The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panuwat pongkhane, 2019-08-24 23:00:27

ชุด IS หน่วยที่ 3

ชุด IS หน่วยที่ 3

Keywords: ชุด IS หน่วยที่ 3

64

ใบความรทู้ ี่ 15
เร่อื ง องค์ความรู้

องค์ความรู้ (อังกฤษ: body of knowledge) หมายถึงความรู้ที่อยู่ในศาสตร์ ได้แก่ ความคิด
รวบยอด หลักการ วิธีการ ที่อยู่ในตารา อยู่ในห้องสมุด ซ่ึงอยู่ภายนอกตัวบุคคล ที่สั่งสมกันมาเพื่อให้
คนร่นุ หลังไดเ้ รียนรู้ โครงสร้างความรู้ หมายถึง ความรู้ท่ีอยู่ภายในตัวบุคคล ท่ีเกิดจากการเรียนรู้ของ
บุคคลน้ันๆ ซึ่งไม่ได้ลอกเลียนมาจากองค์ความรู้ แต่ผู้เรียนต้องสร้างขึ้นมาด้วยตนเอง เป็นความรู้ที่
เกิดขนึ้ ใหม่ เมือ่ พัฒนาโครงสร้างความรตู้ ่อไปกส็ ามารถสร้างผลงานเป็นองคค์ วามรู้ให้คนอนื่ ค้นควา้ ได้

องค์ความรู้ เป็นความรู้ท่ีเกิดข้ึนต่อเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ซ่ึงอาจเกิดข้ึนจากการถ่ายทอดจาก
ประสบการณ์ หรอื จากการวเิ คราะห์และสงั เคราะห์ข้อมูล โดยความรู้เกิดข้ึนน้ันผู้รับสามารถนาไปใช้
ไดโ้ ดยตรง หรอื สามารถนามาปรับใช้ได้ เพ่อื ให้เหมาะกบั สถานการณ์หรอื งานที่กระทาอยู่เป็นความรู้ท่ี
เกิดข้ึนตอ่ เรือ่ งใดเรอื่ งหนง่ึ โดยความรู้ที่เกิดข้ึนน้ันผู้รับสามารถนาไปใช้ในลักษณะตา่ ง ๆ ได้
แหล่งกาเนดิ ขององคค์ วามรู้

1. ความรู้ทไ่ี ดร้ บั การถ่ายทอดจากบคุ คลอื่น
2. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์การทางาน
3. ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการวิจยั ทดลอง
4. ความรจู้ ากการประดิษฐค์ ิดค้นสง่ิ ใหม่ ๆ
5. ความรทู้ ่ีมปี รากฏอยู่ในแหล่งความรู้ภายนอกองคก์ รและองคก์ รไดน้ ามาใช้
ประเภทขององค์ความรู้ แบ่งได้ เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี

1. องคค์ วามร้ทู ่สี ามารถอธิบายได้เป็นองค์ความรู้ซึ่งทาความเข้าใจได้จากการฟัง การอธิบาย
การอ่าน และนาไปใช้ปฏิบัติ โดยจัดไว้อย่างมีแบบแผนมีโครงสร้างและอธิบายกระบวนการวิธี
ขัน้ ตอนท่ีสามารถนาไปใชไ้ ด้

2. องค์ความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายได้หรืออธิบายได้ยาก เป็นองค์ความรู้ที่อธิบายได้ยากหรือ
ในบางคร้ังไม่สามารถอธิบายวา่ เกดิ ความรู้ เหล่าน้ันได้อย่างไร ไม่มีแบบแผน โครงสร้างแน่ชัด มักเกิด
ขน้ึ กับตัวบุคคล ผลของการถา่ ยทอดขน้ึ อยู่กบั ผู้ถา่ ยทอดและผู้รบั เป็นสาคัญ
การจดั การองค์ความรู้

การจัดการองค์ความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ ซ่ึงกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล
หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้
รวมทัง้ ปฏิบัตงิ านได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ อนั จะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุดโดย
ท่ีความรู้มี 2 ประเภท คือ

1. ความรู้ท่ีฝังอยู่ในคน เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของ
แต่ละบุคคลในการทาความเข้าใจในส่ิงต่างๆเป็นความรู้ท่ีไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคาพูดหรือ
ลายลักษณ์อักษรได้โดยง่ายเช่น ทักษะการทางาน งานฝีมือหรือการคิดเชิงวิเคราะห์บางคร้ังเรียกว่า
เป็นความร้แู บบนามธรรม

2. ความรทู้ ่ีชัดแจง้ เป็นความรูท้ ส่ี ามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธตี า่ งๆ เช่น การ
บนั ทกึ เป็นลายลักษณ์อกั ษร ทฤษฎีคู่มอื ต่างๆและบางครงั้ เรยี กวา่ เปน็ ความรู้แบบรูปธรรม
เครอื่ งมอื ในการจัดการความรู้

การจัดการความรู้ ประกอบด้วย กระบวนการหลักๆ ได้แก่ การค้นหาความรู้ การสร้างและ
แสวงหาความรใู้ หม่ การจัดการความรู้ให้เปน็ ระบบ การประมวลผลและกลน่ั กรองความรู้ การแบ่งปัน

65

แลกเปล่ียนความรู้ สุดท้าย คือ การเรียนรู้และเพ่ือให้มีการนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
องคก์ รเคร่อื งมอื หลากหลายประเภทถกู สรา้ งขน้ึ มาเพ่ือนาไปใช้ในการถ่ายทอดและแลกเปล่ยี นความรู้
การสังเคราะห์องค์ความรู้

การสังเคราะห์ (อังกฤษ: Synthesis) มาจากคาว่า syn- แปลว่า ร่วม และคาว่า thesis
แปลว่าปรากฏการณ์ใหม่ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณ มีความหมาย คือประชุม) การ
สงั เคราะห์ เป็นกระบวนบูรณาการปัจจัยต่างๆตั้งแต่สองปัจจัยข้ึนไปซ่ึงอาจเป็นได้ทั้งคน สัตว์ สิ่งของ
รวมท้ังเหตุการณ์และส่ิงที่อยู่ในรูปของแนวคิดเข้ามาเป็นองค์ประกอบร่วมกันเพ่ือให้เกิดสิ่งใหม่หรือ
เกิดปรากฏการใหม่ท่ีอาจเรียกได้ว่าเป็นการ บูรณาภาพ โดยปัจจัยหรือองค์ประกอบต่างๆที่เข้ามาสู่
กระบวนบูรณาการในการสังเคราะห์นั้นบางปัจจัยอาจจะได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมาก่อน
แล้ว ขณะท่ีบางปัจจัยก็อาจจะยังไม่ได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมาก่อน สภาวะรูปของปัจจัย
และองค์ประกอบต่างๆที่นามาเป็นปัจจัยและองค์ประกอบในการสังเคราะห์นั้นอาจเป็นไปได้ทั้งแบบ
รูปธรรมและนามธรรม ซ่ึงบูรณภาพที่เป็นปรากฏการณ์ใหม่หรือส่ิงใหม่อันเกิดขึ้นจากการสังเคราะห์
นนั้ กเ็ ปน็ ไปไดท้ ัง้ แบบรูปธรรมและนามธรรมเชน่ กัน
ขน้ั ตอนการสงั เคราะห์

1. กาหนดหวั เรอ่ื งและจุดประสงคท์ จ่ี ะสงั เคราะห์ใหช้ ดั เจนวา่ ตอ้ งการสงั เคราะห์เพ่ือใหเ้ กดิ
บรู ณาภาพหรอื ปรากฏการณใ์ หมใ่ นรูปแบบใด เช่นเพอ่ื ให้เกิดผลผลติ เพื่อให้เกดิ ขอ้ สรุป หรือ เพื่อให้
เกิดการทานายเหตุการณใ์ นอนาคตโดยกาหนดวตั ถปุ ระสงคใ์ ห้ชัดเจนด้วยว่าจะสังเคราะหเ์ พื่อนาผล
การสังเคราะหท์ ไี่ ดไ้ ปดาเนินการในส่งิ ใดต่อ

2. จัดเตรียมปจั จัยและองค์ประกอบต่างๆทจ่ี ะนาเข้าส่กู ระบวนการสังเคราะห์ซง่ึ อาจเปน็ คน
สัตว์ ส่งิ ของ หรอื เปน็ ประเดน็ นามธรรมตา่ งๆ คัดกรอง คดั เลอื กให้ได้ข้อมลู หรอื ปัจจยั วตั ถดุ บิ ตา่ งๆที่มี
คณุ ภาพเพ่อื นาสูก่ ระบวนการสังเคราะห์

3. สังเคราะห์ปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่เตรียมไว้ตามจุดประสงค์ท่ีกาหนด โดยให้
กระบวนการสังเคราะห์มุ่งท่ีการนาปรากฏการใหม่หรือบูรณาภาพที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ตามทไ่ี ดก้ าหนดไวใ้ นวัตถปุ ระสงค์ของการสงั เคราะห์

4. ตรวจสอบและประเมินผลการสังเคราะห์ท่ีได้ว่าน่าจะมีความแม่นยา ความเที่ยง และ
ความเปน็ ไปได้มากน้อยเพียงใดเพื่อเตรยี มนาไปใช้ตามวัตถปุ ระสงค์

4.1 ผลการสังเคราะห์ท่ีมีคุณภาพ มีความแม่นยาน่าเช่ือถือและมีความเป็นไปได้สูง
สามารถนาผลของการสังเคราะหด์ าเนินการนาไปใช้ในขน้ั ตอ่ ไปได้ตามวัตถุประสงค์

4.2 ผลของการสังเคราะห์ท่ีไม่มีคุณภาพ ให้นาผลของการสังเคราะห์น้ันเข้าสู่
กระบวนการวิเคราะหเ์ พ่อื ดาเนินการแยกแยะตรวจสอบหาที่มาของปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆท่ีได้
นาเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพของผู้ทาการสังเคราะห์เพื่อสืบค้นหาท่ีมา
และเหตปุ ัจจัยที่ทาให้ผลของการการสังเคราะหเ์ ป็นผลการสังเคราะห์ทไ่ี ม่มีคุณภาพ และเม่ือวิเคราะห์
หาเหตุปัจจัยต่างๆนั้นได้แล้วให้แก้ไขปรับปรุงหรือเปล่ียนแปลงเพื่อพัฒนาข้อมูลหรือองค์ประกอบ
ปจั จยั ตา่ งๆนนั้ ใหม้ ีคณุ ภาพตอ่ ไปเพ่อื นาเขา้ สู่กระบวนการสงั เคราะหใ์ หม่อีกครัง้ หน่งึ

5. นาผลการสังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมายโดยจะนาเสนอต่อสาธารณะหรือเก็บ
เป็นข้อมูลสังเคราะห์ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทาการสังเคราะห์ เช่น สังเคราะห์สถานการณ์
ปัจจบุ ันเพือ่ นาไปใช้ประกอบการคาดเดาโอกาสของเหตุการณ์ที่อาจจะเกดิ ขึ้นได้ในอนาคต

@@@@@@@@@

66

ใบงานท่ี 18 เร่ืององคค์ วามรู้

1. องคค์ วามรู้ ตรงกบั ภาษาอังกฤษว่า…………..………………………………………………………………
หมายถงึ …………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. บอกถงึ แหล่งกาเนิดขององคค์ วามรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. บอกประเภทขององค์ความรมู้ ี………………..ประเภท อะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. การจัดการองค์ความรู้ คือ……………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. อธบิ ายความรู้แบบนามธรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. อธบิ ายความรู้แบบรปู ธรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. การจดั การความรู้ ประกอบด้วย กระบวนการหลักๆ ไดแ้ ก่…………..……………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. การสังเคราะห์ หมายถึง…………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

9. บอกขัน้ ตอนการสงั เคราะห์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ช่อื ………………………...…………………………ชัน้ ………….เลขท่ี…………..

67

ใบงานท่ี 19
เร่ือง ประโยชนข์ องการศกึ ษาค้นคว้าและสร้างองคค์ วามรู้

คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มไปศึกษาคน้ ควา้ จากหนังสือ/อนิ เตอร์เน็ตเขยี นสรุปตามหัวข้อต่อไปน้ีส่ง

ประโยชน์และคุณค่าของการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชือ่ กลุ่ม………………………...…………………………………….ห้อง…………..

68


Click to View FlipBook Version