The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนเรียงความอาชีพในอนาคต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การเขียนเรียงความอาชีพในอนาคต

การเขียนเรียงความอาชีพในอนาคต

Keywords: เรียงความ

การเขยี นเรยี งความ

วชั รพงศ ์ โกมทุ ธรรมวบิ ลู ย ์ และคณะ (๒๕๔๖, น. ๒๐๗) กลา่ วา่
เป็ นงานเขยี นชนิดหนึ่งทผ่ี ูเ้ ขยี นมจี ดุ ประสงคจ์ ะถา่ ยทอดความรู ้ ความคดิ

ทรรศนะ ความรสู ้ กึ ความเขา้ ใจออกมาเป็ นเรอ่ื งราวดว้ ยถอ้ ยคา สานวน ทเ่ี รยี บเรยี งอยา่ ง
ชดั เจนและทว่ งทานองการเขยี นทนี่ ่าอา่ น

เอกฉทั จารเุ มธชี น (๒๕๓๙, น. ๑๒๓) กลา่ ววา่
คอื การเขยี นรอ้ ยแกว้ ใหเ้ ป็ นเรอ่ื งเป็ นราวออกมาใหผ้ อู ้ า่ นเขา้ ใจ

ความคดิ ของผเู ้ ขยี น

สรุปไดว้ ่า คอื การเขยี นรอ้ ยแกว้ ชนิดหนึ่งทถ่ี ่ายทอดความรู ้ ความคดิ

ทรรศนะคติ เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ อยา่ งมรี ปู แบบ ดว้ ยสานวนภาษาทถ่ี กู ตอ้ ง และสละสลวย

กองเทพ เคลอื บพณิชกลุ (๒๕๔๒, น. ๑๔๓-๑๔๔) อธบิ ายไวด้ งั นี้
รปู แบบของเรยี งความ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบสาคญั ๓ สว่ น ดงั นี้

คอื

การเขยี นคานา เขยี นไดห้ ลากหลายวธิ ี เชน่ คานาขนึ้ ตน้ ดว้ ย ขอ้ คดิ คาคม ภาษติ
หรอื บทกลอน เป็ นตน้

หมายถึง

การเขียนเนื้อเรอ่ื ง ตอ้ งมีหลกั ฐานอา้ งองิ มีน้าหนัก มีเหตุผล มีเอกภาพ และ

สมั พนั ธภาพ และมสี ารตั ถภาพ ใชภ้ าษาเขยี น ใชส้ านวนภาษาดี ควรอา้ งอทุ าหรณต์ า่ ง ๆ

มาประกอบ
กลวธิ กี ารเขยี นเนือ้ เรอ่ื ง ใชไ้ ดห้ ลากหลาย เชน่ สาธกโวหาร (ยกตวั อย่าง) อุปมา

โวหาร (เปรยี บเทยี บ) อธบิ ายโวหาร บรรยายโวหาร เป็ นตน้

การสรปุ สรปุ ไดห้ ลายวธิ ี เชน่

◾การฝากขอ้ คดิ เห็นตา่ ง ๆ

◾คาคม สภุ าษติ คาขวญั
◾ยอ่ สาระสาคญั ของเรอ่ื งทเี่ ขยี นมา

◾การวงิ วอนขอรอ้ งใหป้ ฏบิ ตั ิ หรอื เวน้ ปฏบิ ตั ิ
◾เสนอบทรอ้ ยกรองเกยี่ วขอ้ งกบั เรอ่ื งมาประกอบ

-๒-

สนิท ตงั้ ทวี (๒๕๒๘ น. ๑๖๑-๑๖๒) กลา่ ววา่ การเขยี นเรยี งความมขี นั้ ตอนในการ
เขยี นดงั นี้

ควรเลอื กเรอ่ื งทตี่ นเองมคี วามสนใจและเรอื่ งทตี่ นเองมคี วามรเู ้กย่ี วกบั เรอื่ งนนั้ มาก
ทสี่ ดุ มาเขยี น

กาหนดขอบเขตของหวั ขอ้ เรอื่ งใหพ้ อเหมาะ ชเี้ ฉพาะลงไป มจี ดุ มงุ่ หมาย พรอ้ ม
ทง้ั คานึงถงึ เพศ วยั ระดบั การศกึ ษา และความสนใจของผอู ้ า่ นประกอบดว้ ย

ขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการคน้ ควา้ รวบรวมตอ้ งนามาคดั เลอื กเฉพาะสว่ นทจ่ี าเป็ นและ
สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้ เรอ่ื งโดยเรยี งลาดบั ตามตามความสาคญั เพอ่ื ทาเป็ นโครงเรอ่ื งตอ่ ไป

ตอ้ งจดั ลาดบั ความคดิ ใหต้ อ่ เนื่องสมั พนั ธก์ นั ตลอดทง้ั เรอ่ื ง แยกประเด็นใหญแ่ ละ
ประเด็นยอ่ ยออกจากกนั ใหช้ ดั เจน

ชนิดของโครงเรอ่ื ง การเขยี นโครงเรอ่ื งนิยมเขยี น ๒ แบบ คอื โครงเรอื่ งแบบหวั ขอ้
และโครงเรอื่ งแบบ ประโยค

๔.๑ เขยี นโดยใชค้ า หรอื วลสี นั้ ๆ เพอ่ื เสนอประเดน็ ความคดิ
๔.๒ เขยี นเป็ นประโยคทสี่ มบรู ณ์

ผเู ้ ขยี นตอ้ งแสดงออกถงึ ความรแู ้ ละความคดิ ทเี่ ป็ นประโยชนด์ ว้ ยการเขยี น โดย
อาศยั โครงเรอื่ งทวี่ างไวเ้ ป็ นแกนกลางในการดาเนินเรอ่ื งตามลาดบั

หลงั จากการเขยี นเสรจ็ แลว้ ควรตรวจทานอยา่ งรอบคอบ เกยี่ วกบั ภาษาทเี่ ขยี น
ตวั เขยี น การเวน้ วรรคตอน และการสะกดการนั ต ์ เป็ นตน้

ความคดิ สาคญั ของแตล่ ะยอ่ หนา้ และทกุ ยอ่ หนา้ ไปในทศิ ทาง
เดยี วกบั หว้ ขอ้ เรอ่ื งเรอ่ื ง และไมก่ ลา่ วนอกเรอื่ ง

เนือ้ หาทเี่ กยี่ วเนื่องสมั พนั ธก์ นั ตลอดทง้ั เรอื่ ง และจดั ลาดบั ยอ่
หนา้ อยา่ งมรี ะเบยี บ มคี าเชอ่ื มทเี่ หมาะสม

แตล่ ะยอ่ หนา้ จะตอ้ งเขยี นประโยคใจความสาคญั ใหช้ ดั เจนและ
ตอ้ งมปี ระโยคขยายความทม่ี นี า้ หนกั มเี หตผุ ล น่าเชอื่ ถอื ถกู ตอ้ งตามขอ้ เท็จจรงิ

-๓-

การแบง่ หวั ขอ้ ในการวางโครงเรอื่ งอาจแบง่ เป็ น ๒ ระบบ คอื
โดยกาหนดตวั เลขหรอื ประเด็นหลกั และตวั อกั ษร

เป็ นประเด็นรอง ดงั นี้
๑) ............................................................................................................................
ก. ..................................................................................................................
ข. .................................................................................................................
๒) ……………………………………………………………………………………………..……..
ก. .................................................................................................................
ข. .................................................................................................................
เป็ นการกาหนดตวั เลขหลกั เดยี ว เป็ นประเด็นหลกั และตวั เลข

สองหลกั และสามหลกั เป็ นประเด็นรอง ดงั นี้
๑) ..............................................................................................................................
๑.๑ ...............................................................................................................
๑.๒ ...............................................................................................................
๒) .............................................................................................................................
๒.๑ ...............................................................................................................
๒.๒ ...............................................................................................................

เรอ่ื ง ปญั หาการตดิ ยาเสพตดิ ของวยั รนุ่ ไทย
๑) สาเหตขุ องการตดิ ยาเสพตดิ

ก. ตามเพอ่ื น
ข. การหยา่ รา้ งของบดิ ามารดา
ค. พอ่ แมไ่ มม่ เี วลาใหล้ กู
ง. การบงั คบั ขเู่ ขญ็
๒) สภาพปัญหาของการตดิ ยาเสพตดิ ของวยั รนุ่ ไทย
ก. จานวนผตู ้ ดิ ยา
ข. การกอ่ อาชญากรรม
ค. การคา้ ประเวณี
๓) แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
ก. การสรา้ งภมู ติ า้ นทานในครอบครวั
ข. การสรา้ งชมุ ชนใหเ้ ขม้ แข็ง
ค. กระบวนการบาบดั รกั ษาแบบผสมผสาน

-๔-

โวหารในการเขยี นเรยี งความมี ๖ แบบ คอื
(บรรยายโวหาร) เป็ นโวหารเล่าเรอ่ื งอย่างถถ่ี ว้ นหรอื บรรยาย

เหตกุ ารณท์ เ่ี ป็ นขอ้ เท็จจรงิ ตามลาดบั เหตกุ ารณ์ มุ่งความชดั เจนเพอ่ื ใหผ้ ูอ้ ่านไดร้ บั ความรู ้
ความเขา้ ใจ

“ขณะทเ่ี ราขบั รถขนึ้ เหนือไปไปนครวดั เราผ่านบา้ นเรอื นซงึ่ ประดบั ดว้ ยธงสนี ้าเงนิ
และแดงไวน้ อกบา้ น เราไปหยดุ ทหี่ นา้ วดั ซง่ึ ประตทู างเขา้ ตกแตง่ ดว้ ยดอกไมแ้ ละเครอื เถาไม้
ในเขตวดั สงฆห์ ่มจวี รสสี ม้ สนทนาปราศรยั กบั ผูท้ ไ่ี ปนมสั การอยู่ในปะราไมป้ ลูกขนึ้ เป็ น
พเิ ศษ ความประสงคท์ เ่ี ราไปหยดุ ทว่ี ดั ก็เพอื่ กอ่ พระทราย อนั เป็ นเรอื่ งสาคญั เป็ นเรอ่ื งสาคญั
ทสี่ ดุ ในวนั ขนึ้ ปี ใหม่ตามศรทั ธาของพุทธศาสนิกชน”

(พรรณนาโวหาร) คอื โวหารทกี่ ลา่ วเป็ น เรอื่ งราวอยา่ ง
ละเอยี ดใหผ้ ูอ้ า่ นนึกเห็นเป็ นภาพ สอดแทรกอารมณค์ วามรสู ้ กึ ของผูเ้ ขยี นเพอื่ ใหผ้ ูอ้ ่านเกดิ
ความซาบซงึ้ ประทบั ใจ มคี วามรสู ้ กึ คลอ้ ยตามไปกบั ผูเ้ ขยี น โดยใชถ้ อ้ ยคาทท่ี าใหผ้ ูอ้ า่ นเกดิ
ภาพในใจ (มโนภาพ)ขนึ้

“อากาศยามเชา้ ในสวนของคฤหาสนบ์ ดนิ ทราช... ดสู ดใส ผเี สอื้ แสนสวย กรดี ปี ก
ระยบั ในสายแดดออ่ นยามเชา้ จากดอกหนึ่งไปทด่ี อกไมน้ านาพนั ธอุ ์ กี หลาย ๆ ดอก สขี อง
กหุ ลาบปักกง่ิ ... แดงสดสวา่ งจา้ ตดั กบั สเี ขยี วสดของสนามหญา้ ประกายของนา้ คา้ งตอ้ ง
แดดวาววบั ราวกบั อญั มณีเรย่ี รายอยบู่ นพนื้ สนาม”

(วาณิช จรงุ กจิ อนันต ์ : ซอยเดยี วกนั )

(อุปมาโวหาร) คอื โวหารทยี่ กเอาขอ้ ความ มาเปรยี บเทียบเพอ่ื
ประกอบความใหเ้ ดน่ ชดั ขนึ้

“อนั วา่ แกว้ กระจกรวมอยกู่ บั สวุ รรณ ยอ่ มไดแ้ สงจบั เป็ นเลอ่ื มพรายคลา้ ยมรกต ผทู ้ โี่ ง่
เขลา แมไ้ ดอ้ ยใู่ กลน้ ักปราชญ ์ ก็อาจเป็ นคนเฉลยี วฉลาดไดฉ้ นั เดยี วกนั ”

(เสถยี รโกเศศ และนาคะประทปี : หโิ ตปเทศ)

-๕-

(สาธกโวหาร) สาธก หมายถงึ ยกตวั อยา่ งมาอา้ งใหเ้ ห็น สาธกโวหาร
จงึ หมายถงึ โวหารทยี่ กตวั อยา่ งมาประกอบอา้ ง เพอ่ื ใหผ้ อู ้ า่ นเขา้ ใจเรอ่ื งใจเรอ่ื งใหช้ ดั เจนขนึ้

“คนเราตอ้ งเอาอยา่ งมดอยา่ ไปเอาอยา่ งหนอน เพราะมดน้ันถงึ มนั จะตวั เล็กนิดเดยี ว
แตก่ ็ขยนั ขนั แข็ง สามารถลากเหยอื่ ชนิ้ ใหญ่ ๆ ไดส้ บาย แตถ่ งึ กระนั้นมนั ก็กลบั กนิ อาหาร
แตน่ อ้ ยจนเอวคอดกว่ิ ผดิ กนั กบั หนอน ซง่ึ เกยี จครา้ นเอาแตก่ นิ ทงั้ วนั โดยไม่ทางานทาการ
อะไร จนตวั อว้ นอยุ ้ อา้ ย ผลสดุ ทา้ ยก็กลายเป็ นเหยอื่ อนั โอชะของนกปลา”

(เจา้ พระยาพระคลงั หน : )
(เทศนาโวหาร) คอื โวหารทอ่ี ธบิ ายชแี้ จงใหผ้ อา่ นเชอื่ ถอื ตามโดย
ยกเหตผุ ล ขอ้ เท็จจรงิ อธบิ ายคณุ โทษ แนะนา สง่ั สอน

“ถา้ ไม่มคี ณุ ธรรมเป็ นสง่ิ จรรโลงจติ ใจ คนเรากค็ งไมแ่ ตกตา่ งไปจากสตั วป์ ่ า...เราคงจะม
ฉกฉวยแยง่ ชงิ สง่ิ ทเี่ ราอยากไดโ้ ดยไม่คานึงถงึ วา่ สง่ิ นน้ั จะมใี ครเป็ นเจา้ ของครอบครองอยแู่ ลว้
หรอื ไม่ ผใู ้ หญก่ ข็ ม่ เหงรงั แกผนู ้ อ้ ย หรอื คนทอี่ อ่ นแอกวา่ ตามอาเภอใจ ลกู หลานจะดหู มนิ่ ดู
แคลนพอ่ แม่ทแ่ี กเ่ ฒา่ ใหไ้ ดร้ บั ความทกุ ขย์ ากรอ้ นใจ”

(ประภสั สร เสวกิ ลุ : ลอดลายมงั กร)
(อธบิ ายโวหาร) คอื โวหารทที่ าใหค้ วามคดิ เรอ่ื งใดเรอ่ื งหน่ึงกระจา่ ง
ชดั เจนขนึ้ มี ๖ แบบยอ่ ย คอื
(๑) การนิยาม
(๒) การใชต้ วั อยา่ ง
(๓) ตามลาดบั ขน้ั
(๔) เปรยี บเทยี บความเหมอื น-ความแตกตา่ ง
(๕) สาเหตแุ ละผลลพั ธท์ ส่ี มั พนั ธก์ นั
(๖) กลา่ วซา้

ตวั อยา่ งการเขยี นอธบิ ายโดยการนิยามและยกตวั อยา่ ง

“ปรากฏการณธ์ รรมชาติ คอื การเปลย่ี นแปลงของธรรมชาติ ทง้ั ในระยะยาวและระยะ
สนั้ สภาพแวดลอ้ มของโลกเปลย่ี นแปลงไปตามเวลา ทง้ั เป็ นระบบและไมเ่ ป็ นระบบ เป็ นสงิ่ ทอ่ี ยู่
รอบตวั เรา เชน่ ฟ้ ารอ้ ง ฟ้ าผ่า ไฟไหมป้ ่ า นา้ ทว่ ม ภเู ขาถลม่ แผ่นดนิ ไหว”

-๖-

เวยี งจนั ทนห์ รอื นครทง่ี ดงามราวดวงจนั ทร ์ เป็ นนครหลวงของประเทศลาวที่
พวกเราแสนคุน้ เคย ตงั้ อยู่แคข่ า้ มฝ่ังโขงจงั หวดั หนองคายเท่าน้ัน คนไทยนิยมขา้ มไปเทย่ี ว
เวยี งจนั ทนก์ นั มาก เพราะไปมาสะดวก คา้ ขายกนั ไดง้ า่ ย ไม่ตอ้ งอาศยั พาสปอรต์ หรอื ทาวซี า่
ใหห้ นักหนาเสยี เวลาแตอ่ ยา่ งใด

อเมนิตี้ (Amenity) เป็ นคาภาษาองั กฤษ หมายถงึ “ความอ่อนโยน สุภาพ
พอใจ ความสขุ ” จะแปลวา่ อะไรกแ็ ลว้ แตข่ นึ้ อยกู่ บั หนา้ ทข่ี องคากบั ลกั ษณะของประโยค เมอื่
รวมกนั เขา้ กบั คาวา่ ทวั ร ์ (Tour) ทห่ี มายถงึ “การเดนิ ทางท่องเทย่ี ว” ก็จะเกดิ เป็ นวลที ใี่ ห ้
ความหมายถงึ “การเดนิ ทางทอ่ งเทยี่ วทมี่ คี วามสุข” เป็ นวลที น่ี ่าฟังและเป็ นความปรารถนา
ของนักเดนิ ทางทกุ คน ทจี่ ะทอ่ งเทย่ี วอยา่ งมคี วามสุข ดว้ ยเหตนุ ีเ้ องจงึ มกี ลมุ่ ผูป้ ระกอบการ
ท่องเที่ยวท่ีอยากจะสรา้ งสรรคค์ วามปรารถนาที่เป็ นจรงิ ใหก้ บั นักเดินทาง โดยเฉพาะ
ท่องเทยี่ วทงั้ ครอบครวั

อาหารทกุ มอื้ ทเี่ รารบั ประทานนัน้ จะมสี กั กคี่ นทร่ี วู ้ า่ นอกจากจะใหค้ ณุ คา่ ทาง
โภชนาการและความเอรด็ อรอ่ ยแลว้ อาจแฝงไวด้ ว้ ยพษิ อะไรบา้ งทเ่ี ราไม่อาจมองเห็นได ้

“อเมรกิ าทรุด เวิรล์ เทรดถล่ม” ขอ้ ความดงั กล่าวเป็ นพาดหวั ข่าวใน
หนังสอื พมิ พช์ อื่ ดงั ฉบบั หนึ่งซงึ่ ทาใหค้ นทงั้ โลกตะลงึ การกอ่ วนิ าศกรรมกรณีอาคารเวริ ล์ เท
รดเซน็ เตอรป์ ระเทศสหรฐั อเมรกิ าไดก้ ่อใหเ้ กดิ ผลกระทบไปท่วั โลก แมก้ ระท่งั ประเทศไทยก็
ไดร้ บั ผลกระทบทางเศรษฐกจิ หลายประการ รฐั บาลจงึ ตอ้ งออกนโยบายต่าง ๆ เพอ่ื แกไ้ ข
ปัญหาเศรษฐกจิ อยา่ งเรง่ ดว่ น

“คนสวยโพธาราม คนงามบา้ นโป่ ง เมอื งโอง่ มงั กร วดั ขนอนหนงั ใหญ่ ตน่ื ใจถา้
งาม ตลาดนา้ ดาเนิน เพลนิ คา้ งคาวรอ้ ยลา้ น ยา่ นยส่ี กปลาด”ี

“พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงมีพระราชดารสั ว่า “ประเทศ
ทง้ั หลายย่อมเจรญิ ดว้ ยการศึกษา ประเทศใดปราศจากการศกึ ษา ประเทศน้ันย่อมเป็ น
ประเทศป่ าเถอื่ น”

-๗-

(๑) เขยี นตามโครงเรอื่ งทวี่ างไว ้

(๒) ใชภ้ าษาเขยี น ใชค้ าถกู ตอ้ งตามความหมาย ถกู อกั ขรวธิ ี รกั ษาความ

สะอาด เขยี นดว้ ยลายมอื เป็ นระเบยี บ อา่ นงา่ ย

(๓) เวน้ วรรคตอนใหถ้ กู ตอ้ ง ไมฉ่ ีกคา ไมเ่ ขยี นคาทบั ศพั ทภ์ าษาองั กฤษ
(๔) ในหน่ึงยอ่ หนา้ ตอ้ งมปี ระเด็นหลกั เพยี งประเด็นเดยี ว นอกนน้ั เป็ นสว่ น

ขยายประเด็น
(๕) มคี วามสมั พนั ธข์ องขอ้ ความในแตล่ ะยอ่ หนา้ เชอ่ื มโยงเป็ นเรอ่ื งเดยี วกนั

(๖) ใชโ้ วหารการเขยี นอยา่ งเหมาะสม เชน่ บรรยาย พรรณนา อธบิ าย อปุ มา

เป็ นตน้

สรปุ การเขยี นเนือ้ เรอื่ งควรยดึ แนวทางตอ่ ไปนี้

(๑) ความถกู ตอ้ ง แจม่ แจง้ สมบรู ณ์ ผอู ้ า่ นสามารถเขา้ ใจเจตนารมณข์ อง

ผเู ้ ขยี นไดเ้ ป็ นอยา่ งดี เรยี กวา่ (มสี ารตั ถภาพ)
(๒) ใจความสาคญั แตล่ ะยอ่ หนา้ จะตอ้ งมเี พยี งใจความเดยี ว ไม่ออกนอกเรอ่ื ง

สบั สน วกวน เรยี กวา่ (มเี อกภาพ)
(๓) เนือ้ หาในแตล่ ะยอ่ หนา้ จะตอ้ งมคี วามสมั พนั ธเ์ กย่ี วเน่ืองกนั โดยตลอด

ยอ่ หนา้ ทมี่ าหลงั จะตอ้ งเกย่ี วเน่ืองสมั พนั ธก์ บั ยอ่ หนา้ ทม่ี ากอ่ น เรยี กวา่ (มสี มั พนั ธภาพ)

-๘-

เชน่
ทอ้ งถนิ่ ของฉันแมค้ วามเจรญิ หลาย ๆ อยา่ งอาจจะไมส่ ามารถเทยี บเทา่ ทอี่ น่ื ๆ

ได ้ มไิ ดม้ ปี ่ าคอนกรตี ซง่ึ มตี กึ สงู ๆ มากมาย กลบั มเี พยี งตน้ ไมส้ เี ขยี ว ๆ เรยี งรายอยู่เต็มไป
หมด แตฉ่ ันรสู ้ กึ รกั ทนี่ ่ี แมห้ ลายคนอาจเห็นวา่ เป็ นเพยี งจงั หวดั เล็ก ๆ ทไี่ ม่คอ่ ยเจรญิ นัก แต่
ก็มิไดห้ มายความว่ารอยยมิ้ และน้าใจ ของคนทีน่ ี่จะนอ้ ยไปกว่าทีอ่ น่ื ๆ ดงั น้ันฉันจงึ ไม่
ตอ้ งการสงิ่ ใดอกี เพยี งแคต่ อ้ งการใหท้ อ้ งถน่ิ ของฉนั ยงั คงเป็ นเชน่ นีต้ ลอดไป สถานทซี่ งึ่ เต็มไป
ดว้ ยตน้ ไมส้ เี ขยี ว ๆ และอากาศบรสิ ทุ ธิ ์ พรอ้ มทงั้ รอยยมิ้ และนา้ ใจของคนเมอื งสมุทรสงคราม
ซงึ่ ไม่วา่ ฉันหรอื ใคร ๆ ก็คงจะจดจาไวไ้ ม่มวี นั ลมื

ดงั นั้นอาจกลา่ วไดว้ า่ โสมถอื เป็ นอกี หนึ่งสมุนไพรทที่ รงคุณค่า ซง่ึ ไม่เพยี งจะ
เป็ นยาอายวุ ฒั นะ ยงั มผี ลในการบาบดั และรกั ษาอาการป่ วยตา่ ง ๆ ทง้ั ในดา้ นจติ ใจและรา่ งกาย
อกี ดว้ ย

เมื่อทราบตระหนักถงึ คุณค่าของเบตา้ เคโรทนี ทม่ี ีอยู่ในมะละกอแลว้ คุณ
แม่บา้ นทง้ั หลาย ก็ควรรบี ไปซอื้ หามาใหส้ มาชกิ ในครอบครวั ไดร้ บั ประทานกนั ถว้ นหนา้
เพอื่ สขุ ภาพทดี่ ขี องทุกคนในครอบครวั

ทกุ คนในสงั คมลว้ นไดร้ บั การปลกู ฝังใหเ้ ลง็ เห็นคณุ คา่ ของทรพั ยากรธรรมชาติ
และรจู ้ กั วธิ กี ารอนุรกั ษธ์ รรมชาตเิ ป็ นอยา่ งดี แตก่ ระนัน้ กต็ ามจะมสี กั กค่ี นกนั เลา่ ทมี่ จี ติ สานึก
เพยี งพอทจี่ ะปฏบิ ตั ติ ามสง่ิ ทไี่ ดร้ บั การปลกู ฝังมา

เชน่
กาลเวลายงั คงหมนุ เวยี นอยเู่ สมอเชน่ เดยี วกบั สามพรานทจ่ี ะพฒั นาตอ่ ไปอยา่ ง

ไม่สนิ้ สุด แต่ไม่ว่ากาลอนาคตจะแปรเปลย่ี นไปอย่างไร ฉันก็จะยงั รกั ภูมใิ จ และหวงแหน
แผ่นดนิ ถน่ิ นี้ พรอ้ มทงั้ มุ่งม่นั ทจี่ ะสรา้ งสรรคค์ ุณประโยชนแ์ ก่สามพรานอย่างเต็มท่ี เพอ่ื ให ้
สามพรานหรอื ทอ้ งถน่ิ ของฉันเจรญิ กา้ วหนา้ เป็ น “เพชรนา้ หนึ่ง” ทช่ี ว่ ยเชดิ ชนู ครปฐมและ
ชาตไิ ทยใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื งสมกบั ทไี่ ดช้ อื่ วา่ เป็ น “แผ่นดนิ ธรรม แผ่นดนิ ทอง” อยา่ งแทจ้ รงิ

-๙-

บา้ นเมอื งจะเรอื งรงุ่ ถา้ เรามงุ่ รว่ มสรา้ งสรรค ์
กอปรกจิ ตามสทิ ธพิ ์ ลนั หนา้ ทนี่ ั้นขยนั ทา

เยาวชนคนรนุ่ ใหม่ ปญั ญาไวไมถ่ ลา
สงั คมสมบรู ณล์ า้
ดว้ ยกจิ กรรมของพวกเรา

เราทงั้ หลายจงึ ควรถอื เป็ นหนา้ ทท่ี จ่ี ะตอ้ งชว่ ยกนั อนุรกั ษภ์ าษาไทยไวด้ ว้ ยการ
ไม่ประพฤตปิ ฏบิ ตั สิ ่งิ ใด ท่จี ะเป็ นการทาใหภ้ าษาไทยของเราเสอื่ มลง และตอ้ งพยายาม
เสรมิ สรา้ งภาษาของเราทกุ ดา้ น ทุกโอกาสทส่ี ามารถทจ่ี ะกระทาได ้ แลว้ ภาษาไทยของเราก็

จะดารงอยคู่ กู่ บั คนไทยตลอดไป

อาชพี ในอนาคต

อนั อาชพี ในโลกนีม้ หี ลายอยา่ ง เลอื กถกู ทางอนาคตจะสดใจ

จงศกึ ษางานอาชพี รบี เขา้ ใจ วา่ งานไหนเปลย่ี นแปลงใหค้ ดิ ดู

ขอใหค้ ดิ ถงึ ปญั ญาความสามารถ วา่ ฉลาดเรยี นสง่ิ ใดไมอ่ ดสู

แมน้ ถนดั เรามดี ว้ ยจกั ชว่ ยชู ใหม้ ุง่ สเู่ ป้ าหมายไดส้ มใจ
จะเป็ นครตู อ้ งเสยี งดงั พดู ฟังชดั หรอื ถนัดชแี้ จงแถลงไข

จะเป็ นแพทยต์ อ้ งมธี รรมประจาใจ จะตอ้ งไมร่ งั เกยี จโรคทกุ ขโ์ ศกคน
ไม่ขขี้ ลาดปราบเหลา่ รา้ ยไดท้ กุ หน
เป็ นตารวจตอ้ งเมตตาประชาราษฎร ์ ตอ้ งพลตี นเพอ่ื ปกป้ องคมุ ้ ครองไทย
ตอ้ งถว้ นถดี่ ใู หแ้ ม่นยาตามวสิ ยั
เป็ นทหารตอ้ งทรหดตอ้ งอดทน
อนั อาชพี มากมายหลายหมน่ื มี จงเป็ นไทความคดิ ชวี ติ เจรญิ

อยา่ เลอื กตามคนอนื่ ฝื นชอบใจ

-๑๐-

เราทุกคนเ กิดมาจะตอ้ งประกอบอาชีพเพื่อหาเ ลีย้ งชีวิตตามความรู ้

ความสามารถของตน และแต่ละคนก็มอี าชพี แตกต่างกนั ไป บางคนเป็ นแพทย ์ บางคนเป็ น
ทันตแพทย ์ สัตวแพทย ์ และอะไรอีกมากมาย หลายอาชพี ท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน ก็เรมิ่
เปลย่ี นแปลงไปตามยคุ สมยั ซงึ่ เราทกุ คนมสี ทิ ธทิ ์ จ่ี ะประกอบอาชพี ตา่ ง ๆ เหลา่ น้ันได ้ ถา้ หาก
เรามคี วามพยายาม มุ่งม่นั และวางแผนการดาเนินชวี ติ อยา่ งเป็ นขน้ั ตอน

ปัจจบุ นั มอี าชพี ต่างๆมากมายทง้ั อาชพี ทมี่ อี ยู่เดมิ และอาชพี ทเ่ี กดิ ขนึ้ มาใหม่ใน
ศตวรรษท่ี ๒๑ ใหเ้ ราเลือกที่จะทาขึน้ อยู่กบั ว่าเราจะเลือกอาชพี ประเภทใดท่ีเหมาะกบั
ศกั ยภาพของตวั เราเอง ในขณะทศี่ กึ ษาอยชู่ นั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๓ อยนู่ ้ัน เชอ่ื วา่ ทุกๆคนคงมี
ความคดิ เรอ่ื งการศกึ ษาตอ่ วา่ เราตอ้ งการทจ่ี ะเรยี นอะไร เพอ่ื ทจี่ ะไดท้ างานดๆี หรอื งานทเ่ี รา
ชอบ บางคนกอ็ าจจะเรยี นตอ่ สายอาชพี ซงึ่ เรยี นรเู ้ รอ่ื งการประกอบอาชพี โดยตรงเพอื่ ทจี่ ะได ้
มปี ระสบการณ์ สว่ นบางคนอาจจะเลอื กเรยี นตอ่ ในสายสามญั ซงึ่ ก็เป็ นทางเลอื กอกี ทาง

ความใฝ่ ฝันในการประกอบอาชพี ของแตล่ ะคนไมเ่ หมอื นกนั แน่นอน แตท่ กุ คนก็มสี ทิ ธิ ์
ทจ่ี ะคดิ และมสี ทิ ธทิ ์ จี่ ะทาใหฝ้ ันน้ันเป็ นจรงิ บางคนอาจจะอยากประกอบอาชพี เป็ นพยาบาล
เป็ นทนั ตแพทย ์หรอื แมแ้ ตเ่ ป็ นวศิ วกร หรอื บางคนทช่ี อบอยใู่ นโลกจติ นาการอาจจะอยากเป็ น
นักคอมพวิ เตอรก์ ราฟฟิ ก บางคนอาจจะอยากเป็ นครซู ง่ึ ทกุ คนก็มสี ทิ ธทิ ์ จ่ี ะทาใหฝ้ ันเป็ นจรงิ
ได ้ ถา้ หากมคี วามพยายาม ใฝ่ รใู ้ ฝ่ เรยี น ขยนั อดทน และตง้ั ใจทจี่ ะทางานนั้นจรงิ ๆ และหาก
เกดิ ความรูส้ กึ ทอ้ แท ้ ก็อาศยั กาลงั ใจจากครอบครวั และเพอื่ นๆคอยเป็ นกาลงั ใจใหป้ ระสบ

ผลสาเรจ็ ในสง่ิ ทห่ี วงั เพอ่ื ทจ่ี ะไดท้ างานดี ๆ และเป็ นงานทต่ี นเองรกั
สาหรบั อาชพี ในอนาคตของฉันคอื การไดเ้ ป็ นครู สอนเด็กนักเรยี น เพอ่ื ทจี่ ะไดส้ รา้ ง

คนดใี หแ้ กส่ งั คม สอนเด็ก ๆใหร้ ูจ้ กั ผดิ ชอบชว่ั ดี สงิ่ ไหนถูกและสงิ่ ไหนผดิ ไม่ยงุ่ เกย่ี วกบั
อบายมุข เป็ นคนดขี องสงั คม และเป็ นลกู ทด่ี ขี องพ่อแม่ ซง่ึ ถา้ ฉันตอ้ งการจะประกอบอาชพี
เป็ นครูอย่างท่ีดอี ย่างท่ีตงั้ ใจไวน้ ้ัน ส่ิงแรกที่ฉันตอ้ งทาใหไ้ ดต้ อนนีค้ ือ ตงั้ ใจเรยี นทุก ๆ

รายวชิ าอยา่ งเต็มความสามารถ มรี ะเบยี บวนิ ัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ รกั การอ่าน การเขยี น
ใฝ่ เรยี นรู ้ และทาโจทยป์ ัญหาอย่างสม่าเสมอ ศกึ ษาระบบสอบคดั เลอื ก TCAS ของทปอ.
อยา่ งแจม่ แจง้ ซงึ่ สง่ิ เหลา่ นีเ้ มอ่ื ฉนั ทาไดส้ มบรู ณย์ อ่ มเป็ นปัจจยั ดา้ นดสี ง่ ผลใหฉ้ ันสามารถทา
คะแนนไดด้ แี ละเรยี นตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั ทจ่ี ดั การศกึ ษาดา้ นความเป็ นครู
เชน่ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เป็ นตน้ ไดอ้ ยา่ งแน่นอน ซงึ่ จะทาใหพ้ อ่ และแม่ภมู ใิ จ และ

ตวั เองก็ภมู ใิ จดว้ ยเชน่ กนั
อาชพี ในฝันของแตล่ ะคนไม่เหมอื นกนั และทุกคนมสี ทิ ธทิ ์ จ่ี ะทาใหม้ นั เป็ นจรงิ ได ้

เพยี งแตเ่ ราตอ้ งใฝ่ รู ้สรา้ งแรงบนั ดาลใจ อดทน มุ่งม่นั และพยายามตามทต่ี งั้ ใจไวแ้ ลว้ อาชพี ใน

อนาคตยอ่ มเป็ นจรงิ แน่นอน กอ่ ใหเ้ กดิ การเสาะแสวงหา
ความใฝ่ รคู ้ อื ครอู นั ลา้ เลศิ วนั ขา้ งหนา้ ยอ่ มสมหวงั ดง่ั ใจปอง

พรอ้ มขยนั หม่นั ฝึ กตนเพยี รคน้ ควา้

-๑๑-

๑. อา่ นแนวทางการเขยี นเรยี งความและดตู วั อยา่ ง การเขยี นเรยี งความ
“อาชพี ในอนาคต”

๒. ศกึ ษาขอ้ มลู เกยี่ วกบั อาชพี การเปลยี่ นแปลงอาชพี ในอนาคต และอาชพี
ในอนาคตของตนเอง

๓. วางโครงเรอื่ ง และเขยี นเรยี งความเรอื่ งทกี่ าหนด ความยาว ๒๐ บรรทดั
ขนึ้ ไป

แนวทางการเขยี นเรยี งความ เรอ่ื ง “อาชพี ในอนาคต”

คานา ◾ความสาคญั ของอาชพี และแนวโนม้ ของอาชพี ในอนาคต
(๓-๕ บรรทดั )

เนือ้ เรอื่ ง ◾ควาหมายของอาชพี
◾ประเภทของอาชพี
◾ความสาคญั ของอาชพี
◾แนวโนม้ อาชพี ในอนาคต
◾การศกึ ษากบั การประกอบอาชพี
◾อาชพี ในอนาคตของขา้ พเจา้
◾เหตผุ ลในการเลอื กอาชพี ในอนาคตของขา้ พเจา้
◾แรงบนั ดาลใจ ขนั้ ตอน กระบวนการ แผนงานไปสเู่ ป้ าหมายในอาชพี
ฯลฯ
(๑๐-๑๕ บรรทดั )

สรปุ ขอ้ สรปุ อาชพี ในอนาคตของตนเอง (แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตผุ ล
ดว้ ยคตพิ จน์ คาคม คากลอน สภุ าษติ หรอื ขอ้ คดิ เห็น (๓-๕ บรรทดั )

๑๒

อาชพี หมายถงึ การทางานซงึ่ มผี ลตอบแทนออกมาในรูปของรายไดเ้ พอื่
บุคคลนาไปดารงชพี ทง้ั ของตนและครอบครวั งานทที่ านัน้ ตอ้ งเป็ นงานทสี่ ุจรติ
กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กส่ งั คมโดยสว่ นรวม โดยไมท่ าใหต้ นเอง และผูอ้ นื่ เดอื ดรอ้ น

อาชพี คอื การทามาหากนิ ของมนุ ษย ์ เป็ นการแบ่งหน้าทกี่ ารทางาน
ของคนในสงั คม และทาใหด้ ารงอาชพี ในสงั คมได้ บุคคลทปี่ ระกอบอาชพี จะได้
ค่าตอบแทน หรอื รายไดท้ จี่ ะนาไปใชจ้ ่ายในการดารงชวี ติ และสรา้ งมาตรฐาน
ทดี่ ใี หแ้ กค่ รอบครวั ชมุ ชน และประเทศชาติ

อาชพี หมายถงึ การทามาหากนิ ทาธุรกจิ ตามความชอบหรอื ความ
ถนดั ไดค้ า่ ตอบแทนเป็ นคา่ จา้ ง หรอื เงินเดอื น ประชาชนในประเทศทสี่ ามารถ
มอี าชพี เป็ นหลกั ถอื ไดว้ ่าเป็ นตวั บ่งชใี้ หเ้ ห็นถงึ ความเจรญิ กา้ วหน้าและพฒั นา
ประเทศได ้

๑. ทาใหม้ รี ายไดป้ ระจาเลยี้ งตนเองและครอบครวั โดยซอื้ หรอื จดั หา
สงิ่ จาเป็ นสาหรบั การดารงชวี ติ

๒.ทาใหม้ โี อกาสใชค้ วามรูค้ วามสามารถทมี่ อี ยูท่ างานใหเ้ ป็ นประโยชน์
ตอ่ สงั คมและประเทศชาติ

๓.ทาใหม้ โี อกาสสรา้ งชอื่ เสยี งใหแ้ กต่ นเองและวงศต์ ระกูล เป็ นทยี่ อมรบั
ของบุคคลในสงั คม

๔.ทาใหม้ ฐี านะมน่ั คง เป็ นทเี่ คารพนบั ถอื ของบุคคลอนื่ ๆ
๕.ทาใหร้ ูจ้ กั ใชเ้ วลาวา่ ใหเ้ ป็ นประโยชน์
๖.ทาใหบ้ ุคคลเกดิ ความภาคภูมใิ จในตนเอง ทสี่ ามารถพงึ่ ตนเองได้ และ
ยงั ทาประโยชนแ์ กส่ งั คมโดยสว่ นรว่ มดว้ ย

แบง่ ออกเป็ น ๘ ประเภท คอื
๓.๑ อาชพี เกษตรกรรม (Agriculture) ไดแ้ ก่ การทาสวน การทานา ทา
ไร่ การประมง การเลยี้ งสตั ว ์ และการป่ าไม้
๓.๒ อาชพี เหมอื งแร่ (Mineral) เกยี่ วขอ้ งกบั การดาเนินกจิ กรรม การขดุ
เจาะนาเอาทรพั ยากรธรรมชาตติ า่ งๆมาใช้ เชน่ ถา่ นหนิ ดบี กุ น้ามนั และ
ปูนซเี มนต ์ ฯลฯ
๓.๓ อาชพี อตุ สาหกรรม (Manufacturing) เป็ นการดาเนินกจิ กรรม
ทางดา้ นการผลติ และบรกิ ารทว่ั ๆไปทง้ั อตุ สาหกรรมขนาดยอ่ มและขนาดใหญ่
๓.๔ อาชพี กอ่ สรา้ ง (Construction) เป็ นการดาเนินกจิ กรรมเกยี่ วกบั
การสรา้ งอาคาร ทอี่ ยูอ่ าศยั ถนน สะพาน เขอื่ น ฯลฯ

๑๓

๓.๕ อาชพี การพาณิชย ์ (Commercial) เป็ นการดาเนินกจิ กรรมเกยี่ ว
ชอ้ งกบั การตลาด การจาหน่ายสนิ คา้ ปลกี และสนิ คา้ สง่

๓.๖ อาชพี การเงิน (Financial) การดาเนินกจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหธ้ ุรกจิ
ตา่ งๆคลอ่ งตวั มากยงิ่ ขนึ้ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื และการลงทุน ไดแ้ ก่ ธนาคาร
ตา่ งๆ

๓.๗ อาชพี บรกิ าร (Services) เป็ นการดาเนินกจิ กรรมทตี่ อบสนองความ
ตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภค ในการอานวยความสะดวกสบาย เป็ นการขนสง่ การ
สอื่ สาร การโรงแรม การท่องเทยี่ ว โรงพยาบาล โรงภาพยนต ์ ภตั ตาคาร
รา้ นอาหาร สถานบนั เทงิ ตา่ งๆ ฯลฯ

๓.๘ อาชพี อนื่ ๆ เป็ นอาชพี ทนี่ อกเหนือจากอาชพี ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ไดแ้ ก่
อาชพี อสิ ระตา่ งๆ เชน่ แพทย ์ ครู เภสชั วศิ วกร สถาปนิก จติ รกร ประตมิ ากร
เป็ นตน้

๑. เพอื่ ตนเอง การประกอบอาชพี ทาใหม้ รี ายไดม้ าจบั จา่ ยใชส้ อยในชวี ติ
๒.เพือ่ ครอบครวั ทาใหส้ มาชกิ ของครอบครวั ไดร้ บั การเลีย้ งดูทาใหม้ ี
คุณภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้
๓.เพือ่ ชุมชน ถา้ สมาชิกในชุมชนมีอาชีพและมีรายไดด้ ีจะส่งผลให้
สมาชกิ มคี วามเป็ นอยูด่ ขี นึ้ อยูด่ กี นิ ดี สง่ ผลใหช้ มุ ชนเขม้ แขง็ และพฒั นาตนเอง
ได ้
๔.เพอื่ ประเทศชาติ เพอื่ ประชากรของประเทศมกี ารประกอบอาชพี ทดี่ ี มี
รายไดด้ ี ทาใหม้ รี ายไดท้ เี่ สยี ภาษีใหก้ บั รฐั บาลมรี ายไดไ้ ปใชบ้ รหิ ารประเทศ
ตอ่ ไป

๑. (Need for Achivement)

๒. (Creativity Thinking) การจะเป็ นผูป้ ระสบ
ความสาเรจ็ ในงานอาชพี ไดน้ น้ั จะตอ้ งเป็ นผูท้ มี่ คี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค ์ ไม้
พอใจในการทาสงิ่ ซา้ ๆเหมอื นเดมิ ตลอดเวลา

๓. (Addicted to Goals) เมอื่ ตงั้ เป้ าหมาย แลว้
จะตอ้ งทุม่ เททุกอยา่ งเพอื่ ใหบ้ รรลุเป้ าหมาย

๔. (Management

and Leadership Capability) มลี กั ษณะการเป็ นผูน้ า รูจ้ กั หลกั การบรหิ าร
จดั การทดี่ ี

๑๔

๕. (Be Self Confident) ผูท้ จี่ ะประสบความสาเรจ็

มกั จะเป็ นผูท้ มี่ คี วามเชอื่ มน่ั ในความสามารถของตนเอง มคี วามเป็ นอสิ ระและ
รูจ้ กั พงึ่ ตนเอง มคี วามมน่ั ใจ มคี วามเขม้ แขง็ เดด็ เดยี่ ว มลี กั ษณะเป็ นผูน้ า

๖. (Visionary) เป็ นผูท้ สี่ ามารถวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์

ในอนาคตไดอ้ ยา่ งแมน่ ยา และรูจ้ กั เตรยี มพรอ้ มรบั เหตกุ ารณท์ จี่ ะเกดิ ขนึ้
(Responsibility) มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ งานทที่ าเป็ น

อยา่ งดี เป็ นผูน้ าในการทาสงิ่ ตา่ งๆ มกั จะมคี วามรเิ รมิ่ แลว้ ลงมอื ทาดว้ ยตนเอง
หรอื มอบหมายใหผ้ ูอ้ นื่ ทาและจะดูแลจนงานสาเรจ็ ตามเป้ าหมาย

๘. (Enthusiastic) มกี ารทางานทเี่ ตม็ ไป

ดว้ ยพลงั มชี วี ติ ชวี า มคี วามกระตอื รอื รน้ ทางานทกุ อยา่ งโดยไมห่ ลกี เลยี่ ง
ทางานหนกั มากกวา่ คนทว่ั ไป

๙. (Take New Knowledge) ถงึ แมว้ า่ จะมคี วาม

เชยี่ วชาญในการทางาน แตค่ วามรูแ้ ละประสบการณท์ มี่ อี ยูย่ งั ไมเ่ พยี งพอ ควร

ทจี่ ะหาความรูเ้ พมิ่ เตมิ

๑๐. (Can Make Decision And Be

Attempt) มคี วามกลา้ ตดั สนิ ใจมคี วามหนกั แน่นไมห่ วน่ั ไหว เชอื่ มน่ั ในตนเอง
กบั งานทที่ า มจี ติ ใจของนกั สู ้

๑๑. (Adaptable) ตอ้ งรูจ้ กั การปรบั ตวั

ตามสภาพแวดลอ้ ม มากกวา่ ปลอ่ ยใหท้ กุ อยา่ งเป็ นไปตามยถากรรม หรอื ขนึ้ อยู่

กบั โชคหรอื ดวง

๑๒. (Self Assessment) การรูจ้ กั ประมาณตนเองไม่

ทาสงิ่ เกนิ ตวั

๑๓. (Safe For Future) ผูป้ ระกอบการจะตอ้ งรูจ้ กั ประหยดั และ

อดออม ตอ้ งรูจ้ กั หา้ มใจทจี่ ะหาความสุข ความสบายในชว่ งทธี่ ุรกจิ อยูใ่ นชว่ ง

ตง้ั ตวั (Loyalty) ตอ้ งมคี วามซอื่ สตั ยต์ อ่ ลูกคา้ และหนุ้ สว่ น
๑๔.

ตอ้ งสรา้ งความเชอื่ มน่ั ใหก้ บั ธนาคารดว้ ยการเป็ นลูกหนีท้ ดี่ ี เป็ นนายทดี่ ขี อง
ลูกนอ้ ง และตอ้ งมคี วามซอื่ สตั ยต์ อ่ ตนเองและครอบครวั

๑๕

สงิ่ สาคญั ในการตดั สนิ ใจเลอื กอาชพี ขนึ้ อยูก่ บั องคป์ ระกอบทสี่ าคญั ๒

ประการ คอื

ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลดา้ นอาชพี เป็ นขอ้ มูลทมี่ ขี อบขา่ ย

กวา้ งขวางมาก ซงึ่ ขอบขา่ ยของขอ้ มูลดา้ นอาชพี พอสรุปไดด้ งั นี้

ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ความตอ้ งการผูท้ างานในดา้ นตา่ ง ๆ ในปัจจบุ นั และการ
พยากรณท์ จี่ ะมคี วาม ตอ้ งการเพมิ่ ขนึ้ หรอื ลดลงในอนาคต

งานทจี่ ะตอ้ งทาเป็ นประจามลี กั ษณะอยา่ งไร ผูท้ างานจะตอ้ งทาอะไรบา้ ง
เป็ นงานทที่ าใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลนิ หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความเบอื่ หน่าย งาน ใหญ่
หรอื งานเล็ก มคี วามรบั ผดิ ชอบทสี่ าคญั หรอื ไม่ ตอ้ ง เกยี่ วขอ้ งกบั ตวั เลข สงิ่ ของ
หรอื คน ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื อปุ กรณม์ ากหรอื ไม่ ตอ้ งน่งั ทางาน ยนื ทางาน ตอ้ งเดนิ

ทางหรอื ไม่

ไดแ้ ก่ สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศของงาน เชน่ รอ้ น เยน็ ชนื้ แหง้
เปี ยก ฝ่ ุ นละออง สกปรก เสยี งดงั ในอาคาร กลางแจง้ ในโรงงาน มสี ารพษิ มี
สาร กมั มนั ตภาพรงั สี มคี วามขดั แยง้ เป็ นตน้

อาชพี นน้ั ๆ โดยทว่ั ไปเป็ นอาชพี สาหรบั เพศหญงิ หรอื เพศชาย หรอื ให้
โอกาสแกท่ งั้ หญงิ ทง้ั ชาย หรอื ใหโ้ อกาสแกเ่ พศใดเพศหนึ่งมากกวา่

การเขา้ ประกอบอาชพี ตอ้ งมวี ธิ กี ารอยา่ งไร โดยการสมคั รงานกบั นายจา้ ง
ดว้ ยตนเองต้องมีการสอบสมั ภาษณ์หรือต้องสอบข้อเขียนด้วย ถ้าเป็ น
การ ประกอบอาชพี อสิ ระตอ้ งใชท้ ุนทรพั ยเ์ พอื่ ดาเนินกจิ การมากน้อยเพยี งใด

ในการประกอบอาชพี นนั้ ๆ จะมรี ายไดเ้ ป็ นวนั สปั ดาห ์ เดอื น ปี โดยเฉลยี่
แลว้ เป็ นเงินเท่าใด

อาชพี นนั้ ๆ จะมคี วามกา้ วหน้าเพยี งใด จะตอ้ งมกี ารศกึ ษาอบรมเพมิ่ เตมิ
มคี วามสามารถหรอื ประสบการณอ์ ย่างไรจงึ จะไดเ้ ลือ่ นขน้ั มากน้อยเพียงใด
การประกอบอาชพี เดมิ นาไปสูอ่ าชพี ใหมห่ รอื ไม่

๑๖

มผี ูป้ ระกอบอาชพี มากน้อยเพยี งใดและกระจายอยู่ทว่ั ประเทศหรอื มอี ยู่
เพยี งบางจงั หวดั ทาไมจงึ เป็ นเชน่ นนั้ ผูป้ ระกอบอาชพี ทใี่ ดกไ็ ดห้ รอื จะตอ้ ง อยูท่ ี่
ใดทหี่ นึ่งโดยเฉพาะ

อาชพี แตล่ ะอยา่ งยอ่ มมที งั้ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ซงึ่ ขนึ้ อยูก่ บั ความพอใจและ
ความตอ้ งการของผูป้ ระกอบอาชพี ของแตล่ ะคน

◾ ความสนใจ– บุคลกิ ภาพ– สตปิ ัญญา– ความถนดั – ทกั ษะ– ความ
สมั ฤทธผิ ล– ประสบการณ์

◾ แรงจูงใจใฝ่ สมั ฤทธผิ ล– ความรบั ผดิ ชอบ– ความอตุ สาหะ– ความตรง
ตอ่ เวลา– ความอบอนุ่

◾ ระดบั การกลา้ เสยี่ ง– ความเป็ นคนเปิ ดเผย– ความไมย่ ดื หยนุ่ – ความ
แกรง่ ของจติ ใจ–

◾ความรูส้ กึ เกยี่ วกบั คณุ คา่ แหง่ ตน– ความสามารถในการตดั สนิ ใจ– วฒุ ิ
ภาวะทางอาชพี

◾ เพศ– เชอื้ ชาต–ิ อาย–ุ ความแขง็ แรงของรา่ งกาย– สุขภาพ

◾ คา่ นิยมทว่ั ๆ ไป– คา่ นิยมทางการงาน– จดุ มงุ่ หมายชวี ติ – จุดมงุ่ หมาย
ทางอาชพี

◾ การรบั รูเ้ กยี รตแิ ละชอื่ เสยี งของอาชพี – ทศั นคตติ อ่ อาชพี ตา่ ง ๆ–
ความเขา้ ใจอาชพี ทเี่ กยี่ วกบั คน/ขอ้ มูล

◾ จรยิ ธรรมในการทางาน– การใชเ้ วลาวา่ ง– ความตอ้ งการเปลยี่ นแปลง
◾ ความตอ้ งการกฎเกณฑ–์ ความตอ้ งการสนบั สนุน/ชว่ ยเหลอื
◾ ความตอ้ งการอานาจ– ความมน่ั คง– ความปลอดภยั – การทางานให้
เป็ นประโยชนก์ บั ผูอ้ นื่

๑๗

เชน่ ลกั ษณะของงานอาชพี กระบวนการ
ทางานในงานอาชพี นน้ั ๆ ความกา้ วหน้าในอาชพี การ

แนะนา แนะแนว
อาชพี แนะแนวการศกึ ษาตอ่ และการเตรยี มตวั กอ่ นเขา้ สู่ ตลาดแรงงาน

ความสนใจ และ
ความ พรอ้ มในการเลอื กประกอบอาชพี ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง

ปัญหาเศรษฐกจิ มผี ลตง้ั แต่การเลอื กเรยี นตอ่
หรอื ศึกษาเพิ่มเติมในสาขา วิชาที่ใชเ้ งินทุนจานวนน้อย และเมื่อสาเร็จ
การศกึ ษาแลว้ เป็ นทตี่ อ้ งการของตลาดแรงงาน ตลอดจน การฝึ กพฒั นา ฝี มอื
ตนเองเพมิ่ เตมิ เพอื่ ใหค้ ุณลกั ษณะเดน่ ในการสมคั รงาน

ทม่ี า https://www.nanitalk.com/interesting-story/5417
อาชพี ทจี่ ะหายไป ขอ้ มูลจาก กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม อกี ไม่กปี่ ี ขา้ งหนา้ จะมอี าชพี
หลายอาชพี ที่เราคุน้ เคยหายไป ดว้ ยความกา้ วลา้ ของเทคโนโลยีทุกวนั นี้ ที่เขา้ มาช่วยอานวยความ
สะดวกสบายใหก้ บั เรา มบี างอยา่ งเพม่ิ เขา้ มา ก็ตอ้ งมบี างอย่างทค่ี อ่ ย ๆ หายไป จะมอี าชพี อะไรบา้ งมาดูกนั
พนักงานขาย / แคชเชยี ร ์
พนักงานสอื่ สงิ่ พมิ พ ์
นายหนา้ ทวั ร ์
คนขบั รถแท็กซ่ี
ผูป้ ระกาศขา่ ว
คนในสายการผลติ
พนักงานธนาคาร
อาชพี ทน่ี ่าสนใจ มาแรงในทศวรรษหนา้ ทุกวนั นีต้ ลาดแรงงานเปลย่ี นแปลงรวดเรว็ จนน่าตกใจ
อาชพี บางอย่างทห่ี ลายคนคดิ ว่าม่นั คง ตอนนีอ้ าจจะไม่ใชแ่ ลว้ ภายในปี ๒๐๒๐ จะมคี นตกงานมากกว่า
๕-๗ ลา้ นคน จากความกา้ วหนา้ ดา้ นเทคโนโลยี สาหรบั นักศกึ ษาทย่ี งั อยูใ่ นวยั เรยี นทกี่ าลงั คดิ ถงึ อาชพี ใน
อนาคตของตวั เอง มาดู ๑๐ อาชพี ทตี่ ลาดตอ้ งการในอนาคตกนั

วทิ ยาการขอ้ มลู เป็ นสายอาชพี ใหมท่ นี่ ่าสนใจ มุ่งเนน้ ดา้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื ทจ่ี ะหาความรจู ้ าก
ขอ้ มลู ทมี่ มี ากมายในปัจจบุ นั (Big Data) ไม่วา่ จะเป็ นจากใน Social Network หรอื ขอ้ มูลต่าง ๆ รวมถงึ
รปู ภาพ คลปิ วดิ โี อจากกลอ้ งตา่ ง ๆ ดว้ ยความรทู ้ ไี่ ดม้ าจากขอ้ มลู ดงั กลา่ วสามารถนามาคาดการณแ์ นวโนม้
ตา่ ง ๆ (Data Analysis) ในอนาคต กาหนดกลมุ่ ลกู คา้ เป้ าหมาย จดจารปู แบบการใชห้ รอื ซอื้ สนิ คา้ ออนไลน์
เพอื่ กระตุน้ การซอื้ สนิ คา้ ใหม้ ากขนึ้ นอกจากนีใ้ นแง่ของการทางานของหุ่นยนต ์ ยงั อาศยั การวเิ คราะห ์
ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ในศาสตรน์ ีป้ ระกอบกบั ศาสตรด์ า้ นปญั ญาประดษิ ฐ ์(AI) เพอ่ื ตอบสนองและควบคุมการทางาน
ของห่นุ ยนตใ์ หเ้ ป็ นไปตามเป้ าหมาย ในปัจจบุ นั สายอาชพี ดงั กล่าวจงึ ไดร้ บั ความนิยมสูงสดุ มรี ายไดเ้ ฉลยี่
ประมาณ ๔-๕ ลา้ นบาทต่อปี และคาดวา่ จะมคี วามตอ้ งการบคุ ลากรดา้ นนีข้ ยายตวั เพมิ่ ขนึ้ ประมาณ ๑๖%

๑๘

นักสถติ ิ สายอาชพี ดา้ นสถติ ิ ยงั คงบทบาทสาหรบั ศาสตรก์ ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู ใชใ้ นเชงิ สถติ แิ ละการ
จดั การ สาเหตกุ เ็ ชน่ เดยี วกบั สายอาชพี Data Science เน่ืองจากปัจจบุ นั มขี อ้ มูลเป็ นจานวนมากเกนิ กวา่
ศกั ยภาพของคนทจ่ี ะวเิ คราะห ์ และสรปุ ขอ้ มูล ศาสตรด์ า้ นสถติ จิ งึ เป็ นเครอ่ื งมือชว่ ยในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
สรุปขอ้ มูล และทานายขอ้ มูล สายอาชพี นี้มีรายไดเ้ ฉลย่ี ประมาณ ๒-๓ ลา้ นบาทต่อปี แต่มีอตั ราการ
ขยายตวั สูงมากถึง ๓๔% นับเป็ นหลกั ฐานทชี่ ดั เจนใหเ้ ห็นว่าธุรกจิ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า ใชข้ อ้ มูล
สารสนเทศ และสถติ ใิ นการจดั การและบรหิ ารงานมากกว่าการคาดเดาและประเมนิ สถานการณจ์ ากผูท้ มี่ ี
ประสบการณ์

ทงั้ นีเ้ นื่องจากการใหบ้ รกิ ารธรุ กจิ ในปัจจบุ นั มกี ารใช ้ Web/Mobile Application เป็ นหลกั ในการ
ใหบ้ รกิ าร ประชากรหลกั ลา้ นทางานอยู่บน Web/Mobile Application พรอ้ ม ๆ กนั จากทว่ั โลก ขอ้ มูล
ปรมิ าณมาหาศาลถกู สง่ ไปมาเพอื่ ประกอบการทาธรุ กรรมตา่ ง ๆ ซง่ึ เป็ นการยากเกนิ กวา่ ผบู้ รหิ ารจะเขา้ ไป
ทาความเขา้ ใจ รปู แบบตา่ ง ๆ ของธรุ กรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ดงั นั้นการบรหิ ารงานสมยั ใหม่จงึ ตอ้ งใชส้ ถติ ลิ ว้ น ๆ ใน
การจดั การ ยกตวั อยา่ ง เชน่ ในสมยั กอ่ น ธนาคารกจ็ ะเนน้ ใหเ้ ปิดสาขาเพอ่ื บรกิ ารลกู คา้ ผจู้ ดั การสาขาของ
ธนาคารก็สามารถเขา้ ไปสารวจ หรอื สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานและการใหบ้ รกิ าร เพอื่ ใชใ้ นการปรบั ปรงุ
การใหบ้ รกิ ารได ้

แต่ในปัจจุบนั ลูกคา้ ใชบ้ รกิ ารผ่าน Application ทงั้ บน PC ผ่าน Browser และ Mobile
Application บนโทรศพั ทม์ ือถือ ผูจ้ ดั การสาขาก็ไม่มีความจาเป็ นทจ่ี ะตอ้ งเขา้ ไปสารวจหรอื สงั เกต
พฤตกิ รรม เพยี งแตด่ ขู อ้ มลู สรปุ ทางสถติ ใิ หเ้ ขา้ ใจ ก็สามารถดาเนินการปรบั ปรงุ ใหเ้ ป็ นไปตามเป้ าหมายทวี่ าง
ไวไ้ ด ้ ดงั น้ัน ขอ้ มูลและสถติ จิ งึ เป็ นหวั ใจของการเปลย่ี นแปลงการทางานในยคุ สมยั นี้

นักวเิ คราะหค์ วามม่นั คงสารสนเทศ สายอาชพี ทน่ี ่าสนใจเชน่ กนั การควบคุมความม่นั คงระบบ
สารสนเทศขององคก์ รกลายเป็ นปัจจยั สาคญั ในการป้ องกนั ผไู้ ม่พงึ ประสงคท์ เี่ ขา้ มาแอบขโมยขอ้ มูลของ
องคก์ ร เขา้ มาแกลง้ ใหเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรข์ ององคก์ รลม่ เพอ่ื ไม่สามารถใหบ้ รกิ ารกบั ลูกคา้ ต่าง ๆ ได ้ สาย
อาชพี นีจ้ ะตอ้ งเรยี นรวู ้ ธิ กี ารตดิ ตงั้ อปุ กรณแ์ ละซอฟตแ์ วรต์ า่ ง ๆ ทช่ี ว่ ยป้ องกนั ภยั คุกคาม ไม่ใหม้ รี รู ว่ั ในระบบ
คอมพวิ เตอรอ์ นั จะเป็ นชอ่ งโหว่ใหถ้ ูกเขา้ มาโจมตไี ด ้ รวมไปถงึ การวางแผนและวิเคราะหข์ อ้ มูลดา้ นความ
ปลอดภยั ตา่ ง ๆ ในองคก์ รดว้ ย

นักโสตสมั ผสั วทิ ยา เป็ นผเู ้ ชย่ี วชาญในการวจิ ยั , วนิ ิจฉยั และรกั ษาปัญหาทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั หู เน่ืองจาก
สงั คมไดเ้ ปลยี่ นเป็ นสงั คมของผูส้ ูงอายุมากขนึ้ และหูเป็ นอวยั วะทม่ี ปี ัญหาเรอื้ รงั ในกลุม่ ผูส้ ูงอายุ ดงั น้ันจงึ
ตอ้ งการผูเ้ ชยี่ วชาญดา้ นนี้เป็ นจานวนมากเพ่ือดูแลผูป้ ่ วย รายไดข้ องนักโสตสมั ผสั วทิ ยาในประเทศ
สหรฐั อเมรกิ าจะอยู่ท่ี ๓ ลา้ นบาทตอ่ ปี และมอี ตั ราการขยายตวั ประมาณ ๒๙%

นักวนิ ิจฉัยทางการแพทย ์ สายอาชพี นีถ้ ูกคาดการณว์ า่ จะมคี วามตอ้ งการเพม่ิ ขนึ้ ประมาณ ๒๔%
เน่ืองจากความกา้ วหนา้ ดา้ นเทคโนโลยขี องอปุ กรณอ์ ลั ตราซาวด ์ (Ultrasound) ซงึ่ มคี วามจาเป็ นจะตอ้ งมี
ผูเ้ ชย่ี วชาญวนิ ิจฉัยผลการตรวจ ซงึ่ สายอาชพี นีจ้ ะมรี ายไดป้ ระมาณ ๒ ลา้ นบาทตอ่ ปี

๑๙

นักคณิตศาสตร ์ เป็ นสายอาชพี ดงั้ เดิม ทยี่ งั คงสรา้ งรายไดด้ ี และมีความตอ้ งการสูงในประเทศ
สหรฐั อเมรกิ า ในปัจจุบนั นักคณิตศาสตรถ์ ูกจา้ งงานนอ้ ยมาก อตั ราการขยายตวั และความตอ้ งการใน
ตลาดแรงงานดา้ นนักวเิ คราะหท์ างคณิตศาสตรจ์ ะเพม่ิ มากขนึ้ ในชว่ ง ๑๐ ปี ทจ่ี ะถงึ นี้ ความตอ้ งการสว่ นใหญ่
จะอยใู่ นภาควชิ าการ จนถงึ ในระดบั มหาวทิ ยาลยั ซง่ึ สายอาชพี นีจ้ ะมีรายไดป้ ระมาณ ๓.๕ ลา้ นบาทต่อปี
สายอาชพี นีถ้ กู คาดการณว์ า่ จะมคี วามตอ้ งการเพมิ่ ขนึ้ ประมาณ ๓๓%

นักพฒั นาซอฟตแ์ วร ์ เป็ นสายอาชพี ทตี่ ดิ อนั ดบั ตน้ ๆ มาหลายปี และเป็ นทแี่ น่นอนวา่ คนทเี่ รยี น
สาขานีจ้ ะมีงานเขา้ มาใหท้ าจนลน้ มือเลยทเี ดยี ว สายอาชพี มคี วามตอ้ งการในตลาดแรงงานสงู เน่ืองจาก
ระบบซอฟตแ์ วรจ์ ะครองโลก หมายความว่าอุปกรณท์ ุกชนิดไม่ว่าจะเป็ น อุปกรณเ์ ครอ่ื งกล อุปกรณ์
อเิ ล็กทรอนิกส ์ จะใชซ้ อฟตแ์ วรเ์ป็ นตวั ควบคุมการทางานและรายงานสถานะใหก้ บั อปุ กรณต์ วั อน่ื ๆ ทราบ
เพอื่ ประสานการทางานกนั อยา่ งลงตวั อย่างในปัจจบุ นั ไดม้ กี ารสรา้ ง Smart City ซงึ่ เป็ นรปู แบบการประยกุ ต ์
เทคโนโลยดี ิจทิ ลั หรอื ขอ้ มูลสารสนเทศและการสอื่ สารในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ และคุณภาพของบรกิ าร
ชมุ ชน

นักวเิ คราะหร์ ะบบคอมพิวเตอร ์ สายอาชพี นีม้ ีความตอ้ งการในตลาดแรงงานสูงต่อเนื่องมาเป็ น
ระยะเวลานับ 10 ปี ลกั ษณะงานคอื เขา้ ไปศกึ ษาระบบการทางานของหน่วยงานหรอื องคก์ ร เพอื่ แสวงหา
แนวทางในการปรบั ปรงุ การทางาน หรอื การดาเนินธรุ กจิ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด บุคลากรทจี่ ะเรยี นในสาย
อาชพี นีจ้ ะตอ้ งมที กั ษะในดา้ นการสอื่ สารและการวเิ คราะหเ์ ป็ นอยา่ งดี สามารถนาเอาเทคโนโลยใี นปัจจบุ นั มา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการทางานใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ล นอกจากนีย้ งั ตอ้ งมคี วามสามารถในการออกแบบโปรแกรม และ
ประสานงานกบั นักพฒั นาซอฟตแ์ วรเ์พอื่ ผลติ ผลงานทม่ี ีคุณภาพและสอดคลอ้ งกบั การทางานของธรุ กจิ
สายอาชพี นีม้ รี ายไดป้ ระมาณ ๒.๘ ลา้ นบาทต่อปี และมอี ตั ราการขยายตวั อยทู่ ่ี ๒๑%

นักแกไ้ ขการพดู สายอาชพี สาหรบั ผูท้ ปี่ ฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั การวนิ ิจฉัย การบาบดั รกั ษา และฟื้นฟู
ผูป้ ่ วยทม่ี คี วามผดิ ปกตทิ างภาษาและการพดู เชน่ พดู ไม่ได ้ พดู ไม่ชดั เสยี งผดิ ปกติ สายอาชพี นีใ้ นประเทศ
สหรฐั อเมรกิ าจะมรี ายไดป้ ระมาณ ๒.๕ ลา้ นบาทต่อปี และมอี ตั ราการขยายตวั อยทู่ ่ี ๒๑% เชน่ กนั

นักคณิตศาสตรป์ ระกนั ภยั สายอาชพี นีไ้ ดอ้ ธบิ ายรายละเอยี ดไวข้ า้ งตน้ บทความนีแ้ ลว้ วา่ ลกั ษณะ
งานเป็ นอยา่ งไร ในยคุ นีก้ ย็ งั คงเป็ นหน่ึงในสายอาชพี ทมี่ คี วามตอ้ งการสงู อยู่ โดยมรี ายไดป้ ระมาณ 2.5 ลา้ น
บาทตอ่ ปี และมอี ตั ราการขยายตวั อยทู่ ่ี ๒๑% เชน่ กนั

อาชพี ทง้ั หมดน้ันเป็ นเพยี งแนวทาง หรอื แนวโนม้ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต หากคนรบั รขู ้ อ้ มูลขา่ วสาร
กนั มาก ๆ และหนั ไปทาอาชพี คลา้ ยกนั ไปหมด อาชพี เหลา่ นั้นก็อาจจะหมดเสน่ห ์ และกลายเป็ นอาชพี ลน้
ตลาดเหมือนกบั ทเ่ี คยเกดิ กบั อาชพี อน่ื ๆ ก็เป็ นไปได ้ ทางทดี่ ีเราควรเรยี นในสงิ่ ทเี่ ราถนัด เลอื กประกอบ
อาชพี ทเี่ หมาะสมกบั เรา และสอดคลอ้ งกบั ตลาด ก็จะประสบความสาเรจ็

๒๐

อาชพี ในอนาคต

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ ทกั ษะการเขยี นเรยี งความ ๒๑

รายการประเมนิ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน รวม

อกั ขรวธิ ี ๔ดมี าก ๓ ดี ๒ พอใช ้ ๑ ปรบั ปรงุ
เอกภาพ
สมั พนั ธภาพ เขยี นถกู ตอ้ ง เขยี นผดิ เขยี นผดิ เขยี นผดิ
สารตั ถภาพ ทกุ คา ๑-๓ คา ๔-๖ คา ๗ คาขนึ้ ไป
การใชภ้ าษา เนือ้ หามเี อกภาพ เนือ้ หาขาด เนือ้ หาขาด เนือ้ หาไม่มเี อกภาพ
สมั พนั ธภาพ องคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบ
ความเรยี บรอ้ ย สารตั ถภาพ ๑ อย่าง ๒ อยา่ ง สมั พนั ธภาพ

รปู แบบ สารตั ถภาพ

ใชค้ าถกู ตอ้ ง ใชค้ าไม่ถกู ตอ้ ง ใชค้ าไม่ถกู ตอ้ ง ใชค้ าไม่ถกู ตอ้ งตาม
ตามความหมาย ตามความหมาย ตามความหมาย ความหมายและระดบั
และระดบั ภาษา และระดบั ภาษา และระดบั ภาษา ภาษา ๗ แห่งขนึ้ ไป
ตลอดขอ้ ความ ๔-๖ แห่ง
เป็ นระเบยี บ ๑-๓ แหง่ ไม่เป็ นระเบยี บ ไมเ่ ป็ นระเบยี บ
ไม่มรี อยลบ เป็ นระเบยี บ มรี อยลบขดี ฆา่ มรี อยลบขดี ฆา่
ขดี ฆา่ มรี อยลบขดี ฆา่ ๔-๖ แหง่ ๗ แห่งขนึ้ ไป
๑-๓ แหง่ ผดิ รปู แบบ
ถกู ตอ้ งตาม ผดิ รปู แบบ ๒ อย่าง ไม่มรี ปู แบบ
รปู แบบการเขยี น ๑ อย่าง การเขยี นเรยี งความ
เรยี งความ
รวมคะแนน

ผูป้ ระเมนิ ( ) ตนเอง ( ) เพอ่ื น ( ) ผปู ้ กครอง ( ) ครู

ระดบั คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ผลประเมนิ
ดมี าก ๑๘-๒๐
ดี ๑๔-๑๗
พอใช ้ ๑๐-๑๓
ปรบั ปรงุ ๐-๙

๒๒

คาชแี้ จง แบบทดสอบหลงั เรยี น
เรอื่ ง เรยี งความ

วงกลมคาตอบทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว

๑. ขอ้ ความตอ่ ไปนี้ ควรเป็ นสว่ นใดของเรยี งความ ( )

ประโยชนจ์ ากแนวปะการงั ประการสดุ ทา้ ย เป็ นแหลง่ ทรพั ยากรอาหารของมนุษย ์ สงิ่ มชี วี ติ

ต่าง ๆ จานวนมากในแนวปะการงั นั้นสามารถกนิ เป็ นอาหารได ้ ปลาชนิดต่าง ๆ ปลงิ ทะเล หอย กงุ ้ และ

ปลาหมกึ ๒. ความนา
๑. โครงเรอ่ื ง

๔. ความลงทา้ ย ๕. สว่ นขยายความลงทา้ ย

๒. เรยี งความเรอื่ ง “เสน่หไ์ ทยในเวทโี ลก” มปี ระเด็นการเขยี นตอ่ ไปนี้

ก. อาหารไทย ข. ศลิ ปะมวยไทย

ค. การนวดแผนไทย ง. ผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไทย

ขอ้ ใดเหมาะสมทจี่ ะเป็ นประเด็นสาคญั ในการเขยี นความนา ( )

๑. ขอ้ ก ๒. ขอ้ ข

๓. ขอ้ ค ๔. ขอ้ ง

๓. ขอ้ ใด เป็ นประเด็นที่ ไม่ จาเป็ นสาหรบั การเขยี นเรยี งความเรอ่ื ง “

๑. มจี ติ สาธารณะ ๒. รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี
๓. ยดึ มน่ั ในระเบยี บวนิ ยั
๕. ขยนั หมน่ั เพยี รและใฝ่ รู ้

๔. ขอ้ ความตอ่ ไปนี้ ควรเป็ นสว่ นใดของเรยี งความ )

คงจะทาใหเ้ ห็นวา่ สงิ่ ทเี่ ราเคยเรยี กอยา่ งรงั เกยี จวา่ ขยะ กลบั มบี ทบาท

และมีคุณค่าเพิ่มขึน้ หลายมิติอย่างไม่น่ าเชอื่ ที่เป็ นเช่นนี้ไดล้ ว้ นเป็ นผลมาจากการคิดคน้ ประดิษฐ ์

สรา้ งสรรค ์ และรว่ มแรงรว่ มใจกนั ทาของคนในชมุ ชนทง้ั สนิ้

๑. โครงเรอื่ ง ๒. ความนา

๓. ตวั เรอื่ ง ๔. สว่ นขยายเนือ้ เรอ่ื ง

๕. ชอ่ื เรยี งความขอ้ ใด เหมาะทจี่ ะใชเ้ป็ น ตอ่ ไปนี้ )

“ปัญญาเป็ นรตั นะของคนทง้ั ปวง” คากลา่ วนีเ้ ป็ นเครอ่ื งเตอื นสตใิ หค้ นทว่ั ไประลกึ วา่

ประดบั ชวี ติ ของคนเรา

๑. คณุ คา่ ของมนุษย ์ ๒. สติ สมาธิ ปญั ญา

๔. การแสวงหาความสาเรจ็ ๕. วชิ าการสรา้ งไดด้ ว้ ยตวั เรา

๒๓

๖. เรยี งความเรอ่ื ง “วดั พระแกว้ ” มปี ระเด็นของเนือ้ เรอ่ื งดงั ตอ่ ไปนี้ ( )

๑. จติ รกรรมฝาผนัง ๒. สง่ิ กอ่ สรา้ งภายในวดั

๓. ขอ้ ควรปฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ชม ๕. การประกอบพระราชพธิ ที สี่ าคญั

ขอ้ ใดเรยี งลาดบั ประเด็นของเนือ้ เรอ่ื งเรยี งความขา้ งตน้ ไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม

๑. ๒-๑-๕-๔-๓ ๒. ๒-๔-๕-๑-๓

๓. ๓-๔-๒-๕-๑ ๕. ๔-๓-๑-๒-๕

๗. การอ่านเป็ นทกั ษะทางภาษาทมี่ ีความสาคญั ต่อการเรยี นรู ้ ดว้ ยเหตุนีพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา

แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๒ จงึ ไม่เพยี งแต่ระบใุ หส้ ถานศกึ ษาตอ้ งจดั กระบวนการเรยี นรใู ้ หส้ อดคลอ้ ง
กบั ความตอ้ งการของผเู ้ รยี นเทา่ นน้ั ครยู งั ตอ้ งสอนใหผ้ เู้ รยี นรกั การอา่ น เพอื่ ใหเ้ กดิ การใฝ่ รอู ้ ย่างตอ่ เน่ืองอกี

ดว้ ย

ขอ้ ใด ไม่ ควรเป็ นชอ่ื เรยี งความทม่ี เี นือ้ ความขา้ งตน้

๑. การจดั การเรยี นรู ้ ๒. หนา้ ทข่ี องครทู ดี่ ี

๔. บทบาทของโรงเรยี น ๕. ความสาคญั ของการอา่ น

๘. ขอ้ ใด เป็ นประเด็นทเี่ หมาะสมสาหรบั การเขยี น ของเรยี งความเรอ่ื ง

“อทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั ” ๒. โบราณสถานดา้ นทศิ ตะวนั ตก

๑. สถานทส่ี าคญั ภายในอทุ ยาน

๓. ลกั ษณะของพระพทุ ธรปู ปางลลี า ๔. การรบั อทิ ธพิ ลรปู ทรงเจดยี จ์ ากลา้ นนา

๙. ขอ้ ความตอ่ ไปนี้ ควรเป็ นสว่ นใดของเรยี งความเรอ่ื ง “พอ่ ของแผ่นดนิ ”

พระราชกรณียกจิ ทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงบาเพ็ญตลอดระยะเวลากว่า ๖๐ ปี ทผี่ ่านมา

พระองคเ์ ป็ นพระมหากษตั รยิ ผ์ ทู ้ รงปกครองแผน่ ดนิ โดยธรรมเพอื่ ประโยชนส์ ขุ ของมหาชน

ชาวสยามอยา่ งแทจ้ รงิ และทรงเป็ นพอ่ ผูป้ ระเสรฐิ อยา่ งหาทเี่ ปรยี บมไิ ดข้ องอาณาประชาราษฎรท์ งั้ ปวง

๑. ความนา ๒. โครงเรอ่ื ง

๓. เนือ้ เรอื่ ง ๔. สว่ นขยายเนือ้ เรอื่ ง

๑๐. ขอ้ ใด ควรเป็ นชอ่ื เรอ่ื งของเรยี งความทม่ี เี นือ้ หาดงั ตอ่ ไปนี้

พ่อแม่ควรสง่ เสรมิ ใหล้ ูกปฏบิ ตั ิและทากจิ กรรมทเี่ ป็ น เชน่ สอนใหล้ ูก

ชว่ ยถอื ของใหแ้ ม่เมือ่ กลบั จากตลาด หรอื ชว่ ยงานบา้ นง่าย ๆ พ่อแม่ควรชน่ื ชมและเนน้ ความสาคญั ของ
พฤตกิ รรมเหลา่ นีว้ า่ ลกู ไดแ้ สดงออกถงึ การตอบแทนบญุ คุณพอ่ แม่แลว้

๑. แนวปฏบิ ตั ขิ องเดก็ ดี ๒. พฤตกิ รรมในวยั เด็ก

๓. ความสาคญั ของพอ่ แม่ ๕. ความผกู พนั ในครอบครวั

-รา่ ง-เรยี งความ

อาชพี ในอนาคต
ชอื่ ................................สกุล..................................เลขท.ี่ .........หอ้ ง

.....................

โครงเรอื่ ง
๑.คานา(๓-๕บรรทดั ) ความสาคญั ของอาชพี /การเปลยี่ นแปลงอาชพี ในยุคปัจจบุ นั
๒.เนือ้ เรอื่ ง (๘-๑๐บรรทดั ) ความหมายอาชพี /ประเภทอาชพี /การเปลยี่ นแปลงของ
อาชพี ในโลกยุคปัจจบุ นั /การศกึ ษากบั การประกอบอาชพี /อาชพี ของฉนั ในอนาคต/แรง
บนั ดาลใจในการเลอื กอาชพี /แนวทางพฒั นาตนเองไปสูอ่ าชพี ในอนาคต/ตวั อยา่ งอาชพี ทดี่ /ี
ทศั นคตติ นเองทมี่ ตี อ่ อาชพี
๓.สรุป (๓-๕ บรรทดั ) ความสาคญั /ความคดิ เห็น/ ขอ้ คดิ อาชพี ทมี่ ตี อ่ ตนเอง
ครอบครวั สงั คม ประเทศชาต/ิ การจะประสบความสาเรจ็ อาชพี ในอนาคตเป็ นอยา่ งไร/
สุภาษติ /คาคม/คากลอนเกยี่ วกบั อาชพี ฯลฯ

คานา
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
...................................................................................................................................................... .......................
............................................................................................................ .................................................................
............................................................................................................................. ................................................

เนือ้ หา
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
....................................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................................
.......................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ .............................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. ................................................
................................................................................................................................................................... ..........
..................................................................................................................................... ........................................

สรุป
............................................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................................................................ .
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................

ตวั อย่างการเรยี นเรยี งความ

อาชพี ในอนาคต

อนั อาชพี ในโลกนีม้ หี ลายอย่าง เลอื กถูกทางอนาคตจะสดใจ

จงศกึ ษางานอาชพี รบี เขา้ ใจ วา่ งานไหนเปลยี่ นแปลงใหค้ ดิ ดู

ขอใหค้ ดิ ถงึ ปัญญาความสามารถ ว่าฉลาดเรยี นสงิ่ ใดไม่อดสู

แมน้ ถนดั เรามดี ว้ ยจกั ชว่ ยชู ใหม้ งุ่ สู่เป้ าหมายไดส้ มใจ
จะเป็ นครูตอ้ งเสยี งดงั พูดฟั งชดั หรอื ถนดั ชแี้ จงแถลงไข

จะเป็ นแพทยต์ อ้ งมธี รรมประจาใจ จะตอ้ งไมร่ งั เกยี จโรคทุกขโ์ ศกคน
ไม่ขขี้ ลาดปราบเหล่ารา้ ยไดท้ ุกหน
เป็ นตารวจตอ้ งเมตตาประชาราษฎร ์ ตอ้ งพลตี นเพอื่ ปกป้ องคมุ้ ครองไทย
ตอ้ งถว้ นถดี่ ใู หแ้ ม่นยาตามวสิ ยั
เป็ นทหารตอ้ งทรหดตอ้ งอดทน
อนั อาชพี มากมายหลายหมนื่ มี จงเป็ นไทความคดิ ชวี ติ เจรญิ
อย่าเลอื กตามคนอนื่ ฝื นชอบใจ

เราทุกคนเกดิ มาจะตอ้ งประกอบอาชพี เพอื่ หาเลยี้ งชวี ติ ตามความรูค้ วามสามารถ

ของตน และแตล่ ะคนก็มอี าชพี แตกตา่ งกนั ไป บางคนเป็ นแพทย ์ บางคนเป็ นทนั ตแพทย ์ สตั ว
แพทย ์ และอะไรอกี มากมาย หลายอาชพี ทมี่ อี ยู่ในปัจจุบนั ก็เรมิ่ เปลยี่ นแปลงไปตามยุคสมยั
ซงึ่ เราทุกคนมสี ทิ ธทิ์ จี่ ะประกอบอาชพี ต่าง ๆ เหล่าน้ันได้ ถา้ หากเรามคี วามพยายาม มุ่งมน่ั
และวางแผนการดาเนินชวี ติ อย่างเป็ นขน้ั ตอน

ปัจจุบนั มอี าชพี ต่างๆมากมายทงั้ อาชพี ที่มอี ยู่เดมิ และอาชพี ทีเ่ กิดขึน้ มาใหม่ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ ใหเ้ ราเลือกที่จะทาขึน้ อยู่กบั ว่าเราจะเลือกอาชีพประเภทใดที่เหมาะกบั
ศกั ยภาพของตวั เราเอง ในขณะทศี่ กึ ษาอยู่ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๓ อยู่นน้ั เชอื่ ว่าทุกๆคนคงมี
ความคดิ เรอื่ งการศกึ ษาต่อว่าเราตอ้ งการทจี่ ะเรยี นอะไร เพอื่ ทจี่ ะไดท้ างานดๆี หรอื งานทเี่ รา
ชอบ บางคนกอ็ าจจะเรยี นตอ่ สายอาชพี ซงึ่ เรยี นรูเ้ รอื่ งการประกอบอาชพี โดยตรงเพอื่ ทจี่ ะได้
มปี ระสบการณ์ ส่วนบางคนอาจจะเลอื กเรยี นตอ่ ในสายสามญั ซงึ่ ก็เป็ นทางเลอื กอกี ทาง

ความใฝ่ ฝันในการประกอบอาชพี ของแตล่ ะคนไมเ่ หมอื นกนั แน่นอน แตท่ ุกคนก็มสี ทิ ธิ์
ทจี่ ะคดิ และมสี ทิ ธทิ์ จี่ ะทาใหฝ้ ั นนัน้ เป็ นจรงิ บางคนอาจจะอยากประกอบอาชพี เป็ นพยาบาล
เป็ นทนั ตแพทย ์ หรอื แมแ้ ตเ่ ป็ นวศิ วกร หรอื บางคนทชี่ อบอยู่ในโลกจติ นาการอาจจะอยากเป็ น
นกั คอมพวิ เตอรก์ ราฟฟิ ก บางคนอาจจะอยากเป็ นครูซงึ่ ทุกคนก็มสี ทิ ธทิ์ จี่ ะทาใหฝ้ ันเป็ นจรงิ
ได้ ถา้ หากมคี วามพยายาม ใฝ่ รูใ้ ฝ่ เรยี น ขยนั อดทน และตง้ั ใจทจี่ ะทางานนนั้ จรงิ ๆ และหาก
เกิดความรูส้ ึกทอ้ แท้ ก็อาศยั กาลงั ใจจากครอบครวั และเพือ่ นๆคอยเป็ นกาลงั ใจใหป้ ระสบ
ผลสาเรจ็ ในสงิ่ ทหี่ วงั เพอื่ ทจี่ ะไดท้ างานดี ๆ และทางานทตี่ นเองรกั

สาหรบั อาชพี ในอนาคตของฉนั คอื การไดเ้ ป็ นครู สอนเด็กนักเรยี น เพอื่ ทจี่ ะไดส้ รา้ ง
คนดใี หแ้ ก่สงั คม สอนเด็ก ๆใหร้ ูจ้ กั ผดิ ชอบชว่ั ดี สงิ่ ไหนถูกและสิง่ ไหนผดิ ไม่ยุ่งเกีย่ วกบั
อบายมุข เป็ นคนดขี องสงั คม และเป็ นลูกทดี่ ขี องพ่อแม่ ซงึ่ ถา้ ฉนั ตอ้ งการจะประกอบอาชพี
เป็ นครู อย่างที่ดีอย่างที่ตงั้ ใจไวน้ ั้น สิ่งแรกที่ฉันตอ้ งทาใหไ้ ดต้ อนนี้คือ ตง้ั ใจเรยี นทุก ๆ

รายวชิ าอยา่ งเตม็ ความสามารถ มรี ะเบยี บวนิ ยั มคี วามรบั ผดิ ชอบ รกั การอ่าน การเขยี น
ใฝ่ เรยี นรู ้ และทาโจทยป์ ัญหาอย่างสม่าเสมอ ศกึ ษาระบบสอบคดั เลอื ก TCAS ของ ทปอ.
อย่างแจ่มแจง้ ซงึ่ สงิ่ เหลา่ นีเ้ มอื่ ฉนั ทาไดส้ มบูรณย์ อ่ มเป็ นปัจจยั ดา้ นดสี ง่ ผลใหฉ้ นั สามารถทา
คะแนนไดด้ แี ละเรยี นต่อในระดบั อุดมศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั ทจี่ ดั การศกึ ษาดา้ นความเป็ นครู
เช่น มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เป็ นตน้ ไดอ้ ย่างแน่นอน ซงึ่ จะทาใหพ้ ่อและแม่ภูมใิ จ

และตวั เองก็ภูมใิ จดว้ ยเชน่ กนั

อาชพี ในอนาคตของแตล่ ะคนไมเ่ หมอื นกนั และทุกคนมสี ทิ ธทิ์ จี่ ะทาใหม้ นั เป็ นจรงิ
ไดเ้ พยี งแตเ่ ราตอ้ งใฝ่ รู ้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ อดทน มงุ่ มน่ั และพยายามตามทตี่ ง้ั ใจไวแ้ ลว้

อาชพี ในอนาคตย่อมเป็ นจรงิ แน่นอน ก่อใหเ้ กดิ อาชพี ดที ใี่ ฝ่ หา
ความใฝ่ รูค้ อื ครูอนั ลา้ เลศิ วนั ขา้ งหนา้ ย่อมสมหวงั ดง่ั ใจปอง
อยู่ทใี่ จมน่ั คงแทไ้ ม่แปรสอง
หากขยนั หมน่ั ฝึ กตนเพยี รคน้ ควา้

อาชพี อนาคตจะสดใส

วางแผนดที าถูกตอ้ งตามครรลอง อาชพี ทองในฝันฉนั เลอื กเอง


Click to View FlipBook Version