The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน : ประโยชน์แท้แก่มหาชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การรายงาน : ประโยชน์แท้แก่มหาชน

รายงาน : ประโยชน์แท้แก่มหาชน

Keywords: การรายงาน

แนวทาง
รายงานผลการศึกษา
สาระการเรียนรู้ : ประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน

3 ซม.

“ตัวอยา่ งปก”

2.5 ซม. ตราสญั ลกั ษณโ์ ครงการฯ ขนาด 2.5 x
3.5 เซนติเมตร
จดั วางตาแหนง่ ไว้กงึ่ กลางหนา้ กระดาษ
สีตามต้นฉบบั

3.5 ซม. ให้พมิ พ์ห่างจากสญั ลักษณ์
1.5 เซนติเมตร ตัวอักษร
โครงการอนรุ ักษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ Angsana New ขนาด 18
ตวั หนา
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ตัวอักษร Angsana New
สนองพระราชดาริโดย ขนาด 16 ตวั หนา

……(ช…อื่ ส…ถ…า…นศ…ึก…ษ…า)… ตวั อักษร Angsana New
ขนาด 20 ตัวหนา

3 ซม. ตวั อักษร Angsana New 2.5 ซม.
ขนาด 18 ตวั หนา
(ช่ือพชื )

ประโยชน์แท้แก่มหาชน ตวั อกั ษร Angsana New
ขนาด 16 ตัวหนา

(ช่อื สถานศกึ ษา) ตัวอกั ษร Angsana New
………………………… ขนาด 18 ตัวหนา
ตาบล..................อาเภอ ................... จงั หวดั .......................... (วนั ทีใ่ ห้ใช้ตามตัวอย่าง)
วนั พฤหัสบดีท่ี 30 กันยายน พ.ศ. 2550

หมายเหตุ: ใช้กระดาษปกแข็ง เขา้ รปู เล่ม และไมใ่ ส่ภาพในหน้าปก

3 ซม.

โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
สนองพระราชดารโิ ดย

โรงเรยี น .............................. ตาบล ............. อาเภอ................. จังหวดั ..................... รหัสไปรษณยี .์ .........

บทคดั ย่อ
เรอ่ื ง รายงานผลการศึกษาประโยชน์แท้แกม่ หาชน
ช่อื พืช.........................................................................................

ประโยชน์แท้แก่มหาชนเปน็ การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียน ตระหนัก เห็นคุณประโยชน์ของทรัพยากร และมี
ภูมิปัญญาในการนาผลการเรยี นรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างย่ังยืน ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต อย่าง
สะดวกสบาย มคี วามสขุ โดยการศกึ ษานี้เพอ่ื ที่จะเรียนร้กู ระบวนการคดิ วเิ คราะห์ ศักยภาพ มีจินตนาการ
และมีกระบวนการคดิ อยา่ งสร้างสรรค์

โรงเรียน(ชื่อสถานศึกษา).................................... ได้จัดให้มีพื้นท่ีศึกษา...................ของโรงเรียน มี
การจดั การเรียนรู้บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นทกุ กลมุ่ สาระวิชา ทุกระดับช้ัน ตั้งแต่ประถมศึกษา
ปที ี่ ……… ถงึ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ……… นักเรียนผรู้ ่วมปฏิบัติจานวน ........... คน บคุ ลากรจานวน ............ คน

โรงเรยี นมีการดาเนนิ การ เรยี นร้กู ารวเิ คราะห์ศักยภาพของปัจจยั ศึกษา ด้านรูปลักษณ์ จานวน..........
เร่ือง.......ศักยภาพ ด้านคุณสมบัติจานวน.........เรื่อง.......ศักยภาพ ด้านพฤติกรรมจานวน........เรื่อง.......
ศักยภาพ สรุปคุณท่ีได้จากจินตนาการ จานวน........เร่ือง สรรค์สร้างวิธีการ แนวคิด แนวทางจานวน........
ผลงาน

สรุปผลการศึกษาประโยชน์แทแ้ กม่ หาชน เมอื่ ศึกษาแล้วมีคุณลกั ษณะท่สี ืบเนอ่ื งยาวนานไมร่ ู้จบ ขจัด
ความขาดแคลนทางกาย บารุงจติ ใหเ้ บกิ บาน ตกอย่กู บั มหาชนคนสว่ นใหญ่

กติ ติกรรมประกาศ

ขอบคุณโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ทีไ่ ด้ให้แนวทางในการจดั การเรยี นรู้ บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ตลอดจน
ท่ีปรึกษาประสานงาน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รองผู้อานวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ฯ
เจา้ หน้าท่ีโครงการอนุรักษพ์ นั ธกุ รรมพืชฯ (ควรระบุช่ือ – นามสกลุ )

ขอบคณุ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ท่ไี ดส้ นบั สนุนงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ การอานวยความสะดวก และ
ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ตลอดจนขอขอบคุณคณะกรรมการโรงเรียน คณะครู นักเรียน บุคลากร
สนับสนนุ ของโรงเรียน ผ้ปู กครอง ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ รวมถงึ ผูท้ ่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีเป็นกาลังสาคัญ ใน
การดาเนนิ งานจนทาให้ผลการดาเนินงานของโรงเรยี นสาเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี

คณะกรรมการดาเนินงาน
งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
โรงเรียน............................................................

คานา

แรงบันดาลใจ ความน่าสนใจ ความพึงพอใจ ความประทับใจของผู้เรียนที่มีต่อพืช เช่น การได้
สัมผัส แล้วเกิดแรงบันดาลใจต่อการท่ีจะเรียนรู้ หรืออาจเป็นความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตชนิดต่างๆที่เข้ามา
เกี่ยวขอ้ ง เชน่ ผ้ึงมาเกบ็ ละอองเกสรดอก................. เป็นตน้

โรงเรียนดาเนินการเรียนรู้การวิเคราะห์ศักยภาพของปัจจัยศึกษา พิจารณาศักยภาพด้านรูปลักษณ์
วเิ คราะหศ์ ักยภาพด้านคณุ สมบัติ จินตนาการศักยภาพดา้ นพฤตกิ รรม เรียนรู้ จนิ ตนาการเห็นคุณของศักยภาพ
ของปัจจัยศึกษา จินตนาการจากการวิเคราะห์ศักยภาพ เรียนรู้สรุปคุณของศักยภาพ ที่ได้จากจินตนาการ
สรรคส์ รา้ งวิธกี ารจากการพจิ ารณาคุณท่เี กดิ จากจนิ ตนาการ สร้างแนวคดิ แนวทาง วิธกี าร สรุปผลการเรียนรู้

โรงเรยี น (ชือ่ สถานศกึ ษา) .................................. จะดาเนินการศึกษาในเรื่องประโยชน์แท้แกม่ หาชน
ในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไปใหม้ ากย่ิงขน้ึ

คณะกรรมการดาเนินงาน
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
โรงเรยี น............................................................

สารบญั (ตวั อกั ษร Angsana New ขนาด 18 ตวั หนา)

บทคดั ย่อ หนา้
กิตติกรรมประกาศ ก
คานา ข
สารบญั ค
สารบญั ภาพ ง-จ
สารบัญตาราง ฉ
บทที่ 1 บทนา ช
1
1.1 ความสาคัญและที่มา
1.2 ขอ้ มลู สถานศกึ ษา
1.3 ปจั จยั เป้าหมายรวม
1.4 ปจั จัยเปา้ หมายเฉพาะ
1.5 ปจั จัยทใี่ ช้เพ่ือชว่ ยในการศึกษา
บทท่ี 2 วธิ กี าร
2.1 การจัดการ

2.1.1 การจัดการเพือ่ ให้เกดิ การบรหิ าร
2.1.2 การจัดการเพอ่ื ให้เกิดการเรยี นรู้
2.2 การศกึ ษาประโยชน์แท้แกม่ หาชน
บทท่ี 3 ผลการศกึ ษา
บทท่ี 4 สรุปผลการศึกษาและวจิ ารณ์
เอกสารอา้ งองิ
ภาคผนวก
- เอกสารและสิ่งอ้างองิ
- แผนการจัดการเรียนรู้ ใบงาน ผลงานของนกั เรียน

บทที่ 1 บทนา

จากพระราชดาริบางประการของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความวา่ “ การ

สอนและอบรมให้เดก็ มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษพ์ ืชพรรณนน้ั ควรใชว้ ธิ ีการปลกู ฝังใหเ้ ดก็ เห็นความงดงาม
ความน่าสนใจ และเกดิ ความปิตทิ จี่ ะทาการศกึ ษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธกี ารสอนการอบรมที่
ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไมอ่ นุรกั ษแ์ ลว้ จะเกดิ ผลเสยี เกดิ อันตรายแก่ตนเอง จะทาใหเ้ ดก็ เกดิ ความเครยี ด
ซึ่งจะเป็นผลเสียแกป่ ระเทศในระยะยาว” ให้ไว้ ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2536 ณ อาคารทปี่ ระทบั ในสานักงาน
ชลประทาน เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเปน็ ทีม่ าของการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

โรงเรียน (ช่ือสถานศึกษา).....................................ได้เข้าร่วมสนองพระราชดาริ เมื่อปี พ.ศ. ............
ได้การจัดการเรียนรู้ให้ตระหนักถึงการหวงแหน การอนุรักษ์ และการนาไปใช้ประโยชน์ ทางโรงเรียนได้
จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนตามศักยภาพของผู้เรียนในทุกระดับช้ันและสอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลางขน้ั พ้นื ฐาน

ขอ้ มลู สถานศึกษา ................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ปัจจัยเปา้ หมายรวม : พืชศึกษา (ชอื่ พืช).....................................................................จานวน..................ชนิด
สง่ิ มีชีวติ อ่ืนๆ (ระบุชือ่ )........................................................... จานวน....................ชนดิ
เชน่ มดแดง หนอน เปน็ ต้น (มผี ลการศึกษาดา้ นรูปลกั ษณ์ คุณสมบัติ พฤติกรรม
และมธี รรมชาติของความพันเกี่ยวกับพืชศึกษา)
ส่ิงไมม่ ชี วี ติ (ระบชุ อื่ )........................................... จานวน....................ชนิด /ประเภท
เชน่ ดนิ น้า ลม แสง เป็นต้นมีผลการศกึ ษาด้านรปู ลกั ษณ์ คณุ สมบัติ และมี
ธรรมชาตขิ องความพันเกีย่ วกับพืชศกึ ษา)

ปัจจยั เป้าหมายเฉพาะ : ส่วนประกอบ / องค์ประกอบยอ่ ย ของพชื ศกึ ษา ส่ิงมีชวี ติ อน่ื ๆ สิง่ มชี ีวติ และ
สิง่ ไม่มชี วี ติ ท่ใี ช้ในการเรียนรู้
พชื ศึกษา (ชื่อพชื ).............. องคป์ ระกอบยอ่ ย เช่น ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด
สิง่ มีชีวติ อน่ื ๆ (ระบุชื่อ)..........องค์ประกอบย่อย เชน่ ส่วนหวั ส่วนอก ส่วนท้อง
ส่งิ ไม่มีชวี ติ (ระบุชอื่ )..........องค์ประกอบย่อย เชน่ ด้านหน้า ดา้ นหลัง

ปัจจยั ทีใ่ ช้เพือ่ ช่วยในการศึกษา : แสดงรายละเอียด เคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ ใบงาน บุคลากร

บทที่ 2 วิธีการ
2.1 การจดั การ

2.1.1 การจัดการเพื่อใหเ้ กดิ การบรหิ าร
การประชุม แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนินงาน วางแผนและมอบหมายงาน ดาเนนิ งานตาม

แผน ติดตามผลการดาเนินงาน และประเมินผล

2.1.2 การจัดการเพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้
การวางแผนการบูรณาการสู่การเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ ทุกระดับช้ัน โดยการแสดงผัง

มโนทัศน์ (Mind Mapping) โดยมีการจัดทาแผนบูรณาการในทุกกลุ่มสาระ ทุกระดับช้ัน เช่น การบูรณาการ
ประโยชน์แท้แก่มหาชน กับสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย โดยการเขียนเรียงความบรรยายการวิเคราะห์
ศักยภาพของปัจจัยศึกษา บรรยายการจินตนาการเห็นคุณศักยภาพ ของปัจจัยศึกษา การสรรค์สร้างแนวคิด
แนวทาง วธิ กี าร ที่จะนาไปสกู่ ารเกิดประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน

2.2 การศกึ ษาประโยชน์แท้แก่มหาชน
แสดงวิธีการ แตล่ ะลาดบั ขั้นการเรียนรู้
1. เรียนร้กู ารวิเคราะหศ์ กั ยภาพของปจั จัยศึกษา
1.1 พจิ ารณาศกั ยภาพด้านรปู ลักษณ์
1.2 วิเคราะหศ์ กั ยภาพดา้ นคุณสมบตั ิ
1.3 จนิ ตนาการศักยภาพด้านพฤตกิ รรม
2. เรียนรู้ จนิ ตนาการเห็นคณุ ของศักยภาพ ของปัจจยั ศึกษา
2.1 จนิ ตนาการจากการวิเคราะหศ์ กั ยภาพ
2.2 เรียนรู้สรุปคณุ ของศกั ยภาพ ท่ไี ดจ้ ากจินตนาการ
3. สรรคส์ รา้ งวธิ ีการ
3.1 พิจารณาคุณที่เกดิ จากจินตนาการ
3.2 สร้างแนวคดิ แนวทาง วธิ ีการ
4. สรุปผลการเรยี นรปู้ ระโยชนแ์ ท้แก่มหาชน

บทที่ 3 ผลการศึกษา

นาขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการศกึ ษา แสดงผลการศกึ ษาตามลาดับขนั้ การเรียนรู้
1. เรียนร้กู ารวิเคราะหศ์ ักยภาพของปัจจยั ศึกษา
1.1 พจิ ารณาศักยภาพด้านรูปลกั ษณ์
1.2 วิเคราะห์ศกั ยภาพด้านคุณสมบตั ิ
1.3 จนิ ตนาการศกั ยภาพด้านพฤตกิ รรม
2. เรยี นรู้จินตนาการเห็นคณุ ของศักยภาพ ของปัจจยั ศึกษา
2.1 จนิ ตนาการจากการวิเคราะห์ศักยภาพ
2.2 เรยี นรู้สรุปคณุ ของศกั ยภาพ ที่ไดจ้ ากจนิ ตนาการ
3. สรรคส์ ร้างวิธีการ
3.1 พจิ ารณาคุณที่เกดิ จากจินตนาการ
3.2 สร้างแนวคดิ แนวทาง วธิ ีการ
4. สรปุ ผลการเรียนรู้ ประโยชน์แท้แก่มหาชน

บทท่ี 4 สรุปผลการศึกษา

สรปุ ใจความสาคัญ จากผลการศกึ ษา
จากผลการศกึ ษา ประโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน ของนักเรียน ระดบั ช้ัน ......................................................

ระยะเวลาตัง้ แต่ ว/ด/ป...................................ถึง ว/ด/ป .................................. สรุปผลการศกึ ษา ดังนี้
โรงเรียน(ช่ือสถานศึกษา).......................มีการดาเนินการ เรียนรู้การวิเคราะห์ศักยภาพของปัจจัย

ศึกษา ด้านรูปลักษณ์ จานวน..........เร่ือง.......ศักยภาพ ด้านคุณสมบัติจานวน.........เรื่อง.......ศักยภาพ ด้าน
พฤติกรรมจานวน........เรื่อง.......ศักยภาพ สรุปคุณท่ีได้จากจินตนาการ จานวน........เรื่อง สรรค์สร้างวิธีการ
แนวคดิ แนวทางจานวน........ผลงาน

ทางโรงเรียนได้เรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวิต และสรรพส่ิงล้วนพันเกี่ยว มาวิเคราะห์หาศักยภาพ
ธรรมชาติของปจั จยั ศกึ ษา เชน่ การศึกษาขอบใบไผ่ มีรูปลักษณะเป็นจักฟันเลื่อยถ่ี มีศักยภาพคือการบาด ทา
ให้เกิดแผล การศึกษาสีของใบไผ่ด้านบน มีศักยภาพคือการปรับอารมณ์ มีสีเขียวเข้มเท่ากันทั้งแผ่นใบ ด้าน
คุณสมบัติ เช่น ความแข็งของลาต้นไผ่ตอนโคน มีศักยภาพคือการรับน้าหนัก ทนทาน และการคงรูป ด้าน
พฤติกรรม เช่น การเอนของลาต้นไผ่ มศี ักยภาพคือการเอาตวั รอด ไมห่ กั ยืดหยุ่น เป็นต้น จินตนาการเห็นคุณ
ของศกั ยภาพ สรรค์สร้างแนวคดิ แนวทาง และวธิ ีการ เชน่ การนาศักยภาพความทนทานซึ่งเปน็ คุณสมบัติของ
ความแขง็ ลาตน้ ไผ่ มาเปน็ แนวคิดในการทาเครือ่ งใช้ เครื่องเรือน และมีแนวทางคือการทาโตะ๊ เกา้ อี้ เป็นตน้

การศกึ ษาประโยชนแ์ ท้แก่มหาชน ครั้งนี้ ส่งผลกับนักเรียน ครู ผู้บรหิ าร โรงเรยี น และชุมชน
(ระบุชุมชน) อย่างไร ? (ด้านวิชาการ ดา้ นภูมปิ ัญญา ด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรม)

วจิ ารณผ์ ลการศึกษา :
ใหพ้ ิจารณาความสมบูรณ์ ของผลการศึกษาเรอ่ื งการวิเคราะหศ์ ักยภาพของปัจจยั ศึกษา จินตนาการ

เห็นคณุ สรรค์สรา้ งวิธีการ เพ่ือประโยชน์แทแ้ กม่ หาชน

เชน่ การวิเคราะห์ศกั ยภาพของปัจจยั ศึกษา ในด้านรปู ลักษณ์ คุณสมบัตแิ ละพฤตกิ รรม ยังไมส่ มบรู ณ์
ในแต่ละดา้ น เช่น ด้านรปู ลกั ษณ์ มีเพียงศกั ยภาพจากรปู ร่าง รูปทรง ควรมกี ารวิเคราะห์เร่ือง สี ผิว ขนาด ดา้ น
คณุ สมบตั ิควรวิเคราะห์ในเรื่องความบาง ความเหนียว การลอยน้าได้ รส กลิ่น เป็นต้น ด้านพฤติกรรม ควร
วเิ คราะหใ์ นเร่ือง การหุบ การบาน การคายนา้ เป็นตน้

เอกสารอา้ งอิง
การนาข้อความของผู้อ่ืนมาประกอบในรายงานของตน เพ่ือเป็นการให้เกียรติแกเ่ จา้ ของข้อความนัน้ จึง

จาเปน็ ต้องมีการอ้างองิ ตามท่ีได้กล่าวไปแลว้ ในการตรวจเอกสารและผลการศกึ ษา โดยให้ใสร่ ายละเอียดของ
หนงั สือเล่มทค่ี ดั ลอกข้อความมาในรายการเอกสารอ้างองิ ตวั อยา่ งดังน้ี

1.หนงั สือ
สุนทรี สิงหบุตรา. 2540. สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนดิ . โรงพมิ พด์ อกเบ้ยี . กรงุ เทพฯ. หน้า 95.
Dieter Mueller – Dombois Heinz Ellenberg. 1974. Aims and Methods of Vegetation Ecology.
John Wiley & Sons, Inc. New York. pp. 546-547.

2.วารสาร
โครงการอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริฯ. 2543 “มะนาว” เปิดกรุกลางบ้าน
จุลสารงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน. ปีท่ี 9 ฉบับ 6 : หนา้ 7.
Hattori, S. 1967. Studies of the Asiatic species of the genus Porella (Hepatica) 1.some new or
little known Asiatic species of the genus Porella J. Hattori bot. Lab. V.30 : pp. 129-151

3.อินเตอร์เนต็
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎอุตรดิตถ.์ 2547.บอระเพ็ดพุงชา้ ง.www.uru.ac.th (23 กนั ยายน 2547).

ภาคผนวก
ประกอบดว้ ยข้อมลู เพิม่ เตมิ ท่ีไมส่ ามารถจัดอยู่ในหัวข้อตา่ งๆ ของรายงานได้ เชน่ ตัวอย่างใบงาน

ช้ินงาน ผลงานนักเรียนในแต่ละระดับชัน้ ภาพประกอบการศึกษา


Click to View FlipBook Version