงสรางของราก ภาพถา ยราก

เลขหนาอยูชิดขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

3. ลําตน ทรงกระบอกเรียวยาว สีเขียวปนนาํ้ ตาล ประกอบดวยลาํ ตนเทยี ม ที่เกิดจากกาบใบอดั กนั
แนน

ภาพวาดลําตน ภาพถายลาํ ตน

4. ใบ ใบเดี่ยว เรยี งแบบสลบั รูปหอกแคบ ปลายใบเรียว แหลม ขอบใบบดิ สีเขียว กานใบสีเขยี ว
แกมน้ําตาลอวบน้าํ เสนกลางใบหนา ใบดานบนและดา นลา งมขี นปกคลมุ

ภาพวาด ใบวา นสาวหลง ภาพถา ย ใบวา นสาวหลง

เลขหนา อยชู ิดขอบขวาหนา กระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16
5. ดอก ดอกชอ สีขาว ปลายชอ โคง กลบี ปากดอก สีเหลอื ง ดอกยอยสีเหลอื ง กานดอกยาว

ภาพวาดโครงสรา งภายนอกของดอกวานสาวหลง ภาพถายดอกวานสาวหลง

6. ผล ผลเดยี่ วเปนชอ คลา ยพวงพริกไทย สเี ขยี วแกมนา้ํ ตาล เมล็ด กลม สนี ํา้ ตาล

ภาพวาด ผลวานสาวหลง ภาพถายผลของวา นสาวหลง

2. เรอื่ ง/กิจกรรม .......................................................... ระดับชนั้ ................................................
ผลการศกึ ษา..................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

ภาพประกอบ

เลขหนา อยชู ิดขอบขวาหนา กระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

บทท่ี 5 ( จัดกลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18)
สรปุ ผลการศึกษา จัดกลาง TH SarabunPSK หนา ขนาด 18)

การสรปุ 1. บรรยายสรุปผลการศึกษา โดยเกริ่นนําถงึ วิธีการปฏบิ ัติกอนแลว ตามดวยผลการศึกษา
(สรปุ ภาพรวม) ในแตล ะกลุมสาระ

2. สรปุ ผลการศกึ ษา โดยชป้ี ระเด็นผลการศึกษาทีไ่ ดครอบคลุมวัตถุประสงคหรือไม อยา งไร
3. การสรปุ ผลการศึกษาทด่ี ี ควรมีการอภิปรายผลการศึกษาวาสอดคลอ งกับงานวจิ ยั ของผู

ศึกษาพชื ชนิดเดยี วกับทางโรงเรียน เพ่ือเพิ่มนํ้าหนกั ความนา เชื่อถือของขอมลู

สรปุ ใจความสําคัญ จากผลการศกึ ษา
จากผลการศึกษา (ชื่อพชื )........................ ของนกั เรยี น ระดับชั้น ......................................................

ระยะเวลาตง้ั แต ว/ด/ป...................................ถึง ว/ด/ป .................................. ไดใชวานสาวหลง (พชื ศกึ ษา)
เปน สื่อในการเรียนการสอนของนกั เรียน โดยบูรณาสูการเรียนการสอน 8 กลุม สาระ ไดแก กลมุ สาระ
วิทยาศาสตร กลมุ สาระตางประเทศ...................................... และกลมุ สาระภาษาไทย ซง่ึ ไดทําการจัดทาํ
แผนการเรยี นการสอนโดยนําพืชศึกษาของโรงเรียนคือ วานสาวหลง เปนสื่อในการเรียนรูของนักเรยี นในแตละ
ลําดบั ชน้ั โดยแผนบูรณาการแตละระดับชนั้ จะมีเน้ือหาทต่ี องเรียนรูค รอบคลมุ วตั ถุประสงคการศกึ ษาดังนี้
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร ดานรูปลักษณ ราก ลําตน ใบ ดอก ผล และเมลด็ ลักษณะทางนิเวศวทิ ยา การ
ขยายพันธุ การดูแลรักษา การเจรญิ เติบโต และการนาํ ไปใชประโยชน ของวานสาวหลง สามารถ สรปุ ผล
การศกึ ษา ดงั นี้

จากการเรียนรูในกลุมสาระวิชาวทิ ยาศาสตรและภาษาไทย ไดใ ชใบงานการศึกษาลักษณะโครงสราง
ภายนอกของวา นสาวหลง ในการศกึ ษาลักษณะทางพฤกษศาสตรข องวา นสาวหลง สรุปผลการศึกษาไดด ังน้ี
วานสาวหลงเปนไมลมลกุ . รากสีน้าํ ตาล ประกอบดว ยรากแกวและรากแขนง ลาํ ตน ตัง้ ตรงเองได สเี ขียวมกี าบ
ใบหุม ใบเรียวยาวรูปรีหอกกลบั ปลายแหลม ขอบใบบิด กวาง 4 – 8 ซม. ยาว 18-29 ซม.
............................................................................................................. ทุกสวนมีกลน่ิ หอม
ซ่งึ จากผลกการศึกษาลักษณะ ราก ลําตน ใบ ดอก ผล เมล็ด เม่ือนํามาขอ มลู มาเปรยี บเทยี บกบั ขอมลู
การศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร ของ กมลา โสภณ (2556) พบวา มขี อมูลการศกึ ษาท่เี หมือนและใกลเคียง
กนั คือ ใบวานสาวหลงเปน ใบเดย่ี ว เรยี งสลับ รปู รีแกมขอบขนาน ขนาดกวางประมาณ 5-8 ซม. ยาวประมาณ
20-30 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม เกลียวบดิ เล็กนอ ย โคนใบสอบหรือมน สเี ขียวเขม ทุกสว นมีกลิ่นหอมแรง
หลงั จากบง ชีไ้ ดเปนวานสาวหลงอยา งชัดเจนแลว จงึ ไดตรวจสอบขอมูลชื่อพื้นเมอื ง จากผลการศึกษาจากการ
สอบถามคนในทองถิ่น ดว ยเอกสาร ก.7 – 003 (หนา ท่ี 1) พบวา วานสาวหลง ในพ้ืนท่ที างภาคใต (จ.
สรุ าษฏรธานี) เรียกวา วา นพารวย ซง่ึ ตรงกับขอมลู การศึกษาของ นันทิดา พาไกล (2549) ไดทาํ การบันทกึ ไว
วา ช่อื พ้ืนเมอื งของวานสาวหลงทางภาคใตเ รียกวา วา นพารวย นอกจากน้ีไดท ําการสืบคนชื่อวิทยาศาสตร ช่อื
วงศ และชือ่ สามัญ ของวา นสาวหลง ไดด ังน้ี

เลขหนาอยูชิดขอบขวาหนากระดาษ TH SarabunPSK ขนาด 16

ชอื่ พ้ืนเมือง.......................................................................................................................
ช่อื วิทยาศาสตร..................................................................................................................
ชอ่ื วงศ...............................................................................................................................
ชื่อสามัญ............................................................................................................................
*** สวนการสรุปในหัวขอ ที่เหลือ ใหสรปุ คลายขอความดานบน ซึง่ เปน การหยบิ ยกใบงานตางๆ ที่เกย่ี วของใน
แตล ะหัวขอ หรือแผนการเรียนรทู ่ไี ดป ฏบิ ตั ิจริง นํามาเขียนสรปุ และอภิปรายผล ดว ยเอกสารจากบทท่ี 2
ลกั ษณะทางนิเวศวิทยา ......................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
การขยายพันธุ ....................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
การดแู ลรักษา ....................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
การเจริญเตบิ โต .................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
การนาํ ไปใชประโยชนด านตา งๆ .......................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
การศึกษา (ชื่อพชื ) ..................... ครัง้ นี้ สงผลกบั นักเรียน ครู ผบู รหิ าร โรงเรียน และชมุ ชน (ระบุ
ชมุ ชน) อยา งไร ? (ดานวชิ าการ ดานภูมปิ ญญา ดา นคุณธรรมและจริยธรรม)







การเขยี นบรรณานุกรม (ทา ยเลม )























ภาคผนวก

การแทรกหรอื เพิ่มเติมขอมูลตางๆ ท่ีสนบั สนุนผลการศึกษาบทท่ี 4 และ 5 โดยใหท างโรงเรียน เลือก
ผลงาน หรือช้ินงานนกั เรียนที่ดที ่สี ดุ ในแตล ะเร่ืองท่ปี รากฏตามหวั ขอ สาระการเรยี นรวู ชิ าตา งๆ (เรียงหวั ขอ
ลาํ ดับผลงานตามบทท่ี 3) ใบงานใหถ ายเอกสาร ขาวดํา/สี แนบมา (ไมใ ชว ธิ กี ารแสกนภาพเน่ืองจากไมชัดเจน)
รูปแบบการแนบเอกสารเพม่ิ เตมิ ในภาคผนวก
กลุม สาระวิชาวิทยาศาสตร
1. แผนการจัดการเรยี นรู เรื่อง................. ระดบั ช้นั ..................

- ใบงาน................................................
- ชน้ิ งาน
2. แผนการจัดการเรยี นรู เรอ่ื ง................. ระดบั ช้นั ..................
- ใบงาน................................................
- ชิน้ งาน
3. แผนการจัดการเรียนรู เรือ่ ง................. ระดับช้ัน..................
- ใบงาน................................................
- ชิน้ งาน
กลมุ สาระวิชาภาษาไทย
1. แผนการจัดการเรยี นรู เรอื่ ง................. ระดบั ชน้ั ..................
- ใบงาน................................................
- ช้นิ งาน
2. แผนการจัดการเรยี นรู เรอ่ื ง................. ระดบั ช้นั ..................
- ใบงาน................................................
- ชิน้ งาน

นํามาใสใหครบทง้ั 8 กลุมสาระ

แนวทาง
รายงานผลการดาํ เนินงานสวนพฤกษศาสตรโรงเรียน

ธรรมชาตแิ หง ชวี ติ

(ปรบั ปรุง ณ วนั ที่ 28 กรกฎาคม 2560)

3 ซม.

“ตัวอย่างปก”

3.5 ซม. ตราสญั ลักษณโ ครงการฯ ขนาด 2.5 x
3.5 เซนตเิ มตร
จัดวางตาํ แหนง ไวก ึง่ กลางหนากระดาษ
สีตามตน ฉบบั

2.5 ซม.

เวน 4 บรรทดั ใหพิมพห างจากสัญลกั ษณ
1.5 เซนติเมตร ตัวอกั ษร
TH SarabunPSK
โครงการอนรุ กั ษพ ันธุกรรมพืชอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ ขนาด 18 ตวั หนา
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เวน 1 บรรทดั
งานสวนพฤกษศาสตรโรงเรยี น
ตัวอกั ษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตวั หนา
2.5 ซม.
เวน 4 บรรทดั

3 ซม. รายงานผลการศึกษาธรรมชาติแหง ชีวติ ตัวอกั ษร TH SarabunPSK

(ชื่อพชื )………………………………….. ขนาด 16 ตวั หนา

ประจําปก ารศึกษา …..…..

เวน 4 บรรทัด

สนองพระราชดําริโดย ตัวอกั ษร TH SarabunPSK
............................................................... ขนาด 18 ตัวหนา

เวน 2 บรรทดั ตัวอักษร TH SarabunPSK
ขนาด 18 ตัวหนา
ตาํ บล..................อําเภอ ................... จงั หวดั ................. (วนั ทใ่ี หใชต ามตวั อยาง พ.ศ
วันท่ี 1 มถิ นุ ายน พ.ศ. ……… ตามปท ส่ี งรายงาน)

3 ซม.


Click to View FlipBook Version