The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พืชศึกษา พรรณไม้ในพื้นที่ศึกษาน่ารู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

พืชศึกษา พรรณไม้ในพื้นที่ศึกษาน่ารู้

พืชศึกษา พรรณไม้ในพื้นที่ศึกษาน่ารู้

Keywords: พืชศึกษา

พชื ศึกษาและพรรณไม้น่าร้ใู นพื้นท่ศี กึ ษา

คำนำ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย เป็นงานส่งเสริมสนับสนุนการจัดการ
เรียนรู้บรู ณาการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น สนองพระราชดาริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม-พืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ซึ่ง อพ.สธ.ได้กาหนดแนวทางการ
ดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในกาหนดสาระงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และวัตถุประสงค์สาคัญ
ไว้คอื

สวนพฤกษศำสตร์(Botanic Garden) คอื แหลง่ ทรี่ วบรวมพันธพ์ุ ืชชนดิ ตา่ ง ๆ ท่มี ีชีวติ จัดปลูกตาม
ความเหมาะสมกบั สภาพถ่ินอาศัยเดมิ มหี ้องสมดุ สถานทีเ่ กบ็ รวบรวมตัวอย่างพรรณไม้รักษาสภาพ อาจเป็น
ตัวอยา่ งแห้ง ตัวอยา่ งดอง หรอื เกบ็ รักษาโดยวิธอี ่นื ๆ พันธพุ์ ืชท่ีทาการเก็บรวบรวมไวน้ ั้น จะเป็นแหล่งข้อมูล
และเผยแพร่ความรู้ นอกจากน้สี ามารถใชเ้ ป็นแหลง่ พักผอ่ นหยอ่ นใจ

สวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น (School Botanical Garden) คือ ทุกสิง่ ทกุ อย่างทมี่ อี ยใู่ นโรงเรยี นท่ีใช้
เพอ่ื การเรียนรู้โดยมี พชื เปน็ ปจั จยั หลกั ชีวภาพอืน่ เป็นปจั จัยรอง กายภาพเปน็ ปจั จัยเสรมิ และวัสดุ อปุ กรณ์
เปน็ ปัจจัยประกอบ

งำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรยี น คือ งานสรา้ งจติ สานกึ ในการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรมพืชทรัพยากรชีวภาพ
และกายภาพ โดยมกี ารสมั ผสั การเรยี นรู้ การสรา้ งและปลูกฝงั คุณธรรม การเสรมิ สร้างปัญญาและภมู ิปัญญา

วัตถุประสงค์ของกำรดำเนินงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน เพ่ือสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์
พนั ธกุ รรมพชื และทรัพยากร

บรรยำกำศของงำนสวนพฤกษศำสตร์โรงเรียน “บนความเบิกบาน บนความหลายหลาก สรรพสิ่ง
สรรพการกระทา ล้วนสมดุลพืชพรรณ สรรพสัตว์ สรรพสิ่งได้รับความ การุณย์บนฐานของสรรพชีวิต
นกั วิทยาศาสตร์นกั ประดษิ ฐ์ ศลิ ปกร กวีนักตรรกศาสตร์ ปราชญ์น้อยปรากฏ

เพื่อให้การจัดการเรยี นรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัยสามารถ
พัฒนาผู้เรียนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ อพ.สธ.ดังกล่าว จึงได้จัดทา “พืชศึกษาและพรรณไม้น่ารู้ในพื้นท่ี
ศึกษา” เล่มน้ีข้ึนมา เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ สร้างส่ือการเรียนรู้บูรณาการตามความเหมาะสม
ของแต่ละวชิ าของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โรงเรียนมาตรฐานสากล และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

อน่ึง ข้อมูลพรรณไม้ 123 ชนิดในเอกสารเล่มน้ี เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นที่ได้จากการสืบค้นและนามา
อ้างอิงเท่าน้ัน ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จริง ผู้สอน ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติจริงจากแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้
“รู้ชื่อ รู้ลักษณ์ รู้จัก คลุกคลี เห็นคุณ สุนทรีย์ กำรวิเครำะห์ เห็นควำมต่ำง รู้ควำมหลำยหลำก รู้สำระ
รู้สรุป รู้สื่อ นำองค์ควำมรู้ ท่ีเป็นวิทยำกำร เผยแพร่เพื่อให้เกิดองค์ควำมรู้ใหม่ รู้กำรเปลี่ยนแปลง รู้ควำม
แตกต่ำง รู้ชีวิต รู้สัมพันธ์ รู้ผูกพัน รู้ดุลยภำพ รู้ศักยภำพ รู้จินตนำกำร รู้ประโยชน์” อันจะส่งผลให้เกิด
จิตสานกึ ในการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื และทรัพยากร อย่างยงั่ ยนื ต่อไป

งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
โรงเรียนบุญวาทยว์ ิทยาลยั
21 ตลุ าคม 2564

สำรบัญ หนำ้

คำนำ 1
พืน้ ทศ่ี ึกษำ ปกี ำรศกึ ษำ 2564 2
พืชศกึ ษำ 2
4
งำขมี้ ้อน 5
พรรณไมใ้ นพน้ื ท่ีศึกษำ : พืชแนะนำศกึ ษำ 6
8
สกั 10
ไทรยอ้ ยใบแหลม 11
มะเกย๋ี ง 13
รำชพฤกษ์ 15
หูกวำง 16
พิกลุ 17
เสลำ 19
ประดู่ 20
มะเกลือ 21
มะขำม 22
ปบี
ลีลำวดแี ดง
เอกกสำรอ้ำงองิ



พพืชืชศศกึ ึกษษำำ

งำขม้ี ้อน

Perilla
Perilla frutescens (L.) Britton
LAMIACEAE หรอื LABIATAE
งาปกุ งานก (คนเมอื ง) งาม้อน งาหอม งามน (แม่ฮอ่ งสอน), งาข้ีมอ้ น
แง (กาญจนบรุ ี), น่อง (กะเหรยี่ ง-กาญจนบรุ ี), นอ (กะเหรีย่ งแม่ฮอ่ งสอน,
กะเหร่ยี งเชยี งใหม่), ง้า (ลวั ะ), งาเจยี ง (ลาว), จนี เรียกว่า ชิซู (Chi-ssu),
ญ่ีปนุ่ เรียกวา่ ชโิ ซะ (Shiso), เกาหลี เรียกวา่ เคนนิป (Khaennip) อินเดีย
เรยี กวา่ พนั จรี ่า (Bhanjira), เบงกอล เรียก Babtulsi เปน็ ตน้

ลาต้นต้ังตรง ความสูงของต้นประมาณ 1-2 เมตร แตกก่ิงก้านสาขา ลาต้นสี่เหล่ียมมน
ต้นมกี ลนิ่ นา้ มัน มีขนยาวละเอียดสีขาว ระหว่างเหล่ียมที่ต้นมีร่องตามยาว เม่ือโตเต็มท่ีลาต้นเคยเป็นเหล่ียมท่ี
โคนต้นจะหาย แต่ละข้อตามลาต้นท่ีจะแตกเป็นใบห่างกัน 4-11 เซนติเมตร ส่วนโคนต้นและโคนกิ่งจะแข็ง
รากแขง็ เหนียว

ใบใหญ่คล้ายกับใบย่ีหร่าอย่างมาก แต่มีสีอ่อนกว่าใบย่ีหร่า หรือคล้ายใบฤๅษีผสม ใบเป็น
ใบเด่ียว ใบออกเป็นคู่อยู่ตรงข้าม คู่ใบในข้อถัดไปใบจะออกเป็นมุมฉากกับใบคู่ก่อนสลับกันตลอดทั้งต้น
ลักษณะของใบคล้ายใบโพธิ์หรือรูปไข่กว้าง ปลายใบเรียวแหลมหรือเป็นติ่งยาว โคนใบกลมป้าน หรือโคนตัด
สว่ นขอบใบหยกั เป็นฟนั เลอ่ื ย ความกวา้ งของใบประมาณ 3-10 เซนตเิ มตร และยาวประมาณ 6-14 เซนติเมตร
ใบเป็นสีเขียวอ่อน ท้องใบมีสีอ่อนกว่าหลังใบ แผ่นใบมีขนส้ันๆ นุ่มสีขาวทั้งสองด้าน เมื่อไปสัมผัสจะไม่รู้สึก
ระคายเคืองหรือคัน ตามเส้นใบมีขน ท้องใบมีต่อมน้ามัน ส่วนก้านใบยาวประมาณ 1-6 เซนติเมตร และมีขน
ยาวข้ึนแน่น เส้นใบ 7-8 คู่ แตกเป็นคู่ตรงข้ามกันจากเส้นกลางใบ ใบเห่ียวเร็วมากเมื่อเด็ดจากต้น และไม่ควร
นาใบให้วัวควายกินจะเกดิ พษิ ได้

ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามง่ามใบแต่ละข้อและที่ยอด ช่อดอกมีดอกย่อยเต็มก้านดอก
ดอกย่อยขนาดเลก็ จานวนมากเปน็ กลมุ่ ชอ่ ดอกตั้งเป็นช่อรูปสเ่ี หล่ียม ดอกย่อยเชื่อมติดกันรอบก้านดอกไม่เป็น
ระเบียบชูช่อดอกขนึ้ ไป ชอ่ ดอกยาว 1.5-15 เซนตเิ มตร ช่อดอกคลา้ ยชอ่ ดอกโหระพา ชอ่ ดอกแมงลัก ดอกย่อย
คลา้ ยรูปไขเ่ ลก็ ๆ ไม่มกี า้ น ดอกย่อยมีร้ิวใบประดับอยู่ แต่ละดอกย่อยมีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกมีสีขาว สีขาวอม
มว่ งถงึ สมี ว่ ง มีขนสขี าวขึ้นปกคลมุ

ผลมีลกั ษณะเปน็ รปู ไข่กลมขนาดเล็ก ผลออ่ นสีขาวหรอื เขียวอ่อน ผลแกเ่ ปน็ สีน้าตาลหรือ
สเี ทาเมล็ดงาขี้มอ้ นในดอกยอ่ ยแตล่ ะดอกมีเมล็ดอยู่ 1-4 เมลด็ เมล็ดมขี นาดเลก็ ลักษณะกลม เสน้ ผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 1.5 มลิ ลเิ มตร มสี ีท่ีตา่ งกนั เป็นลายตง้ั แตส่ ดี าหรือสนี า้ ตาลเข้ม สีนา้ ตาลออ่ น สนี ้าตาลไหม้ สเี ทา
เข้ม สเี ทาออ่ นไปจนถึงสีขาว และมีลายเป็นรปู ตาข่าย นา้ หนักเมลด็ ประมาณ 4 กรมั ต่อ 1,000 เมล็ด

เมอื่ งาขี้มอ้ นมีอายุได้ 4-5 เดือน งาจะเรมิ่ แก่ สงั เกตชอ่ ดอกสว่ นล่างเริ่มเปลี่ยนเป็นสี
น้าตาลบ้างจงึ เก็บเกยี่ วได้ เกี่ยวดว้ ยเคยี วขณะที่ต้นยงั เขียว ลาตน้ ทยี่ ังออ่ นซ่ึงทาให้ง่ายต่อการเก่ียว วางต้นงาที่
เกยี่ วแล้วเพือ่ ตากแดดท้ิงไวบ้ นตอซงั ท่ีเก่ียวหรือวางบนร้านไม้ไผ่ ตากแดด 3-4 วัน ต้นงาทีแ่ หง้ แลว้ นามาตดี ้วย
ไมใ้ ห้เมลด็ หลุดออกลงในภาชนะรองรับ ฝดั ทาความสะอาดตากแดดอีกครัง้ แล้วเก็บใส่กระสอบ เพื่อรอการ
จาหน่ายหรือเก็บไว้บรโิ ภคเอง

เมล็ดและใบงาขี้ม้อนใช้เป็นอาหารได้หลายอย่าง คนภาคเหนือใช้ประโยชน์จากเมล็ดงาขี้ม้อนมาช้า
นาน โดยนาเมล็ดมาบรโิ ภคทาเป็นอาหารว่างหรือของหวานชนิดหน่ึงท่ีทาได้อย่างง่ายๆ ใช้เมล็ดงาตากับเกลือ
คลกุ กบั ขา้ วเหนียวขณะทย่ี งั รอ้ นๆ ตาให้เข้าเปน็ เนอ้ื เดียวกนั กับงา หรือค่ัวงาให้สุกแล้วตางากับเกลือในครกจน
เขา้ กนั ดแี ละคลกุ กบั ข้าวเหนียวร้อนๆ จะได้กลิ่นหอมของข้าวสุกใหม่และกลิ่นของงา หากต้องการขบเมล็ดปน
อยู่บ้างก็ไม่ต้องตาจนละเอียด แต่ถ้าไม่ชอบให้เป็นเมล็ดก็ตาให้ละเอียดได้ ใส่ข้าวเหนียวที่นึ่งสุกใหม่ๆ ลงตา
คลุกเคล้ากบั งาในครก ถ้าทาครั้งละมากๆ จะตาในครกกระเดื่อง หรือจะคลุกเคล้าข้าวเหนียวอุ่นๆ กับงาให้เข้า
กันดกี ่อนแลว้ เตมิ เกลอื และตาใหเ้ ขา้ กนั อกี ทีก็ได้ เรียกวา่ “ข้าวนุกงา”



Teak
Tectona grandis L.f.
LAMIACEAE
ปีฮี ปีฮือ เปอ้ ยี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ปายี้ (กะเหร่ยี ง-กาญจนบรุ )ี ,
เส่บายี้ (กะเหรย่ี ง-กาแพงเพชร), เคาะเยียโอ (ละวา้ -เชยี งใหม)่

ตนขนาดใหญ สูงถึง 50 เมตร ผลดั ใบลาตนเปลาตรงมกั มีพูพอน เปลือกสีนา้ ตาลปนเทา
เปนใบเดี่ยวติดตรงขามเปนคูๆ มีขนาดใหญ โคนใบมน หรือ สอบแคบ ปลายใบแหลม
หรือ เรยี วแหลม เนื้อใบสากคาย
เลก็ สีขาวนวล ออกรวมกนั เปนชอขนาดใหญตามปลายก่ิง หรือ ตามงามใบใกลๆ ปลายกิ่ง
กลบี เลย้ี งจะเชอื่ มตดิ กนั บรเิ วณโคนกลีบสวนปลายจะแยกเปนแฉก 5-7 แฉก กลบี ดอกจะเช่อื มติดกันเป
นหลอดเกล้ียงๆ ปลายแยกเปน 5-7 แฉก
เปนผลแหงคอนขางกลม ภายในมีเมล็ด 1-3 เมลด็

เปนไมถิน่ เดิมของไทยและพมา พบตามปาเบญจพรรณภาคเหนอื ท่ีสงู จากระดบั น้าทะเลไมเกนิ 900
เมตร และมเี ปนหยอมๆ ทางภาคตะวนั ตก ขยายพันธุโดยเมล็ด ออกดอกเดือน มถิ ุนายน – ตลุ าคม

ราก เนอ้ื ไม และ ใบ ใหสีแดง เขยี ว ใชยอมผา และ กระดาษ เนอื้ ไม ทนทาน สวยงาม ใชกอสรางบาน
เรือน เครื่องแกะสลัก เฟอรนิเจอร เคร่ืองมือเกษตร เคร่ืองดนตรี ดานสมุนไพร เนื้อไมและใบ ใชทายาแก
โรคเบาหวาน ปสสาวะพิการ ขบั ลมในลาไส แกไตพิการ ใชตมและเอาน้าอาบเด็กท่ีเปนโรคอีสุกอีใส เปลือกใช
เปนยาคุมธาตุ

Golden Fig, Weeping Fig, Weeping or Java Fig,
Weeping Chinese Bonyan, Benjamin Tree, Benjamin's fig, Ficus tree.
Ficus benjamina L.

MORACEAE

ไทรพัน (ลาปาง), ไทร (นครศรีธรรมราช), ไทรกระเบ้ือง (ประจวบครี ีขันธ์),
ไฮ (ภาคตะวนั ตกเฉียงเหนือ), ไทรยอ้ ยใบแหลม (กรงุ เทพฯ), จาเรย (เขมร), ไซรย้อย

มถี นิ่ กาเนิดในทวีปเอเชีย อนิ เดีย และภูมิภาคมาเลเซีย จัดเป็นไม้ยืนต้นหรือพุ่มไม้ผลัดใบ
ขนาดกลาง ท่ีมีความสูงได้ประมาณ 5-15 เมตร ลาต้นแตกเป็นพุ่มหนาทึบและแผ่ก่ิงก้านสาขาท้ิงใบห้อยย้อย
ลง เปลอื กตน้ เป็นสีนา้ ตาล ก่ิงก้านห้อยยอ้ ยลง มลี าต้นท่ีสูงใหญ่ ตามลาต้นจะมีรากอากาศแตกย้อยลงสู่พื้นดิน
เปน็ จานวนมากดสู วยงาม รากอากาศเปน็ รากขนาดเล็ก เปน็ เส้นสีน้าตาล ลักษณะรากกลมยาวเหมือนเส้นลวด
ย้อยลงมาจากต้น รากอากาศท่ีมีขนาดใหญ่จะมีเนื้อไม้ด้วย มีรสจืดและฝาด ขยายพันธ์ุด้วยวิธีการเพาะเมล็ด
การตอนกิ่ง และวิธีการปักชา เป็นพรรณไม้กลางแจ้งที่ชอบแสงแดดจ้า ชอบดินร่วนซุย ต้องการน้าและความ
ชุ่มช้ืนในระดับปานกลาง ไทรย้อยมีเขตการกระจายพันธุ์กว้างในประเทศเขตร้อน พบได้ที่อินเ ดีย เนปาล
ปากสี ถาน จีนตอนใต้ พมา่ ภมู ภิ าคอนิ โดจนี และมาเลเซีย ฟลิ ิปปินส์ และออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบได้ท่ัว
ทุกภาคของประเทศ โดยมักข้ึนกระจายในป่าดิบแล้ง ป่าดิบช้ืน และป่าดิบเขา และบางครั้งอาจพบได้ตามเขา
หินปนู จนถงึ ระดบั ความสูงประมาณ 1,300 เมตร

ไทรยอ้ ยแต่ละสายพันธนุ์ น้ั จะมีลักษณะของใบทแี่ ตกต่างกันเล็กน้อย ใบเป็นใบเด่ียว ออกเรียงสลับ
ลักษณะของใบเป็นรูปรีแกมรูปไข่ บางต้นลักษณะของใบเป็นรูปกลมป้อม ส่วนบางพรรณก็เป็นรูปยาวรี แต่
โดยทั่วไปแลว้ ใบจะมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-11 เซนติเมตร ปลายใบเรียว
แหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นสีเขียวเรียบเป็นมัน
เหมือนกันหมด เส้นแขนงใบมีข้างละประมาณ 6-16 เส้น ส่วนเส้นแขนงใบย่อยเรียงขนานกัน มีต่อมไขท่ีโคน
เส้นกลางใบ ก้านยาวประมาณ 0.5-2 เซนติเมตร มีหูใบยาวประมาณ 0.5-2.8 เซนติเมตร ร่วงได้ง่าย เกล้ียง
หรอื มขี นขึน้ ประปราย

ออกดอกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกมีขนาดเล็ก เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปทรงกลมคล้ายผล

ออกเป็นคู่จากจ้างกิ่ง ไม่มีกลีบดอก[3] ถ้าจะพูดให้เข้าใจง่าย ๆ ช่อดอกของไทรก็คือผลที่ยังไม่สุกนั่นเอง แต่
เป็นช่อดอกท่ีได้รับการออกแบบมาให้ม้วนดอกทั้งหลายกลับนอกเข้าในเพื่อทาหน้าท่ีพิเศษ ถ้านามาผ่าดูก็จะ
พบว่าข้างในกลวง ที่ผนังมดี อกขนาดเลก็ ๆ จานวนนับร้อย ๆ ดอก ด้านตรงข้ามกับขั้วผลไทรมีรูเปิดขนาดเล็ก
มาก และมีเกล็ดเล็ก ๆ ปิดซ้อนกันอยู่ โดยดอกไทรจะมีอยู่ด้วย 3 ประเภท คือ ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย และ
ดอกกอลล์ ซึ่งดอกกอลล์ (Gall flower) จะมีหน้าที่เป็นที่วางไข่และเล้ียงตัวอ่อนของ "ตัวต่อไทร" (เป็นแมลง
ชนดิ เดียวเทา่ นั้นที่ชว่ ยผสมเกสรใหต้ ้นไทร)

ลักษณะของผลเป็นรูปทรงกลมหรือรี ออกผลเป็นคู่ ๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.8
เซนติเมตร ผลออ่ นเปน็ สีเขยี ว เม่ือสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้ม สีน้าตาล สีชมพู สีส้มแดง หรือสีม่วงดาเม่ือ
แก่ ไรก้ า้ น

1.รากไทรย้อยมสี รรพคณุ เป็นยาแก้กาฬโลหิต (รากอากาศ)
2.รากอากาศมสี รรพคุณบารงุ โลหิต แกต้ กโลหติ (รากอากาศ)
3.รากใชเ้ ปน็ ยาแก้กระษัย (อาการป่วยท่ีเกิดจากหลายสาเหตุ ทาให้ร่างกายเสือ่ มโทรม ซูบผอม ปวด
เมื่อย โลหิตจาง)
4.รากนามาตม้ กับน้ากินเปน็ ยาบารุงน้านมให้สมบูรณ์ (รากอากาศ)
5.ชว่ ยแกอ้ าการท้องเสยี (รากอากาศ
6.ใชเ้ ปน็ ยาขับพยาธิ (รากอากาศ)[5]
7.ใช้เป็นยาขบั ปสั สาวะ แก้ขัดเบา ขบั ปัสสาวะให้คล่อง แก้น่ิว แกป้ สั สาวะมสี ีต่าง ๆ (รากอากาศ
8.ช่วยแก้ไตพิการ (โรคเกยี่ วกับทางเดินปสั สาวะท่ีมปี สั สาวะขนุ่ ขน้ เป็นสเี หลืองหรอื แดง และมกั มี
อาการแน่นท้อง รับประทานไม่ไดร้ ่วมดว้ ย) (รากอากาศ)
9.ชว่ ยแก้อาการอักเสบหรือลดการตดิ เช้ือ เชน่ ฝหี รือรอยฟกชา้ (รากอากาศ)
10.ตารายาไทยจะใช้รากไทรย้อยใน “พกิ ดั ตรธี ารทิพย์” (ประกอบไปด้วยรากไทรยอ้ ย รากราชพฤกษ์
และรากมะขามเทศ) มสี รรพคุณเปน็ ยาบารงุ น้านม แก้กษัย แกท้ อ้ งร่วง ช่วยฆ่าเช้ือคุดทะราด (รากอากาศ)

Sunrose Willow และ Creeping Water Primrose.
Cleistocalyx nervosum var. paniala.
MYRTACEAE
หว้าส้ม,หว้าน้า

มะเก๋ียง เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ลาต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร หรือมากกว่า ขนาดลาต้น
เม่ือมีอายุมากจะมีขนาดเส้นรอบวงได้ถึง 1.5 เมตร ลาต้นแตกก่ิงมาก เปลือกลาต้นมีสีเทาหรือน้าตาลอมเทา
เปลือกแก่ด้านนอกหลุดล่อนออกเป็นแผ่น เมื่อใช้มีดสับเปลือกด้านในจะมีสีน้าตาลอมชมพู แต่เม่ือแห้งจะมีสี
น้าตาล สว่ นเนือ้ ไมค้ อ่ นขา้ งแข็ง มีสีขาวนวลหรอื เหลืองอ่อน และมเี สี้ยนคอ่ นขา้ งมาก

ใบมะเก๋ียงออกเปน็ ใบเดี่ยวตรงข้ามกันเป็นคู่บนก่ิงย่อย จานวน 4-6 คู่ ในแต่ละกิ่งย่อย ใบมีรูปรีถึงรูป
หอก ขนาดใบกว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 15-25 เซนติเมตร แผ่นใบ และขอบใบเรียบ ใบมีลักษณะเป็นคล่ืน
และเป็นมันเล็กน้อย แผ่นใบด้านบนมีสีเขียวเข้ม ส่วนด้านล่างมีสีเขียวอ่อน ก้านใบยาว 1.5-3 เซนติเมตร มี
เสน้ กลางใบดา้ นบนเป็นรอ่ งตืน้ ส่วนเสน้ กลางใบด้านลา่ งนนู ขึ้น มเี ส้นแขนงใบแยกออกซ้ายขวาสลับกัน ข้างละ
7-15 เสน้ ภายในใบมจี ดุ สีเหลืองกระจายไปทัว่ ใบออ่ น มสี ีเขยี วอมแดง ใบแก่มีสเี ขยี ว

ดอกมะเกย๋ี ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ แทงออกเป็นช่อ บริเวณปลายก่ิง แต่ละกิ่งมีจานวน 5-15 ช่อดอก
ช่อดอกยาว 5-10 เซนติเมตร ช่อดอกมีดอกประมาณ 20-80 ดอก ดอกมีสีขาวอมเหลือง มีกลีบเล้ียง 4 กลีบ
และมีกลีบดอก 4 กลีบ ขนาด 0.35-0.45 เซนติเมตรมีเกสรตัวผู้ประมาณ 150-300 อัน มีรังไข่อยู่บริเวณฐาน
ดอก ดอกมะเกี๋ยงจะเริ่มออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ซ่ึงเป็นช่วงหลังที่มีการแตกใบใหม่ และดอก
จะบานหลังจากแทงตาดอกประมาณ 2 เดือน

ผลมะเกี๋ยง มีลกั ษณะเปน็ รูปไข่คลา้ ยผลหว้า แต่เล็ก และป้อมกว่าเล็กน้อย ผลมีเปลือกบาง ผลอ่อนมี
สีเขยี วอมเหลอื ง และค่อยๆเปลยี่ นเป็นสีเหลืองอมชมพู ต่อมาเป็นสีแดงเม่ือห่าม เม่ือสุกเป็นสีแดงม่วง และสุก
มากเป็นสีดา ขนาดผลประมาณ 1-2 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร เน้ือผลมีสีขาว หนา
ประมาณ 3–5 มิลลิเมตร เมื่อรับประทานจะให้รสเปร้ียวอมฟาดเล็กน้อย และมีกลิ่นหอม ตรงกลางผลมีเมล็ด
1 เมล็ด ผลมะเกีย๋ งเรม่ิ สุก หลังดอกบาน ประมาณเกือบ 3 เดือน และสามารถเก็บผลได้ในช่วงเดือนมิถุนายน-
กันยายน มีผลตอ่ ช่อประมาณ 5-10 ผล และจะเร่ิมติดผลได้เม่อื ต้นมอี ายปุ ระมาณ 3-5 ปี

เมล็ดมะเกี๋ยงมีลักษณะกลมหรือค่อนข้างเป็นรูปไข่ ขนาดประมาณ 0.7-8 เซนติเมตร 0.8-1
เซนติเมตร เปลือกเมลด็ มสี นี า้ ตาลอ่อน เนื้อเมล็ดภายในมีสเี ขยี ว

1. ผลมะเก๋ียงใชร้ ับประทานเป็นผลไม้ ใหร้ สเปรย้ี วอมหวาน
2. ผลดิบมะเก๋ยี งนามาใส่อาหารประเภทต้มยา ให้รสเปรีย้ วจดั จ้าน
3. ผลมะเกี๋ยงใช้แปรรปู เปน็ ผลิตภัณฑ์อาหาร

– นา้ มะเก๋ียงพร้อมด่มื
– ไวนม์ ะเกี๋ยง
– เนคตา้ ร์เกย๋ี ง
– มะเกยี๋ งแชอ่ ิ่ม
– ชามะเกี๋ยง
– เยลล่ีมะเกี๋ยง
– มะเก๋ียงดอง
– โยเกริ ์ตมะเกี๋ยง
4. ผลมะเกี๋ยงใชส้ กดั ทาสีผสมอาหาร ซ่ึงให้สมี ่วงแดง
5. ใบมะเกยี๋ งนามาตม้ เป็นนา้ ย้อมผ้า ให้สีน้าตาลออ่ นหรอื นา้ ตาลเขม้
6. เปลือกมะเกยี๋ งนามาต้มนา้ ยอ้ มผ้า ให้สีน้าตาลอมแดง
7. เมล็ดมะเก๋ียงใช้สกัดน้ามนั สาหรบั ใช้ประกอบอาหารหรอื ใช้เปน็ สว่ นผสมเครื่องสาอาง และนา้ หอม
8. เนอ้ื ไม้มะเกยี๋ งมีลกั ษณะค่อนข้างแขง็ ใชแ้ ปรรปู เปน็ ไม้ปพู นื้ ไม้ชายคา ไม่วงกบ รวมถึงแปรรปู
เปน็ เฟอร์นเิ จอรต์ ่างๆ
9. กิง่ นามาทาเป็นฟืน
10. ต้นมะเกีย๋ งตามปา่ หรอื หวั ไรป่ ลายนาเป็นประโยชนต์ ่อสตั วป์ า่ ในดา้ นเป็นแหล่งอาหารสาคญั

Golden shower, Indian laburnum, Pudding-pine tree, Purging Cassia
Cassia fistula L.
FABACEAE
กุเพยะ คนู ชยั พฤกษ ปอยู ปโู ย เปอโซ แมะหลาหยู ลมแลง

ผลดั ใบ สูง 8-15 เมตร

ใบประกอบแบบขนนกออกสลบั มีใบยอย 3-8 คู รูปปอม รูปไข หรอื รูปขอบขนานแกมรปู ไข

กวาง 4-8 เซนติเมตร ยาว 7-15 เซนตเิ มตร ปลายแหลมโคนมน เสนแขนงใบถ่ี เน้อื ใบคอนขางบาง
สีเหลือง ออกเปนชอหอยตามซอกใบ หรือตามกิง่ ยาว 20-45 เซนตเิ มตร กวาง 4-5

เซนตเิ มตร กลีบเลี้ยงรปู รีแกมรปู ไข ผิวนอกมขี นคลมุ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข หรือ รปู ไขกลับ เมื่อบานเสน
ผาศนู ยกลาง 5-8 เซนตเิ มตร เกสรตัวผู อัน ขนาดไมเทากัน รังไขและกานเกสรตัวเมีย มีขนคลุม ออกดอก
เดอื นกมุ ภาพนั ธ – พฤษภาคม

เปนฝกทรงกระบอกยาว 20-60 เซนตเิ มตร เสนผาศนู ยกลาง 1.5-2.5 เซนตเิ มตร ฝกแกสดี า

การกระจายพันธ ถิน่ กาเนิดเอเชยี เขตรอนขึน้ ตามปาเบญจพรรณแลงทว่ั ไป

เปลอื ก เนือ้ ไม ผล ใหสีเหลอื ง ใชยอมไหมและฝาย
ราก ฝนทาแกกลาก และ เปนยาระบาย
ราก และ แกน เปนยาขบั พยาธิ
เปลอื กและไม ใชฟอกหนัง
เปลอื ก และ ใบ บดผสมกนั ใชทาฝและเม็ดผ่ืนตามรางกาย
เน้ือไม สีแดงแกมเหลือง แขง็ ทนทาน ใชทาเสา ลอเกวยี น คนั ไถ
ใบ ตมรบั ประทานเปนยาระบาย ฆาพยาธิ
ดอก แกไข ระบาย แกแผลเรือ้ รัง
ฝก เน้อื ในฝกรสหวาน เปนยาระบาย ชวยบรรเทาอาการแนนหนาอก
ฟอก หรือ ชาระนา้ ดี แกลมเขาขอ และขัดขอ

Bengal almond, Indian almond, Olive-bark tree, Sea almond,
Singapore almond, Tropical Almond, Umbrella Tree
Terminalia catappa L.

COMBRETACEAE

ตาปงั (พษิ ณุโลก, สตลู ), โคน (นราธวิ าส), หลมุ ปงั (สุราษฎรธ์ านี), คดั มือ ตัดมือ (ตรัง),
ตาแปห์ (มลายู-นราธิวาส) เปน็ ต้น

จดั เป็นไมย้ นื ตน้ ผลัดใบขนาดกลาง ท่ีมีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร บางครั้งอาจ
สงู ได้ถึง 30-35 เมตร (แตไ่ มค่ ่อยพบตน้ ทใ่ี หญม่ ากในประเทศไทย) มีเรือนยอดหนาแน่น แตกก่ิงก้านแผ่ออกใน
แนวราบเปน็ ชน้ั ๆ คล้ายฉตั ร ลาต้นเปลาตรง ตน้ ท่มี ีอายมุ ากและมขี นาดใหญจ่ ะเปน็ พูพอนที่โคนตน้ เปลือกลา
ต้นเป็นสีน้าตาลปนเทาเกือบเรียบ แตกเป็นร่องแบบตื้น ๆ ตามแนวนอนและแนวต้ัง และลอกออกเป็นสะเก็ด
เล็ก ๆ ท่วั ไป กิง่ อ่อนมีขนสนี า้ ตาล สว่ นเนอ้ื ไม้เปน็ สแี ดง เป็นกลบี เล็กน้อย มีเส้ียนไม้ละเอียดสามารถขัดชักเงา
ได้ดี ขยายพันธ์ุโดยใช้เมล็ด บางครั้งน้าหรือค้างคาวก็ช่วยในกระจายพันธ์ุได้ด้วยเช่นกัน และสามารถ
เจรญิ เตบิ โตไดด้ ีในดินที่มีการระบายนา้ ไดด้ อี ย่างดินรว่ นพอควรหรือปนทราย หูกวางเป็นพันธ์ุไม้ในป่าชายหาด
ที่พบขึ้นกระจายตามชายฝั่งทะเล พบปลูกท่ัวตั้งแต่ประเทศอินเดียจนถึงตอนเหนือของทวีปออสเตรเลียทาง
ตอนเหนือ ต้นหูกวางเป็นพืชท้ิงใบ โดยทั่วไปแล้วจะทิ้งใบ 2 ครั้ง ในรอบ 1 ปี หรือในช่วงประมาณเดือน
มกราคมถึงเดอื ยกมุ ภาพนั ธ์ และอีกช่วงในชว่ งเดอื นกรกฎาคมถึงเดือนสิงหาคม ซ่ึงก่อนขจะทิ้งใบ ใบหูกวางจะ
เปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือสีส้มแดง ในปัจจุบันนี้ได้มีการนาต้นหูกวางมาปลูกท่ัวไปในพื้นท่ีเขตร้อนอย่างทวีป
เอเชีย ส่วนในประเทศไทยมักพบขึ้นตามชายฝ่ังทะเลทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ (ตราดและชลบุรี) ภาค
ตะวันตกเฉียงใต้ (ประจวบครี ขี นั ธแ์ ละกาญจนบรุ ี) และภาคใต้ (นราธิวาส ตรงั และสุราษฎรธ์ าน)ี

ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับกันเป็นกระจุกหนาแน่นบริเวณปลายกิ่ง ลักษณะของใบ

เป็นรูปไข่กลับ ปลายใบแหลมเป็นติ่งสั้น ๆ (ปลายใบกว้างกว่าโคนใบ) โคนใบมนเว้าหรืแสอบแคบเป็นรูปล่ิม
และมีต่อมเล็ก ๆ หน่ึงคู่อยู่ที่โคนใบบริเวณท้องใบ ส่วนขอบใบเรียบเป็นคล่ืนหยักเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้าง
ประมาณ 8-15 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12-25 เซนติเมตร หลังใบและท้องใบมีขน เนื้อใบหนา ใบอ่อน
เป็นสีเขียวอ่อน เม่ือแก่แล้วจะเปลี่ยนเป็นเขียวเข้ม แล้วจะเปล่ียนเป็นสีส้มแดงเมื่อใกล้ร่วงหรือผลัดใบ มีก้าน
ใบยาวประมาณ 0.5-1.5 เซนติเมตร มีขน มักผลัดใบในช่วงฤดูหนาวในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน

ออกดอกเป็นช่อยาวแบบติดดอกสลับ โดยจะออกตามซอกใบ ลักษณะเป็นแท่งยาว

ประมาณ 8-12 เซนติเมตร มีดอกย่อยเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ดอกมีขนาดเล็กและไม่มีกล่ินหอม (บาง
ข้อมูลว่ามีกลิ่นฉุนด้วยเล็กน้อย) ดอกเป็นแบบแยกเพศแต่อยู่ในช่อเดียวกัน ดอกเพศผู้จะอยู่บริเวณปลายช่อ
สว่ นดอกเพศเมยี จะอยูบ่ ริเวณโคนช่อ (อีกขอ้ มูลระบวุ า่ ดอกแบบสมบูรณ์จะอยู่โคนช่อ) ไม่มีกลีบดอก มีแต่กลีบ
เลีย้ งดอก 5 กลบี โคนกลบี เช่อื มติดกัน ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยม 5 แฉก มีขนด้านนอก ดอกเกสรเพศ
ผู้มี 10 ชน้ั ดอกเม่ือบานเต็มท่ีจะมีขนาดกว้างประมาณ 0.4-0.6 เซนติเมตร โดยดอกจะออกดอกสองครั้งรอบ
1 ปี คือ ในช่วงฤดูหนาวหลังจากแตกใบใหม่ (เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม) และอีกคร้ังในช่วงฤดูฝน
(เดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม)

ผลเป็นผลเดี่ยวในแต่ละผลมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะของผลเป็นรูปทรงรีค่อนข้างแบน

เล็กน้อย ผลแข็ง มีขนาดกว้างประมาณ 2-5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 3-7 เซนติเมตร ผลด้านข้างเป็น
แผ่นหรือเป็นสันบาง ๆ นูนออกรอบผล ผลอ่อนเป็นสีเขียว เม่ือแก่แล้วจะเปล่ียนเป็นสีเหลืองหรือสีเหลืองอม
เขียว และมีกล่ินหอม ผิวผลเรียบ ผลเมื่อแห้งจะเป็นสีดาคล้า เปลือกผลมีเส้นใย ภายในมีเมล็ดเดี่ยว เมล็ดมี
ขนาดใหญ่ เหนยี ว และเปลอื กในแข็ง โดยผลจะแก่ในชว่ งในช่วงแรกประมาณเดือนตลุ าคมถงึ เดือนพฤศจิกายน
และอีกชว่ งหน่งึ ประมาณพฤษภาคมถึงเดอื นมิถนุ ายน

ลักษณะของเมล็ดเป็นรปู ไข่หรือรปู รี แบนปอ้ มเลก็ น้อยคล้ายกับผล เมื่อเมล็ดแห้งจะเป็น

สีนา้ ตาล แข็ง ภายในมเี น้ือมาก

1.เมลด็ หูกวางสามารถนามารับประทานได้ และยงั มีโปรตีนท่ใี หป้ ระโยชน์แกร่ ่างกายของเราอีกดว้ ย
2.เมล็ดสามารถนาเอาไปทาเป็นน้ามนั เพ่ือนาไปใช้บริโภคหรอื ทาเคร่ืองสาอางได้
3.เปลือกและผลมีสารฝาดมาก สามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมย้อมสีผ้า ฟอกหนังสัตว์ และทาหมึก
ได้[2] ในอดีตมีการนาเอาเปลอื กผลซึง่ มีสารแทนนินมาใช้ในการย้อมหวาย และได้มีการทดลองใช้ใบเพ่ือย้อมสี
เส้นไหม พบว่าสีที่ได้คือสเี หลอื ง สีเขียวข้มี า้ หรือสีน้าตาลเขียว
4.ใบแก่นามาแช่น้าใช้รักษาบาดแผลของปลาสวยงาม อย่างเช่น ปลากัด ปลาหางนกยูงได้ อีกท้ังยัง
ช่วยบารุงสุขภาพปลาและสีสันของปลา ช่วยทาให้ตับของปลาน้ันดีขึ้น จึงส่งผลให้ปลาแข็งแรง ช่วยป้องกัน
ไมใ่ หป้ ลาเปน็ โรค
5.เนื้อไมห้ ูกวาง สามารถนามาใช้ในการก่อสรา้ ง ทาบ้านเรอื น หรือเครือ่ งเรือนได้ดี เพราะเป็นไม้ท่ีไม่มี
มอดและแมลงมารบกวน หรอื นามาใช้ทาฟืนและถ่านกไ็ ด้

Asian bulletwood, Bullet wood, Bukal, Tanjong tree, Medlar, Spanish cherry

Mimusops elengi L.

SAPOTACEAE

ซางดง (ลาปาง), พกิ ุลเขา พกิ ุลเถ่ือน (นครศรีธรรมราช), พกิ ุลป่า (สตูล), แกว้ (ภาคเหนอื ),
กนุ (ภาคใต้), ไกรทอง, ตันหยง, มะเมา, พกุล, พกิ ลุ ทอง

ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ไม่ผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 10-25 เมตร ลาต้นแตกกิ่ง
ก้านเป็นพุ่มกวา้ งหนาทึบ เปลือกตน้ เป็นสีเทาอมสนี ้าตาลและแตกเป็นรอยแตกระแหงตามแนวยาว ท้ังต้นมีน้า
ยางสขี าว ส่วนกิ่งอ่อนและตามขี นสนี ้าตาลข้ึนปกคลมุ ขยายพันธด์ุ ว้ ยวิธกี ารเพาะเมลด็ การตอนก่ิง และวิธีการ
ปกั ชาก่งิ ชอบขึน้ ในพน้ื ทดี่ นิ ดี ชอบแสงแดดจัด ทนทานต่อสภาพน้าท่วมขังได้นานถึง 2 เดือน มีการเพาะปลูก
มากในมาเลเซีย เกาะโซโลมอน นิวแคลิโดเนีย วานูอาตู และออสเตรเลียทางตอนเหนือ รวมไปถึงเขตร้อนท่ัว
ๆ ไป(เปลือกต้น พบว่ามีสารในกลุ่มไตรเทอร์ปีน ได้แก่ Beta amyrin, Betulinic acid, Lupeol,
Mimusopfarnanol, Taraxerone, Taraxerol, Ursolic acid, สารในกลุ่มกรดแกลลิก ได้แก่ Phenyl
propyl gallate, น้ามันหอมระเหย ได้แก่ Cadinol, Diisobutyl phthalate, Hexadecanoic acid,
Octadecadienoic acid, Taumuurolol, Thymol)

มีใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกันแบบห่าง ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปรี ใบมีความ
กว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-12 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลมหรือหยักเป็นติ่งสั้น ๆ
โคนใบมน ส่วนขอบใบเรียบและเป็นคลื่นเล็กน้อย หลังใบเป็นสีเขียวเรียบเป็นมัน ท้องใบจะเป็นสีเขียวอ่อน
และเนื้อใบมีลักษณะค่อนข้างเหนียว สว่ นก้านใบยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร หูใบมีลักษณะเป็นรูปเรียวแคบ
ยาวประมาณ 3-5 มิลลเิ มตร และหลดุ รว่ งไดง้ า่ ย

ออกดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกประมาณ 2-6 ดอก โดยจะออกตามซอกใบหรือตาม

ปลายกง่ิ ดอกพิกลุ จะมขี นาดเลก็ สขี าวนวล มกี ลนิ่ หอม (กลนิ่ ยังคงอยูแ่ ม้ตากแห้งแลว้ ) และหลดุ รว่ งได้ง่าย เมื่อ
ดอกบานเต็มท่ีจะกว้างประมาณ 0.7-1 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยมีความยาวประมาณ 2 เซนติเมตร มีกลีบ
เล้ียง 8 กลบี เรียงซอ้ นกนั 2 ชนั้ ชั้นละ 4 กลบี สว่ นกลีบเล้ยี งด้านนอกมลี กั ษณะเปน็ รปู ใบหอก ปลายแหลม มี
ขนส้ันสีนา้ ตาลนุ่ม ยาวประมาณ 7-8 มิลลิเมตร โดยกลีบดอกจะสั้นกวากลีบเล้ียงเล็กน้อย กลีบดอกมี 8 กลีบ
ที่โคนกลีบเชื่อมกันเล็กน้อย กลีบดอกแต่ละกลีบจะมีส่วนย่ืนออกมาด้านหลัง 2 ช้ิน ซ่ึงแต่ละช้ินจะมีลักษณะ
ขนาด และสีคล้ายคลึงกับกลีบดอกมาก ดอกมีเกสรตัวผู้สมบูรณ์ 8 ก้าน อับเรณูเป็นรูปใบหอกและยาวกว่า
ก้านชูอับเรณู เกสรตวั ผู้เป็นหมัน 8 อนั และรังไข่มี 8 ช่อง เมื่อดอกใกลโ้ รยจะเป็นสเี หลืองอมสีน้าตาล สามารถ
ออกดอกได้ตลอดปี (ดอกมีน้ามันหอมระเหย ซ่ึงประกอบไปด้วย 3-hydroxy-4-phenyl-2-butanone
4.74%, 2-phenylethanol 37.80%, 2-phenylethyl acetate 7.16%, (E)-cinnamyl alcohol 13.72%,
Methyl benzoate 13.40%, p-methyl-anisole 9.94%)

ลกั ษณะของผลเปน็ รปู ไข่ถึงรี ผวิ ผลมลี กั ษณะเรียบ ผลอ่อนเป็นสีเขียวมีขนสั้นนุ่ม เมื่อสุกแล้ว

จะเปลี่ยนเป็นสีแสด ที่ข้ัวผลมีกลีบเล้ียงติดคงทน ผลมีขนาดกว้างประมาณ 1.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ
2.5-3 เซนติเมตร เนือ้ ในผลเปน็ สีเหลืองมรี สหวานอมฝาดและมีเมล็ดอยู่ 1 เมล็ด ลักษณะแบนรี แข็ง สีดาเป็น
มัน ติดได้ตลอดปี[1],[2],[3],[4] (ผลและเมล็ดพบ Dihydro quercetin, Quercetin, Quercitol, Ursolic
acid, สารในกลุ่มไตรเทอร์ปีน ซึ่งได้แก่ Mimusopane, Mimusops acid, Mimusopsic acid ส่วนเมล็ดพบ
สารไตรเทอร์ปีนซาโปนินได้แก่ 16-alpha-hydroxy Mi-saponin, Mimusopside A and B, Mi-saponin A
และยงั มีสารอื่น ๆ อีก ได้แก่ Alpha-spinasterol glucoside, Taxifolin)

1.ผลพกิ ุลสามารถใช้รบั ประทานเปน็ อาหารหรอื ผลไม้ของคนและสตั ว์ได้
2.ดอกพกิ ลุ มีกล่ินหอมเยน็ นยิ มนามาใช้บชู าพระ
3.นา้ จากดอกใช้ล้างปากล้างคอได้
4.เนอ้ื ไมพ้ ิกุลสามารถนามาใชใ้ นการกอ่ สร้างทาเครื่องมือได้ เช่น ทาเฟอร์นิเจอร์ เครื่องดนตรี การขุด
เรอื ทาสะพาน โครงเรอื ไม้คาน ไม้กระดาน วงล้อ ครก สาก ดา้ มเครื่องมือ เครื่องมือทางการเกษตร ฯลฯ และ
ยงั ใชเ้ นื้อไมใ้ นงานพิธีมงคลไดเ้ ปน็ อย่างดี เชน่ การนามาทาเป็นด้ามหอกทใ่ี ชเ้ ปน็ อาวุธ เสาบ้าน พวงมาลัยเรอื
5.เปลือกต้นพกิ ลุ ใชส้ กัดทาสยี อ้ มผ้า
6.ดอกมกี ลนิ่ หอมเย็น สามารถนามาสกัดเป็นน้ามันหอมระเหยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ในการแต่งกล่ิน
อาหาร ใชเ้ ปน็ ส่วนผสมในนา้ หอม ใชแ้ ตง่ กลิน่ ทาเคร่ืองสาอาง

Thai bungor
Lagerstroemia loudonii Teijsm. & Binn.
LYTHRACEAE
เกรยี บ ตะเกรียบ ตะแบกขน เสลาใบใหญ อินทรชติ

ตนสงู 10-20 เมตร เรือนยอดเปนพมุ กลมหรือทรงกระบอก กิ่งโนมหอยลงรอบ ทรงพุม
สดี ามรี อยแตกเปนทางยาวตลอดลาตน
ใบเด่ียว เรยี งตรงขาม รปู ขอบขนานกวาง 6-10 เซนตเิ มตร ยาว 16-24 เซนติเมตร ปลาย
เรียวแหลมเปนต่งิ โคนมน เนื้อใบหนาปานกลาง เสนใบมีขนนุมท้งั 2 ดาน
สีมวง มวงอมชมพูหรือมวงกับขาว ออกเปนชอแบบชอแยกแขนงท่ีปลายกิ่ง กลีบเล้ียงเช่ือม
กันเปนรูปถวย ลายแยกเปน 5-8 แฉก กลีบดอกมี 6 กลีบ รูปกลมบางยับยนขอบยวย เม่ือบานเสนผาศูนย
กลาง 3-4 เซนตเิ มตร ออกดอกเดือนธันวาคม – มีนาคม
รูปเกอื บกลมผิวแข็งยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผลแหงแตกตามยาว 5-6 พู มีเมล็ดจานวนมากมี
ปกบางๆ

พบข้ึนตามปาเบญจพรรณ ปาดิบและปาชายหาด พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก
และภาคกลางลงไปถึงจงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ

เน้ือไม ทาเครื่องแกะสลัก ดามเครื่องมือการเกษตร ใบ บดกับกายาน ใชทาผดผื่นคัน ผล ใชทาไม
ประดบั แหง

Burmese Padauk, Burmese ebony, Burma Padauk, Narva
Pterocarpus macrocarpus Kurz
FABACEAE
ด,ู ดูปา (ภาคเหนอื ) ฉะนอง (เชียงใหม ประดปู า (ภาคกลาง)
ประดูเสน (ราชบุรี, สระบรุ ี)

ไมตนขนาดใหญสูง 15-30 เมตร เรือนยอดแผกวาง เปลือกหนาสีน้าตาลดาแตกเปนรองลึก
หรือเปนแผนหนา สบั เปลือกมีน้ายางสแี ดง

ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลบั
ดอกชอกระจะ สเี หลอื ง ผล ผลมปี กโดยรอบ

พบในประเทศพมา กัมพูชา ไทย และเวียดนาม ในประเทศไทยพบไดทุกภาคยกเวนภาคใต พบ
บริเวณปาเบญจพรรณ ปาเต็งรงั และปาดิบแลงที่ระดับความสูงไมเกนิ 800 เมตร

สีแดงอมเหลอื ง มีลวดลายสวยงาม แขง็ แรง ใชในงานกอสราง ทาเสา พ้ืน ตอเรือ เครื่องเรือน
เครื่องดนตรี

สมานแผล แกทองเสีย แกน รักษาคุดทะราด แกไข บารุงกาลัง แกพิษเบื่อเมา แกผดผื่นคัน
และทาใหเลือดลมซาน ใชยอมผา เปลอื ก ใชฟอกหนงั

พอกฝ รกั ษาบาดแผล แกผดผน่ื คัน

Ebony tree
Diospyros mollis Griff.
EBENACEAE
มกั เกลอื (เขมร-ตราด), มักเกลือ หมักเกลือ มะเกลือ (ตราด), ผเี ผา ผีผา
(ฉาน-ภาคเหนอื ), มะเกือ มะเกยี (ภาคเหนือ), เกลอื (ภาคใต)้ , มะเกล้อื (ท่วั ไป)

มีถิ่นกาเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น พม่าและไทย จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึง
ขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-30 เมตร มีเรือนยอดเป็นพุ่ม ลาต้นเปลา ที่โคนต้นมักข้ึนเป็นพูพอน ที่ผิว
เปลือกเป็นรอยแตกเป็นสะเกด็ เลก็ ๆ ตามยาว สดี า เปลอื กด้านในมสี ีเหลือง ส่วนกระพ้ีมีสีขาว แก่นมีสีดาสนิท
เนือ้ มีความละเอียดเป็นมันสวยงาม ท่ีก่ิงอ่อนมีขนนุ่มขึ้นอยู่ประปราย โดยทุกส่วนของมะเกลือเม่ือแห้งแล้วจะ
เปล่ียนเป็นสีดา และต้นมะเกลือจะขยายพันธ์ุด้วยวิธีการเพาะเมล็ด สามารถพบต้นมะเกลือได้ท่ัวไปทุกภาค
ของประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ โดยต้นไม้ชนิดน้ีจะพบได้มากในจังหวัดลพบุรี ราชบุรี สระบุรี นครราชสีมา
ขอนแกน่ ชัยภมู ิ สกลนคร และอุดรธานี นอกจากน้ีต้นมะเกลือยังเป็นต้นไม้ประจาจังหวัดสพุ รรณบุรีอกี ด้วย

ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดเล็ก ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรี เรียงแบบสลับ โคนใบกลมหรือ
มน ปลายใบสอบเข้าหากัน ผิวใบเกลี้ยง ใบกว้างประมาณ 3.5-4 เซนติเมตรและยาวประมาณ 9-10
เซนติเมตร ใบอ่อนจะมีขนปกคลุมอยทู่ ง้ั สองด้าน

ออกดอกเป็นชอ่ ตามซอกใบ ดอกเป็นแบบแยกเพศต่างต้นกัน ดอกตัวผู้จะมีขนาดเล็ด สี
เหลืองอ่อน ในหน่ึงช่อจะมีอยู่ 3 ดอก ส่วนดอกตัวเมียจะเป็นดอกเดี่ยว ลักษณะของดอกเหมือนกัน คือ กลีบ
รองดอกจะยาวประมาณ 0.1-0.2 เซนตเิ มตร ที่โคนกลีบดอกจะเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบดอกจะแยก
เป็น 4 กลีบ มสี ีเหลอื ง เรียงเวยี นซอ้ นทบั กนั ที่กลางดอกจะมีเกสร

ลักษณะของผลกลม มขี นาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ผิวเรียบเกลี้ยง ผล
อ่อนมีสีเขียว ผลสุกมสี ีเหลอื ง สว่ นผลแกเ่ ปน็ สดี า ผลเม่อื แก่จดั จะแห้ง ท่ผี ลมกี ลีบเลีย้ งติดอยบู่ นผล 4 กลีบ ผล
จะแก่ในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ในผลมีเมล็ดแบนสีเหลืองประมาณ 4-5 เมล็ด มีขนาดกว้าง
ประมาณ 0.5-0.7 เซนตเิ มตรและยาวประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร

1.ไม้มะเกลือ มีความละเอียดและแข็งแรงทนทาน สามารถนามาใช้ทาเคร่ืองเรือนได้เป็นอย่างดี หรือ
จะใช้ทาเปน็ เคร่ืองดนตรี เครื่องประดับมกุ เครอื่ งเขียน เฟอรน์ ิเจอร์ไมม้ ะเกลอื ตะเกียบกไ็ ด้เชน่ กนั

2.เปลือกนาไปป้ิงไฟให้เหลือง ใช้ใส่ผสมรวมกับน้าตาล นาไปหมัก ก็จะได้แอลกอฮอล์หรือที่เรียกว่า
น้าเมา

3.เปลือกต้นมะเกลือใช้ทาเป็นยากนั บดู ได้
4.ผลมะเกลอื มีสีดา สามารถนามาใช้ประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรมได้ ซ่ึงสามารถนามาใช้ย้อมผ้าหรือ
ย้อมแห โดยจะให้สดี า สีท่ีไดจ้ ะเข้มและตดิ ทนนาน (ผลสุก)
5.สีดาที่ได้จากผลมะเกลือยังสามารถนามาใช้ทาไม้ให้มีสีดาเป็นมันในการฝังมุกโต๊ะและเก้าอ้ี ช่วยทา
ให้มีลวดลายสวยงามและเด่นมากขน้ึ

Tamarind, Indian date

Tamarindus indica L.
FABACEAE
ขาม (ภาคใต้) ตะลูบ(ชาวบน-นครราชสมี า) มอ่ งโคล้ง (กะเหรีย่ ง-กาญจนบรุ ี)
อาเปียล (เขมร-สรุ ินทร)์ หมากแกง (เงี้ยว-แมฮ่ ่องสอน) ส่ามอเกล
(กะเหรี่ยง-แม่ฮอ่ งสอน)

สงู 15-30 เมตร เปลอื กสเี ทาหรอื สํนี ้าตาลเขม
ใบประกอบแบบขนนก ยาว 5-10 เซนติเมตรกวาง 2-4 เซนตเิ มตร ใบยอย รปู ขอบขนาน
จานวน 10-20 คู ออกตรงขาม ยาว 1.2-2 เซนตเิ มตร กวาง 3-5 มลิ ลิเมตร ขอบใบเรยี บ ปลายเปนตงิ่ แหลม
ชอดอก แบบชอเชิงลดหอยลง ออกท่งี ามใบและปลายกิง่ สเี หลอื งออน
เปนฝกยาว รูปรางยาวหรอื โคง ยาว 3-20 ซม. ฝกออนมเี ปลอื กสีเขยี วอมเทา สนี ้าตาล
เกรยี ม เนื้อในตดิ กับเปลือก เมื่อแกฝกเปลยี่ นเปนเปลือกแขง็ กรอบหกั งาย สีน้าตาล เน้ือในกลายเปนสํีน้าตาล
หมุ เมลด็ เน้อื มีรสเปรย้ี ว และหวานการกระจาย มถี นิ่ กาเนิดที่เกาะมาดากัสกาแพรกระจายแอฟรกิ าตะวนั ออก
และอนิ เดีย

1.ราก แกทองเสยี
2.เปลอื ก แกไข แกทองเสยี สมานแผล รกั ษาแผลเร้ือรัง
3.ใบ ชวยยอยอาหาร ใชอบ อาบสมนุ ไพร
4.เนอ้ื ในฝก เปนยาระบาย ขับเสมหะ บารงุ ผิวพรรณ กระตุนการสรางเซลลผวิ ใหม ลบรอยแผล
เปนและเหย่ี วยน

Cork Tree , Indian Cork
Millingtonia hortensis L.f.
BIGNONIACEAE
กาซะลอง กาดสะลอง เตก็ ตองโพ

ผลัดใบสูง 6-12 เมตร เรอื นยอดเปนพุมทึบ กิ่งมักหอยลง เปลอื กสีเทา แตกเปนรองลึก
เนอื้ หยนุ คลายไมกอก

ประกอบแบบขนนก 2-3 ชนั้ ออกตรงขาม ใบยอยรูปไข หรอื รปู ไขแกมรปู ใบหอก กวาง
1.5-3 เซนตเิ มตร ยาว 2.5-8 เซนตเิ มตร ปลายเรียวแหลมโคนกลม ขอบจกั

สขี าวกลนิ่ หอม ออกเปนชอใหญทีป่ ลายกง่ิ ยาว 10-40 เซนติเมตร ทยอยบานกลีบเล้ยี ง 5
กลบี โคนเชื่อมกนั เปนรปู ระฆัง กลบี ดอกเชอ่ื มกันเปนหลอดยาว ปลายบานออกเปนรปู แตร กวางประมาณ 2
เซนติเมตร มี 5 กลีบ เกสรตัวผู 4 อนั ออกดอกเดือนกนั ยายน – ธันวาคมบานเวลาเยน็

เปนฝกแบน กวาง 1.5-2 เซนติเมตร ยาว 28-36 เซนติเมตร เมือ่ แกแตก 2 ซีกเมลด็ จานวน
มากมปี กการกระจายพนั ธุ ข้ึนในปาเบญจพรรณ และ เขาหินปนู ขยายพันธุโดยเมล็ด และ หนอ

1.เปลอื ก เนื้อไม ใหสเี หลอื ง น้าตาล ใชยอมฝาย
2.ราก เปนยาบารุงปอด รักษาวณั โรค เปลอื ก ทาจุกกอก ดอก สูบแกหืด

West Indian Red Jasmine
Plumeria acuminata Aiton
APOCYNACEAE
ลน่ั ทมแดง ลนั่ ทมเหลือง ลลี าวดี

ขนาดเล็ก สงู 3-8 ม. ขนาดทรงพุ่ม 6-8 ม. ผลัดใบ ทรงพ่มุ รูปไข่ หรือรปู ร่ม แผ่กวา้ ง โปรง่
ลาตน้ และกงิ่ อวบน้า เปลือกต้นสนี า้ ตาลปนเทา เรยี บ ทกุ ส่วนมนี า้ ยางสีขาว

ใบเด่ียว เรยี งเวยี นสลับถท่ี ่ีปลายกงิ่ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน มีลักษณะป้อมสั้นกวา้ ง 10-15
ซม. ยาว 20-35 ซม.ปลายใบเปน็ ต่งิ แหลมโคนใบสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาและยน่ เป็นลอนผวิ ใบดา้ นบน สี
เขียวเขม้ เปน็ มัน ผิวใบด้านลา่ งสีเขียวนวลและมีขนละเอียด ก้านใบอวบยาว 4-8 ซม.

สเี หลือง ชมพู สม้ แดง ม่วง หรือมหี ลายสปี นกันในดอกเดยี ว มีกล่ินหอม ออกเปน็ ชอ่ แบบชอ่ เชงิ
ลดทป่ี ลายกิ่ง ช่อดอกตั้งยาว 15-25 ซม. ดอกยอ่ ย 8 -16 ดอก กลีบเล้ียงเช่ือมติดกนั ปลายแยกเปน็ 5 แฉก
กลบี ดอกโคนเช่อื มติดกนั เปน็ หลอด ภายในมีขน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ซ้อนเหลอ่ื มกัน ปลายกลบี ดอกมตี ่งิ
แหลมและโคง้ ออกเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4-5 อนั เส้นผา่ นศูนยก์ ลางดอก 5-7 ซม.

ผลแห้งแตกตะเข็บเดียว เปน็ ฝักคู่ รูปยาวรี กว้าง 1.5 ซม. ยาว 15 ซม. สเี ขยี วเข้ม เมื่อสุกสี
นา้ ตาลอมดา เมลด็ แบน และมปี กี เมลด็ สีนา้ ตาลจานวนมาก ออกดอกติดผลตลอดปี ขยายพนั ธโุ์ ดยการเพาะ
เมล็ด หรือปกั ชาก่ิงควรปกั ชาในทราย

เปลือกรากใชเ้ ป็น ยาขับนา้ เหลือง ยาระบาย เมลด็ ใชเ้ ป็นยาห้ามเลอื ด ยาง แกง้ ูสวัด หดิ ใช้ใส่แผล

เอกสำรอำ้ งอิง

กอ่ งกานดา ชยามฤต. (2548). ลกั ษณะประจำวงศ์พรรณไม้.กรงุ เทพฯ :
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธ์ุพืช.

------------------------. (2549). ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ 2. กรุงเทพฯ :
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธุ์พชื .

ป่าไม้,กรม. (2558). พรรณไมใ้ นพระรำชบัญญัตสิ วนปำ่ (ฉบับที่ 2). พ.ศ.2558. ม.ป.ท.
ศริ วิ รรณ สุทธจติ ต์. (2550). ผลติ ภณั ฑธ์ รรมชำตเิ พ่อื สุขภำพ. (พิมพค์ รั้งที่ 4). กรงุ เทพฯ :

บริษัท ส.เอเชียนเพรส (1989) จากัด.
ไทยเกษตรศาสตร์.(2556).ลน่ั ทมแดง. สืบค้นเมอื่ 19 ตลุ าคม 2564 จาก https://www.thaikasetsart.com.
นยั บารงุ เวช. (2562).เทคโนโลยกี ำรเกษตร. สืบคน้ 19 สงิ หาคม 2564 จาก

https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_119025.
MedThai.สมุนไพร : มะเกลือ. สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม 2564. จาก https://medthai.com.
Puechkaset. (2559). มะเก๋ียง สรรพคณุ และประโยชน์มะเก๋ียง. สบื ค้นเม่ือ 18 ตลุ าคม 2564

จาก https://puechkaset.com.


Click to View FlipBook Version