The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานแผนการศึกษา 4 ปีฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Banky_tanawat, 2021-10-20 03:54:24

แผนพัฒนาการศึกษา กศน.อำเภอยะรัง 4 ปี

รายงานแผนการศึกษา 4 ปีฉบับสมบูรณ์

แผนพั ฒนาคุณภาพการศึกษา

กศน.อําเภอยะรัง
พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๗

ศูนย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอยะรัง
สาํ นักงาน กศน.จังหวัดปตตานี

๒๕๖๔-๒๕๖๗

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรัง
พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗

ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอยะรงั
สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ปตตานี

สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ





คาํ นาํ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษากศน.อําเภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๗ เลมน้ี ศูนยการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอยะรังไดจัดทําขึ้น เพื่อใชเปนกรอบและทิศทางในการดําเนินงานของ
สถานศึกษาในชว งระยะเวลา ๔ ป (ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗) ซงึ่ สถานศึกษา
ไดกําหนดเปาหมายการทํางานไวชัดเจน มีประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ ตัวชี้วัดความสําเร็จสําคัญ ท่ีจะ
ขับเคล่ือนการดาํ เนินงานใหบ รรลวุ ิสยั ทัศน พันธกจิ และเปา หมายของสถานศกึ ษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาเลมน้ี ประกอบดวยเน้ือหาจํานวน ๕ บท ดังนี้ บทที่ 1 ขอมูล
พื้นฐานของกศน.อําเภอยะรัง บทที่ ๒ ทิศทางการดําเนินงานของสถานศึกษา บทที่ ๓ แผนพัฒนาการศึกษา
กศน.อําเภอยะรัง บทท่ี ๔ แผนการปฏิบัติงานโครงการ และบทท่ี ๕ การนําแผนพัฒนาสูการปฏิบัติ ท่ี
ตอบสนองตอทิศทางการดําเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษาไดพิจารณาเห็นชอบ
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ แลว เมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๖๔ แลวน้ัน

การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษากศน.อําเภอยะรัง ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจาก
สํานักงาน กศน.จังหวัดปตตานี คณะกรรมการสถานศึกษา ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และ
บุคลากรของศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอยะรัง ท่ีไดใหคําแนะนําและรวมมือ
จัดทําแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา อันจะสงผลใหสถานศึกษาสามารถดําเนนิ การจัดการศึกษาตามแผนพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาใหเกดิ ประโยชนก บั ผูร บั บริการของสถานศึกษาตอไป

(นางสาวไรวินท พลเพชร)
ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอยะรงั



สารบญั

หนา

การอนมุ ตั ิแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗…………………………………………… ก
คํานาํ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ข
สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………………… ค

บทท่ี ๑ ขอ มูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา……………………………………………………………………………….. ๑
ชื่อสถานศกึ ษา………………………………………………………………………………………………………………..… ๑
สงั กดั ……………………………………………………………………….…………..…………………………………………… ๑
ประวัตคิ วามเปนมาของสถานศึกษา………………………….………………………………………………………….. ๑
ทําเนียบผบู ริหาร…………………………………………..……….…………………………………………………………… ๒
อาณาเขต…………………………………………………………………………………………………………………………… ๓
สภาพชมุ ชน………………………………………………………………………………………………………………………. ๓
โครงสรา งสถานศกึ ษา…………………………………………………………………………………………………………. ๔
ขอมลู บุคลากร………………………………………………………………….………………………………………………… ๕
ทรพั ยากรและส่ิงอาํ นวยความสะดวกในการจัดการศกึ ษา………………………………………………………… ๗
แหลงเรยี นรูภาคเี ครือขาย……………………………………………..…………………………………………………… ๘
บทที่ ๒ ทิศทางการดาํ เนินงานของสถานศึกษา…………………………………………………………….…….. ๑๖
การวิเคราะหส ภาพแวดลอ มและศักยภาพ (SWOT Analysis)………………………………………….…….. ๑๖
ปญหาและความตองการทางการศกึ ษาของประชาชนที่จําแนกตามลักษณะกลมุ เปา หมาย…………. ๒๖
บทที่ 3 แผนพัฒนาการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั ………………………………………………………………….. ๒๙
ปรัชญา……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒๙
วสิ ยั ทศั น… ……………………………………………………………………….………………………………………………… ๒๙
เอกลักษณ……………………………………………..…………………………………………………………………………… ๒๙
อัตลกั ษณ…………………………………………………………………………………………………………………………… ๒๙
พนั ธกิจ (Mission) ……………………………………………………………………………………………………………… ๒๙
ยุทธศาสตร กลยทุ ธ และแนวทางการพฒั นา………………………………………………………………………….. ๓๐
เปา ประสงค และตัวชวี้ ดั ความสําเร็จ…………………………………………………………………………………….. ๓๗



สารบญั (ตอ )

หนา

บทท่ี ๔ แผนการปฏิบัตงิ านโครงการ………………………………………………………………………………….. ๓๙
ตารางแสดงกรอบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา……………………………………………………………………. ๔๐
ความสัมพันธของแตละโครงการ/กิจกรรมกับยุทธศาสตรชาติ แผนการศึกษาชาติ ยุทธศาสตร
สาํ นักงาน กศน. แผนยทุ ธศาสตรการศกึ ษาเขตพฒั นาพิเศษจงั หวดั ชายแดนใต… ……….……………… ๕๕
บทที่ ๕ การนําแผนพัฒนาสูการปฏบิ ตั …ิ ……………………………………………………………..…………….. ๑๐๑
การนําแผนพัฒนาสูการปฏบิ ัต…ิ ………………………………………………………………………………………….. ๑๐๑
๑๐๒
เงื่อนไขสคู วามสําเรจ็ ………………………………………………..………………………………………………………… ๑๐๓
ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๐๔
คําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา…………………………………………….. ๑๑๑

คณะผจู ัดทาํ ………………………………………………..…………………………………………………………………….

ชอื่ สถานศกึ ษา

ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอยะรัง
ทีอ่ ยู : หมูท ี่ 3 ตาํ บลยะรงั อาํ เภอ/เขต ยะรัง จังหวัด : จังหวัดปตตานี
เบอรโ ทรศัพท : 073-439260 เบอรโทรสาร : 073-439260
E-mail ตดิ ตอ : [email protected]
Website : www.korsornoryarang.com และ www.yarangnfe.com
โดยมพี ิกดั ทต่ี ัง้ ที่ x = ๖.๗๖๘๑๔ Y = ๑๐๑.๒๙๕๗๑

สังกดั

สาํ นักงานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั ปตตานี

สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สํานกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธกิ าร

ประวัติความเปน มาของสถานศึกษา

กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปตตานี ได
ดําเนินงานมอบหมายใหอาจารยในสังกัดศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปตตานี ออกดําเนินการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนสายสามัญ และสายอาชีพในพ้ืนที่ตาง ๆ ของจงั หวัดปตตานี จํานวน 12 อําเภอ โดยมีช่ือวา ผู
ประสานงานการศึกษานอกโรงเรยี นอาํ เภอ (ผปอ.) สําหรับอําเภอยะรัง นายเสริมศักดิ์ พิทยามาก ไดรับมอบหมาย
ทาํ หนาท่ผี ูป ระสานงานการศึกษานอกโรงเรยี นอําเภอยะรงั

เมื่อวันท่ี 6 กุมภาพันธ 2535 ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปตตานี ไดมีคําส่ังท่ี 7/2535 ลง
วันที่ 6 กุมภาพันธ 2535 แตงตั้งใหนายดาบตํารวจกริยา ตระกูลศึกษา ทําหนาที่ผูประสานงานการศึกษานอก
โรงเรียนอําเภอยะรัง กําหนดใหมาปฏิบัติหนาที่สัปดาหละ 2 วัน เวนแตจําเปนตองปฏิบัติหนาท่ีภารกิจเรงดวน
หรือสําคญั ใหข ออนญุ าตเปน คร้ังคราว

เมื่อวันท่ี 6 มกราคม 2537 ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปตตานี ไดมีคําสั่งท่ี 1/2537 ลง
วันท่ี 6 มกราคม 2537 เร่ือง มอบหมายงานในหนาท่ีราชการใหถือปฏิบัติและรับผิดชอบโดยต้ังใหนายดาบ
ตํารวจกริยา ตระกูลศึกษา ทาํ หนาทีห่ ัวหนาศูนยบรกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี โดย
ใชหองสํานักงานศึกษาธิการอําเภอ เปนที่ทําการช่ัวคราว แตเน่ืองจากสํานักงานศึกษาธิการอําเภอยะรัง จะขยับ
ขยายสํานักงาน เพื่อจัดเปนแหลงขอมูลขาวสาร ศนู ยบริการการศกึ ษานอกโรงเรียนอําเภอยะรัง จงึ จําเปน ตองหา
อาคารเพ่ือเชาจัดสํานักงาน ตอมากรมการศึกษานอกโรงเรียนอนุญาตใหเชาอาคารเพ่ือจัดตั้งเปนสํานักงานตาม
หนังสือท่ี ศธ. 1102/4817 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2538 และศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ
ยะรัง ดําเนนิ การเชาบานเลขที่ 297 หมูที่ 3 ถนนสโิ รรส ตําบลยะรงั อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ตงั้ แตวันที่
1 สิงหาคม 2538 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2543 หลังจากนั้นไดรับงบประมาณจากการศึกษานอกโรงเรียน ให
ดําเนินการจัดต้ังหองสมุดประชาชนแหงใหม ท่ี 76/1 หมูท่ี 5 บานพงสตา ตําบลยะรัง อําเภอยะรัง จังหวัด

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑

ปตตานี ในวันที่ 1 กุมภาพันธ 2543 และไดยายสํานักงานมาที่ หมูที่ 2 ตําบลปตูมุดี (หนาโรงพยาบาลอําเภอ
ยะรัง) ในวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2545 จนถึงป 2555 กศน.อําเภอยะรังไดยายมาอยูที่ หมูท่ี 3 ตําบลยะรัง อําเภอ
ยะรงั จังหวดั ปตตานีจนถงึ ปจจบุ ัน

เมื่อ วันที่ 30 กันยายน 2551 สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนไดมีคําสั่งให ร.ต.ต.กริยา
ตระกูลศึกษา ผูอํานวยการศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอยะรัง ไปดํารงตําแหนงผูอํานวยการศูนยฝก
และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวดั ปตตานี

วันท่ี 1 ตุลาคม 2550 นายอับดุลยาบาอี สาแม ไดมาดํารงตําแหนงผูอํานวยการศูนยการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอยะรงั

วันท่ี 1 พฤศจิกายน 2554 นายนภดล เดะแอ ไดมาดํารงตําแหนงผูอํานวยการศูนยการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอยะรัง

วันท่ี 1 ตุลาคม 2557 นายวีระศักดิ์ บุญไชยสุริยา ไดรักษาการในตําแหนงผูอํานวยการศูนยการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอยะรัง

วันที่ 2 กุมภาพันธ 2558 จนถึงปจจุบัน นางสาวไรวินท พลเพชร ไดมาดํารงตําแหนง ผูอํานวยการศูนย
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอยะรัง ไดดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เชน การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อ
พัฒนาสังคมและชุมชน การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ งานอ่ืนๆภายใตนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการและสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

ทําเนียบผบู รหิ าร

ลาํ ดับที่ ชื่อ - สกลุ ตําแหนง ระยะเวลาท่ีดํารง
๑ ตาํ แหนง
๒ นายดาบตาํ รวจกรยิ า ตระกลู ศึกษา ผูประสานงานการศึกษานอกโรงเรียนอาํ เภอยะ 2535-2537
๓ รงั

๕ หวั หนา ศนู ยบริการการศกึ ษานอกโรงเรียนอําเภอ 2537-2548
ยะรัง

นายอับดลุ ยาบาอี สาแม ผูอ ํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและ 2550-2553
การศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอยะรงั

นายนภดล เดะแอ ผูอาํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและ 2553-2557
การศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอยะรัง

นายวีระศกั ด์ิ บญุ ไชยสุริยา รกั ษาการ ในตาํ แหนงผูอํานวยการศนู ยก ารศึกษา 1ต.ค.57-31ม.ค.
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอยะ 58
รัง

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒

ลาํ ดับที่ ช่ือ - สกุล ตาํ แหนง ระยะเวลาท่ดี ํารง
ผอู าํ นวยการศูนยการศึกษานอกระบบและ ตําแหนง
๖ นางสาวไรวินท พลเพชร การศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอยะรงั 2 กุมภาพนั ธ
2558 – ปจจบุ นั

อาณาเขต

ทิศเหนือ ตดิ ตอกับ ตาํ บลปยู ุด ตําบลกะมยิ อ อําเภอเมือง
ทิศใต ติดตอกับ ตําบลสะเตง อําเภอเมอื งยะลา จังหวดั ยะลา
ทศิ ตะวนั ออก ติดตอกับ ตาํ บลตาเกะ ตําบลราตาปนยัง ตาํ บลตะโละ อําเภอยะหริ่ง, ตําบล
ตะโละแมะนา อําเภอทุงยางแดง, ตําบลสาคอบน, ตําบลราตาปน ยงั , ตาํ บล
ทิศตะวนั ตก ปานัน, ตําบลปะโด ตําบลลุโบะยิไร อําเภอมายอ, และตาํ บลวังพญา อาํ เภอรา
มัน
สภาพชมุ ชน จังหวัดยะลา
ตดิ ตอกับ ตาํ บลยุโป อําเภอเมือง จงั หวดั ยะลา,ตําบลคลองตันหยง อําเภอ
หนองจิก ตําบลมวงเตยี้ อําเภอแมล าน

เนื้อที่อําเภอยะรงั 175.21 ตารางกโิ ลเมตร
 สภาพภมู อิ ากาศ

ลกั ษณะภมู อิ ากาศเปนแบบรอนชื้น มี 2 ฤดู คอื ฤดูรอน เรม่ิ ต้งั แต กุมภาพนั ธ - กรกฎาคม
และฤดฝู น เรมิ่ ต้ังแตส งิ หาคม – มกราคม
สภาพภูมิประเทศ
มลี ักษณะเปนภูเขาสลับกับที่ราบลุมทั่วทั้งอําเภอ มีแมนํ้าปตตานีไหลผาน ในพื้นที่หมูที่ 1 และ
หมูที่ 2 สวนใหญเปนพื้นที่นาและสวน ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทํานา ทําสวน พืชไร พืชผัก
ชุมชนหนาแนนบริเวณถนนปตตานี-ยะลา ทั้งสองฝงเปนอาคารพักอาศัย ประกอบอาชีพคาขายและทํา
ธุรกิจทวั่ ไป

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓

โครงสรางสถานศึกษา ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษ

สาํ นักงาน กศน.จังหวัดปตตานี

ผูอ ํานวยการ

กลมุ งานอาํ นวยการ กลุม งานการ
การศึก
งานธุรการและสารบญั
งานการเงนิ และบญั ชี งานก
งานการศึก
งานพสั ดุ งานการศ
งานการศึ
งานแผนงานและโครงการ
งานบคุ ลากร งานการศ

งานการเงนิ งานสง

งานสารบรรณ/ธุรการ งานการศึก
งานงบประมาณ
งานประชาสมั พันธ
งานอาคารสถานที่
งานนิเทศติดตาม

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗

ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอยะรังการ กศน.อาํ เภอยะรงั

คณะกรรมการสถานศึกษา

ร กศน.อําเภอยะรัง

รศกึ ษานอกระบบและ ฝา ยสง เสริมภาคีเครือขา ยและ
กษาตามอัธยาศยั กจิ กรรมพิเศษ

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน งานการศึกษาจังหวัดชายแดนใต (จชต.)
กษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ
ศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะ งานสงเสรมิ ผูส ูงอายุ
กษาเพ่ือพฒั นาสังคม งานศูนยเรียนรปู ระชาธปิ ไตย
งานกจิ การกองลูกเสือ/ ยวุ กาชาด
ศึกษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง งานปอ งกนั และไขปญหายาเสพติด
งานสง เสริมนโยบายสาํ นกั งาน กศน.
งเสรมิ การรหู นังสือ งานกจิ กรรม โครงการพเิ ศษ

กษาตามอัธยาศัย

หนา ๔

ขอมูลบุคลากร

ประเภท/ตาํ แหนง จํานวน (คน)
ขาราชการ ตํ่ากวา ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวมจาํ นวน
ผบู รหิ ารสถานศึกษา
ขาราชการครู - -1 - 1
บรรณารักษ - 95 - 14
ลูกจางประจาํ - 1- - 1
พนักงานราชการ - -- - -
- ครูอาสาสมคั รในสถาบันศึกษาปอเนาะ
- ครู กศน. ตําบล - 36 1 - 37
- ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น - 12 - - 12
อตั ราจาง - 11 - - 11
- อัตราจาง
- 11 - 2
รวมจํานวน - 70 8 - 78

รายละเอียดบุคลากรรายบคุ คล

ลาํ ดับท่ี ประเภทบุคคลากร ช่อื – สกุล รายละเอียด การศกึ ษา
ตําแหนง ศษ.ม
1 ผูบริหารสถานศึกษา นางสาวไรวินท พลเพชร ศษ.ม
2 ขา ราชการครู ผอู าํ นวยการชาํ นาญการพเิ ศษ ศษ.บ
นายฮัมดนั ยะโกะ ครชู ํานาญการ ศษ.ม
3 ขา ราชการ นางสาวซารปี ะ สูดี บรรณารักษป ฏิบตั ิการ คบ.
4 ขา ราชการครู นางสาวอาดลี ะห หะยีอับดุลเลาะ ครผู ชู ว ย วท.บ
5 ขาราชการครู นางสาวคอดเี ยา ะ สะแลแม ครผู ชู ว ย กศ.ม
6 ขา ราชการครู นางสาวรอฮานี มะสาแม ครูผชู วย ศษ.ม
7 ขาราชการครู นายอนั วาร หมะบะ ครผู ชู ว ย บธ.บ
8 ขา ราชการครู นายมกั ตา จะปะกิยา ครูผชู วย ศศ.บ
9 ขา ราชการครู นางสาวนาซเี ราะห สารอ ครูผูชว ย บธ.บ
10 ขาราชการครู นางสาวสปุ ราณีย เลาะซูรี ครผู ูชว ย บธ.บ
11 ขาราชการครู นางสาวฮาสือนะ มูซอ ครผู ูชว ย บธ.บ
12 ขา ราชการครู นายกามารูซามนั เบณมะ ครผู ชู ว ย ศษ.บ
13 ขา ราชการครู นายมูฮาํ หมัดฮสุ นี มฮุ ญ ิดดนี ครูผชู วย บธ.บ
14 ขา ราชการครู นางสาวมารียะ สาแมง ครูผชู วย ค.ม.
15 ขาราชการครู นายซอและ หมดั ยโู สะ ครผู ูชวย คบ.
16 ขา ราชการครู นายธนวฒั น รตั นเดโช ครูผชู วย
17 พนกั งานราชการ นายอุสมาน นิมะ ครู อาสา ฯ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๕

ลาํ ดับที่ ประเภทบคุ คลากร ชอื่ – สกุล รายละเอยี ด การศกึ ษา
18 พนักงานราชการ นางกมลวรรณ พรรษา ตาํ แหนง คบ.
19 พนกั งานราชการ นางสาวจนิ ตนา หะยีดอเลาะ คบ.
20 พนักงานราชการ นางฮามีดะ หะยยี ามา ครู อาสา ฯ คบ.
21 พนักงานราชการ นางวนั เพ็ญ สวุ รรณมาลี ครู อาสา ฯ วท.บ
22 พนกั งานราชการ นางสาวพิชญา ปแ กว ครู อาสา ฯ วท.บ
23 พนกั งานราชการ นางวรรณา เจะอาลี ครู อาสา ฯ วท.บ
24 พนักงานราชการ นางพมิ ลพัทธ วาเล็ง ครู อาสา ฯ คบ.
25 พนักงานราชการ นายวันฮูเซน็ แวยะโกะ ครู อาสา ฯ คบ.
26 พนกั งานราชการ นางสาวแวนะ ประดู ครู อาสา ฯ บธ.บ
27 พนกั งานราชการ นางนนิ ะ เจะบือราเฮง ครู อาสา ฯ บธ.บ
28 พนกั งานราชการ นางสาวกอลบี วชิ า ครู อาสา ฯ บธ.บ
29 พนกั งานราชการ นางสาวซูไลฮา หะยีหะซา ครู อาสา ฯ ศษ.บ
30 พนกั งานราชการ นายวกิ รม โอชาอมั พวนั ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
31 พนกั งานราชการ นางสาวซไู รนี มี ครู อาสา ฯปอเนาะ กศ.บ
32 พนกั งานราชการ นายมฮู มั มดั อสุ นี มะเซ็ง ครู อาสา ฯปอเนาะ วท.บ
33 พนกั งานราชการ นายอารง กะลแู ป ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
34 พนกั งานราชการ นางฮาดียะห เจะเลาะ ครู อาสา ฯปอเนาะ บธ.บ
35 พนักงานราชการ นายมะยโู ซะ ลาเตะ ครู อาสา ฯปอเนาะ บธ.บ
36 พนักงานราชการ นางสาวแวซูไฮณี จะปะกยิ า ครู อาสา ฯปอเนาะ บธ.บ
37 พนักงานราชการ นายอาฟฟาน เจะอุบง ครู อาสา ฯปอเนาะ ศษ.บ
38 พนกั งานราชการ นางสาวสุกัญญา มยรุ ภานนท ครู กศน.ตาํ บล บธ.บ
39 พนักงานราชการ นางลแี น โตะแวมะ ครู กศน.ตําบล บธ.บ
40 พนักงานราชการ นางสาวตว นแย ซา ครู กศน.ตาํ บล ศศ.บ
41 พนกั งานราชการ นางสาวสาวิตรี มะยิ ครู กศน.ตําบล คบ.
42 พนกั งานราชการ นางฟาตีเมาะ เจะเละ ครู กศน.ตําบล คบ.
43 พนกั งานราชการ นางสาวมุนา สะนิ ครู กศน.ตําบล วท.บ
44 พนักงานราชการ นายมะแอ ดามิ ครู กศน.ตาํ บล บธ.บ
45 พนกั งานราชการ นายอุสมาน สาหะ ครู กศน.ตําบล ศษ.บ
46 พนกั งานราชการ นายมฮู ัมมัดสุกกรี ดอเลาะ ครู กศน.ตําบล ศศ.บ
47 พนกั งานราชการ นายอบั ดลุ เลาะ วาเลง็ ครู กศน.ตําบล ศศ.บ
48 พนกั งานราชการ นางสไุ ลดา เจะยอ ครู กศน.ตําบล คบ.
49 พนักงานราชการ นางสาวรอปอ ะห กานงุ มิง ครู กศน.ตาํ บล คบ.
50 พนักงานราชการ นางสาวพาตเี รา ะ ซดี ีดี ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
51 พนักงานราชการ นายนาซอรี เต็ง ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
52 พนักงานราชการ นางซวุ ยั นี หะยมี ะสาและ ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
53 พนักงานราชการ นางสาวอาซลี า กนู า ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
ครู อาสา ฯปอเนาะ
ครู อาสา ฯปอเนาะ หนา ๖

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗

ลาํ ดับท่ี ประเภทบุคคลากร ช่ือ – สกลุ รายละเอียด การศกึ ษา
54 พนักงานราชการ นายอบั ดุลเลาะ มะแม ตาํ แหนง ศศ.บ
55 พนกั งานราชการ นางสาวซุลวานยี  เจะ อุบง คบ.
56 พนกั งานราชการ นางสาวอามีเนา ะ บินยูโซะ ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
57 พนกั งานราชการ นางสาวซารูนี อซี อ ครู อาสา ฯปอเนาะ วท.บ
58 พนกั งานราชการ นายอสิ มะแอ โตะ เจะ ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
59 พนักงานราชการ นางสาวรุซนี เจะอาแว ครู อาสา ฯปอเนาะ วท.บ
60 พนักงานราชการ นางสาวคอลเี ยาะ วานิ ครู อาสา ฯปอเนาะ วท.บ
61 พนกั งานราชการ นางนูรยี ะ สะรเี ดะ ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
62 พนกั งานราชการ นายอนัส แวหะยี ครู อาสา ฯปอเนาะ ศษ.บ
63 พนกั งานราชการ นางอาแอเซาะห มะบากอ ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
64 พนักงานราชการ นางสาวฮีดาหยะ แวอาลี ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
65 พนกั งานราชการ นางสาวฮอดยี ะ เสน็ กอหนํา ครู อาสา ฯปอเนาะ บธ.บ
66 พนกั งานราชการ นางสาวสาตรี อห ประดอเฮง ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
67 พนักงานราชการ นางสาวยารอนะ ลาเตะ พนกั งานราชการ ศศ.บ
68 พนักงานราชการ นางชตุ ิมา ดามูซอ ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
69 พนกั งานราชการ นายมูฮําหมัดรอฎยี  วาเยะ ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
70 พนกั งานราชการ นางสาวซารปี ะห นามายงั ครู อาสา ฯปอเนาะ บธ.บ
71 พนักงานราชการ นางสาวนนิ าก แวดอเลาะ ครู อาสา ฯปอเนาะ ศษ.บ
72 พนักงานราชการ นางสาวนุรมา ดอื ราแม ครู อาสา ฯปอเนาะ วท.บ
73 พนักงานราชการ นางสาวคอลีเยาะ สาและ ครู อาสา ฯปอเนาะ คบ.
74 พนกั งานราชการ นางสาวอานซี า อิสมิง ครู อาสา ฯปอเนาะ บธ.บ
75 พนักงานราชการ นางสาวนรู ีซัน สาเมาะ ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
76 พนักงานราชการ นางสาวอษั มะ อาลี ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
๗7 อตั ราจาง นางสาวอามเี นา ะ ประดู ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.บ
๗8 อัตราจา ง นางสาวฟารีดา เดะแอ ครู อาสา ฯปอเนาะ ศศ.ม
ครูสอนคนพิการ
เจา หนา ที่

ทรัพยากรและสิง่ อํานวยความสะดวกในการจดั การศกึ ษา

อาคารสถานที่
อาคารสํานักงานของ กศน.อําเภอยะรังอยูเปนอาคาร ๒ ชั้น ช้ันท่ี ๑ เปนหองสมุดประชาชนอําเภอยะรัง
ชนั้ ที่ ๒ สํานักงานและเช่ือมตอกันกับอาคาร oocc และอาคารการศึกษาข้ันพื้นฐานเปนอาคารที่ตอเติมข้ึนมีลักษณะ
เปน อาคารช้ันเดยี ว
สาธารณูปโภคและสงิ่ อํานวยความสะดวก
กศน.อาํ เภอยะรัง มีระบบสาธารณูปโภค ทงั้ ไฟฟา ประปา ระบบอนิ เตอรเนต็ และมวี สั ดุ ครุภัณฑท างการ
ศึกษาท่ชี ว ยอาํ นวยความสะดวกในการจดั การศึกษาสําหรบั บุคลากรอยา งเพยี งพอ อยูบนพน้ื ฐานของความพอเพยี ง

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๗

แหลง เรียนรแู ละภาคีเครอื ขา ย

แหลงเรียนรู
ชอื่ กศน.ตําบล ที่ตง้ั ผูรบั ผิดชอบ
น.ส.สาวติ รี มะยิ
กศน.ตําบลยะรัง หมทู ่ี 5 ตําบลยะรัง อาํ เภอยะรงั จงั หวัดปต ตานี

กศน.ตําบลปตูมดุ ี หมูที่ 4 ตาํ บลปตูมดุ ี อําเภอยะรัง จังหวดั ปต ตานี นายอับดลุ เลาะ วาเลง็

กศน.ตาํ บลระแวง หมทู ี่ 4 ตําบลระแวง อาํ เภอยะรัง จงั หวัดปตตานี นายอุสมาน สาหะ

กศน.ตําบลวัด หมทู ่ี 3 ตําบลวดั อําเภอยะรัง จงั หวดั ปตตานี นางลแี น โตะ แวมะ

กศน.ตําบลกระโด หมทู ่ี 2 ตําบลกระโด อําเภอยะรงั จงั หวดั ปต ตานี น.ส.สกุ ญั ญา มยุรภานนท

กศน.ตาํ บลคลองใหม หมูท่ี 5 ตําบลคลองใหม อําเภอยะรงั จังหวดั ปตตานี นายสุกรี ดอเลาะ

กศน.ตําบลกอลํา หมทู ี่ 3 ตาํ บลกอลํา อําเภอยะรงั จงั หวดั ปต ตานี นางมนุ า สะนิ

กศน.ตาํ บลเขาตูม หมูท่ี 7 ตําบลเขาตมู อําเภอยะรัง จังหวดั ปตตานี น.ส.แวซูไฮณี จะปะกิยา

กศน.ตาํ บลประจนั หมทู ่ี 7 ตําบลประจัน อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี นายมะแอ ดามิ

กศน.ตําบลสะนอ หมทู ี่ 4 ตําบลสะนอ อาํ เภอยะรัง จงั หวัดปต ตานี น.ส.ฟาตีเมาะ เจะ เละ

กศน.ตาํ บลเมาะมาวี หมูท่ี 1 ตําบลเมาะมาวี อําเภอยะรัง จงั หวดั ปต ตานี นางตวนแย ซา

กศน.ตําบลสะดาวา หมูที่ 1 ตําบลสะดาวา อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี นายอาฟฟาน เจะ อุบง

รวมจาํ นวน 12 แหง

บานหนงั สอื ชุมชน

ท่ี บา นหนงั สือชุมชน ดาน ทอ่ี ยู / เบอรโทรศพั ท ผูรับผิดชอบ
1. บานตน ทุเรียน สง เสริมการอา น/ 101 ม.6 ต.ยะรัง นางสาวมาเรียม วาแวนิ
2. บา นกอตอระนอ การเรยี นรู 087-9983272 นายอับดุลเลาะ หะยมี ะ
3. บานเกาะหวาย สง เสรมิ การอาน/ 204/1 ม.1 ต.คลองใหม นายประสิทธ์ิ มณีประวตั ิ
4. บานโสรง การเรียนรู 089-8697250 นางซากยี ะ แลเมาะ
5. บานระแวง สง เสรมิ การอา น/ 43/5 ม.3 ต.วดั นายอสิ มาแอ นาวานิ
6. บานกอลํา การเรียนรู 087-2855772 นายอารี เจะ
สง เสริมการอาน/ 102/2 ม.3 ต.เขาตูม
การเรียนรู 093-6709092 หนา ๘
สงเสริมการอาน/ 15/2 ม.6 ต.ระแวง
การเรยี นรู 089-8697548
สง เสริมการอา น/ 65 ม.1 ต.กอลาํ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗

ที่ บานหนงั สอื ชุมชน ดา น ทอ่ี ยู / เบอรโทรศพั ท ผูร ับผดิ ชอบ
7. บา นสะนอ การเรียนรู 093-7462625 นางปส ยะห ยานยา
8. บา นชามู สงเสรมิ การอาน/ 60/1 ม.1 ต.สะนอ นายรอมลี คาเร็ง
9. บา นบราโอ การเรียนรู 086-2994587 นางสลามียะห สาและ
10. บานกระโด สงเสริมการอา น/ 51/3 ม.1 ต.ปต ูมุดี นางสาวซารีนา มะเละแซม
11. บา นลือเมาะ การเรยี นรู 064-1502075 นายแวดิง ยูโซะ
12. บา นตน มะขาม สง เสรมิ การอา น/ 1 ม.1 ต.ประจนั นางทัศนีย กลาแต
การเรยี นรู 062-2166290
สง เสรมิ การอา น/ 38 ม.1 ต.กระโด
การเรียนรู 089-5986595
สงเสรมิ การอาน/ 23 ม.1 ๖สะดาวา
การเรยี นรู 081-0952348
สงเสรมิ การอาน/ 75 ม.1 ต.เมาะมาวี
การเรยี นรู 087-2855772

แหลงเรียนรูสถาบนั ศึกษาปอเนาะ

ชื่อแหลงเรยี นรู ประเภทแหลง ที่ตงั้
เรียนรู
1. มมุ เรียนรโู รงเรียนเจริญศาสน
2. มมุ เรยี นรมู ดั รอซะหอ สั กนั ดรั วิทยา สงเสรมิ การอา น บานโตะ กาลี ม.2 ต. คลองใหม
3. มมุ เรยี นรมู ะอฮัดญามอี ุลฮุฟฟาซ
4. มุมเรยี นรูสะนอดารุสสลาม สง เสริมการอาน บา นบาโงตา 62/2 ม.2 ต.ปตมุ ดุ ี
5. มมุ เรียนรอู าซาซดุ ดีน ฆูนิง
6. มุมเรยี นรนู ฮั ฏอตลุ อุลูมิดดีนยี ะห สง เสรมิ การอา น บานระแวง 13 ม.6 ต. ระแวง
7. มุมเรยี นรูมัดราซอหด ารุลฮาดิส
8. มมุ เรียนรอู ัตตัรกยี ะหอ ดั ดีนยี ะห สงเสริมการอาน บา นสะนอ 77/2 ม.1 ต. สะนอ
9. มุมเรยี นรรู ศั มีภกั ดี
10. มุมเรยี นรอู ิฮยาอลิ อูลมู ดิ ดนี ยี ะห สงเสรมิ การอา น บานจาเราะบองอ 51/2 ม.5 ต. เขาตมู
11. มุมเรียนรนู รู ุลเอ๊ยี หซานวิทยา
12. มมุ เรยี นรดู ารลู อามาน บลกู าตวู อ สง เสรมิ การอา น บานอาโห ม.5 ต.สะดาวา
13. มุมเรียนรูโรงเรยี นศูนยศึกษาศาสนว ทิ ยา15(2) สง เสรมิ การอาน บานจอื งาบูลู 83/3 ม.3 ต.วัด
สงเสริมการอาน บา นพงกวู า 20 ม.5 ต. ระแวง
สงเสริมการอา น บา นกแู บปาเซ ม.4 ต.วัด

สงเสรมิ การอา น บา นยอมานสิ ม.3 ต.สะนอ

สง เสริมการอาน บานเมาะมาวี 195/2 ม.3 ต.เมาะมาวี

สงเสรมิ การอาน บานเมาะมาวี 237 ม.4 ต.เมาะมาวี

สงเสรมิ การอา น บา นจาเราะบองอ ม.5 ต.เขาตมู

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๙

ชื่อแหลงเรยี นรู ประเภทแหลง ที่ต้งั
14. มุมเรียนรูมุมเรียนรบู อื แนวทิ ยา เรียนรู

สงเสรมิ การอาน บานสะตาร 72/4 ม.3 ต.กอลํา

15. ศรทั ธาธรรมวิทยา สง เสรมิ การอาน บา นสิเดะสะบารัง ม.2 ต.สะดาวา

16. มมุ เรยี นรอู ลั อีมานยี ะห สงเสริมการอา น บา นกอตอโตะ เละ ม.2 ต.กระโด

17. มุมเรียนรูว ะหด าตุลอสิ ลามยี ะห สงเสริมการอาน บานชามู 91/1 ม.1 ต.ปตมู ุดี
(ดาโตะ ซยี ง) สง เสริมการอา น บา นเมาะมาวี 48/3 ม.3 ต.เมาะมาวี
สง เสริมการอาน บานแนปแน ม.7 ต. ประจัน
18. มมุ เรียนรอู ะหมาดยี ะห
(กแู บซาเลม็ )

19. มมุ เรยี นรวู ฒั นาวทิ ยา

20. มุมเรียนรนู รู ุลฮูดา สงเสรมิ การอา น บานพงกวู า ม.4 ต.ยะรัง

21. อลั -อะหม าดียะห สง เสริมการอา น บา นพงกวู า 64/5 ม.5 ต.ยะรงั

22. มมุ เรียนรมู ดั ราซะห สง เสริมการอา น บา นตนมะขาม 73/1 ม.3 ต.เมาะมาวี
อัลมะมาวียะหอัดดนี ยี ะห สงเสรมิ การอาน บา นจาแบปะ 108/4 ม.4 ต. ระแวง
23. มุมเรียนรูนูรุลฮดี ายะห จาแบปะ

24. มมุ เรยี นรูมดั ราซาหอ ัตตัรบียา สง เสริมการอา น บานโสรง 59/4 ม.3 ต.เขาตูม
อัดดนี ียาห สง เสริมการอา น บานวัดลโุ บะ 76/1 ม.1 ต.วดั
25. มุมเรียนรูดารุลตักลิม

26. มุมเรียนรูโรงเรียนภักดีศาสนา สง เสริมการอา น บานมาปะ 12/2 ม.3 ต.ระแวง

27. มมุ เรียนรมู ดั ราซะหอสั ซารีฟะ ลิลตาฟร อัล-กรอุ าน สง เสริมการอา น บา นปอซนั 21/1 ม.5 ต.ปต มู ุดี

28. มมุ เรียนรูอลั อหั มาดียะห สงเสรมิ การอาน บา นชามู ม.1 ต.ปต ูมุดี

29. มุมเรยี นรูดารุสสลามอลั ฟาตอนี สงเสรมิ การอาน บา นดารุสสาลาม ม.6 ต.เมาะมาวี

30. มุมเรียนรูดารุลอมี านบือแนบองอ สงเสริมการอาน บา นตรอซัน 109/4 ม.5 ต.ยะรัง

31. มุมเรยี นรกู ีรออาตลี กุรอาน สงเสรมิ การอา น บา นแนกลแู ป ม.2 ต.สะนอ
วัตตะลีม สง เสรมิ การอาน บานประจนั 32 ม.2 ต. ประจนั
32. มมุ เรียนรูดารลุ อูลูมประจัน

33. มุมเรียนรูมรั กาซลูเฆาะอัลกรอุ าน สง เสรมิ การอา น บานพงสตา ม.5 ต. ยะรัง

34. มมุ เรยี นรูมดั รอซะนะหฏอตลุ ดนี ยี ะหฯ สงเสรมิ การอา น บา นฆนู ิง ม.1 ต. ประจนั

35. มมุ เรยี นรูเจรญิ ศาสนวิทยา สงเสรมิ การอาน บานตนมะขาม 156/1 ม.4 ต.เมาะมา
วี

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๐

ชื่อแหลงเรยี นรู ประเภทแหลง ทีต่ ้งั
36. มุมเรียนรอู ัรเราะหม านี เรยี นรู

สงเสรมิ การอาน บานคางา 55 ม.4 ต.สะนอ

37. มมุ เรยี นรเู จริญศาสนวิทยา สง เสรมิ การอาน บานจาแบปะ 38/5 ต.ระแวง

38. มุมเรยี นรูมดั รอซะห สงเสรมิ การอาน บานโสรง 101 ม.3 ต.เขาตมู
อัตตัรบียาตุซซรั อียะห สง เสรมิ การอา น บา นบาโงยาฮา 1/3 ม.4 ต.เขาตูม
39. นะหดอตลุ ฮูดา

40. อากออดี ีนยี ะห สง เสรมิ การอา น บา นโสรง 39/3 ม.3 ต.เขาตมู

41. มดั รอซะหน ะหฎ อตลุ ดีนียะห สงเสรมิ การอาน บานโคกขเี้ หล็ก 15 ม.6 ต.เขาตมู

42. อสิ ลามศกึ ษา สง เสรมิ การอาน บา นมาปะ 12/1 ม.3 ต.ระแวง

43. เอกภาพศาสนวทิ ยา สงเสริมการอา น บานกแู บปาเซ 1/1 ม4 ต.วัด

44. ตะหฟ ซ อุมมุลกูรอ สงเสรมิ การอา น บา นบือแนปแน 36 ม.7 ต.ประจนั

45. มดั รอซะหต ะฟซซลุ กุรอานวาอลู ฯู สง เสริมการอา น บานคางา 24 ม.4 ต. สะนอ

46. ฮาฟซกุรอานนุลการีนยนั นาตุลฯ สง เสริมการอาน บา นโฉลง 135/2 ม.2 ต.คลองใหม

47. มัดฮัดตัดรีซีลกุรอาน สงเสริมการอาน บานคลองใหม 12/1 ม.6 ต.คลองใหม

48. สะตาดารุลอิสละห สง เสรมิ การอา น บานละหารยามู ม.2 ต.กอลํา

รวมจํานวน 48 แหง

แหลงเรียนรู OOCC กศน.อาํ เภอยะรัง

ชือ่ -สกุล ชือ่ สนิ คา ที่อยู
นายอับดลุ เลาะ ปตู ะ สมโอ พนั ธุทบั ทิมสยาม 20 /1 ม.8 ตาํ บลสะดาวา อาํ เภอยะรงั จังหวดั ปต ตานี

นายอิสมาแอ เจะแว ขิงผงสําเร็จรปู 44 ม.1 ตําบลประจนั อําเภอยะรัง จังหวัดปต ตานี

นางอาแอเสาะ กาเกาะ เคกกลว ยหอม ขนมบานซตี ี 19 ม.4 ตําบลสะนอ อําเภอยะรงั จังหวดั ปต ตานี

นางสาวมาซีเตาะ แวยแี ต ขนมเจาะหู / ขนมไข 32 ม.1 ตาํ บลยะรัง อาํ เภอยะรงั จังหวัดปตตานี

นางอุบลรตั น สที องแกว ไขนกกระทา 120 ม.5 ตาํ บลคลองใหม อําเภอยะรัง จงั หวัดปต ตานี

นายโมฮํามดั รอสดี มะมงิ นาํ้ ลกู หยี 35/2 ม.5 ตาํ บลระแวง อําเภอยะรัง จังหวดั ปต ตานี

นายสายตู ี มาหะ สละลอยแกว /สละกวน 46/6 ม.2 ตําบลปตมู ุดี อําเภอยะรัง จงั หวัดปต ตานี

นายอบิ รอเฮง จิใจ ผกั ปลอดสารพิษ 49 ม.2 ตาํ บลกระโด อําเภอยะรัง จังหวดั ปต ตานี

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๑

ชอื่ -สกุล ชอ่ื สินคา ท่ีอยู
นางสาวนรู ยี ะห สะเตาะ กาแฟโบราณ 149/1 ม.5 ตาํ บลวัด อําเภอยะรงั จังหวัดปตตานี

นางสาวมารียะห ลาเตะ ผาละหมาดและจกั รสาน 157/1 ม.4 ตาํ บลเมาะมาวี อําเภอยะรงั จงั หวดั ปต ตานี

นายอารี เจะ เห็ดนางฟา /กอ นเชื้อเห็ด 50 ม.1 ตําบลกอลํา อาํ เภอยะรัง จังหวัดปตตานี

นางสาวแวไซนะ จารง ชาขา บเู กะดาตู 59 ม.2 ตําบลเขาตูมอําเภอยะรงั จงั หวัดปตตานี

ภาคีเครือขาย

ชือ่ -สกลุ ชือ่ สนิ คา ทอี่ ยู
นายอบั ดุลเลาะ ปตู ะ สมโอ พนั ธทุ ับทิมสยาม 20 /1 ม.8 ตําบลสะดาวา อาํ เภอยะรัง จังหวดั ปตตานี

นายอิสมาแอ เจะแว ขิงผงสาํ เร็จรปู 44 ม.1 ตําบลประจัน อาํ เภอยะรัง จังหวดั ปต ตานี

นางอาแอเสาะ กาเกาะ เคก กลวยหอม ขนมบานซีตี 19 ม.4 ตาํ บลสะนอ อําเภอยะรงั จงั หวัดปตตานี

นางสาวมาซเี ตาะ แวยีแต ขนมเจาะหู / ขนมไข 32 ม.1 ตาํ บลยะรงั อําเภอยะรัง จงั หวดั ปตตานี
ไขนกกระทา 120 ม.5 ตาํ บลคลองใหม อําเภอยะรัง จงั หวดั ปต ตานี
นางอุบลรัตน สีทองแกว นํ้าลกู หยี 35/2 ม.5 ตําบลระแวง อาํ เภอยะรัง จงั หวัดปตตานี
สละลอยแกว /สละกวน 46/6 ม.2 ตําบลปตมู ุดี อําเภอยะรัง จงั หวดั ปต ตานี
นายโมฮํามดั รอสดี มะมงิ ผกั ปลอดสารพิษ 49 ม.2 ตําบลกระโด อาํ เภอยะรัง จงั หวดั ปต ตานี
กาแฟโบราณ 149/1 ม.5 ตาํ บลวดั อําเภอยะรงั จงั หวดั ปตตานี
นายสายตู ี มาหะ ผาละหมาดและจักรสาน 157/1 ม.4 ตาํ บลเมาะมาวี อําเภอยะรัง จงั หวดั ปต ตานี
เห็ดนางฟา/กอนเช้ือเห็ด 50 ม.1 ตําบลกอลาํ อาํ เภอยะรงั จังหวดั ปต ตานี
นายอบิ รอเฮง จิใจ ชาขา บูเกะดาตู 59 ม.2 ตําบลเขาตูมอาํ เภอยะรงั จังหวัดปตตานี

นางสาวนรู ียะห สะเตาะ

นางสาวมารียะห ลาเตะ

นายอารี เจะ

นางสาวแวไซนะ จารง

ภาคีเครือขาย

ภาคีเครือขาย ดาน ทอี่ ยู เบอรโทรศัพท
(กลมุ องคกร และหนวยงาน) การศึกษาตอเนือ่ ง หมูที่ 3 ตําบลยะรงั อําเภอยะรงั 073-439221
สํานักงานพฒั นาชมุ ชนอําเภอยะรงั
สํานักงานการศกึ ษาเอกชนอําเภอ จังหวัดปต ตานี 082-8200066
ยะรัง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หมูท ี่ 3 ตาํ บลยะรัง อําเภอยะรัง

จังหวัดปตตานี

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๒

ภาคีเครือขา ย ดา น ทอี่ ยู เบอรโทรศัพท
(กลมุ องคก ร และหนว ยงาน) ภาคีเครือขาย หมทู ่ี 3 ตําบลยะรงั อําเภอยะรงั 073-439045
สหกรณการเกษตรยะรัง ภาคเี ครอื ขา ย จังหวัดปต ตานี 073-311454
ภาคีเครอื ขา ย หมทู ่ี 3 ตาํ บลยะรัง อาํ เภอยะรัง 073-439945
ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ การศึกษาตอเน่ือง จังหวดั ปต ตานี 073-335913
การเกษตร สาขายะรัง การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมูท่ี 1 ตาํ บลปตูมุดี อาํ เภอยะรงั 073-439065
ฉก.ปต ตานี 2013 การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน จงั หวดั ปตตานี 073-439066
ศูนยฝ กวิชาชพี วทิ ยาลัยเทคนิค การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน หมทู ี่ 1 ตาํ บลยะรัง อําเภอยะรงั 073-439301
ปตตานี การศึกษาขน้ั พื้นฐาน จังหวดั ปตตานี 073-483470
โรงเรียนอนบุ าลยะรัง การศกึ ษานอกระบบ หมทู ่ี 4 ตาํ บลยะรงั อาํ เภอยะรัง 073-468826
โรงเรียนบา นบาซาเอ ภาคีเครือขา ย จังหวัดปตตานี 073-352215
โรงเรียนประตูโพธว์ิ ิทยา การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน หมูที่ 3 ตาํ บลปตูมดุ ี อําเภอยะรัง 073-439947
การศึกษาตาม จงั หวัดปต ตานี 073-439038
โรงเรียนบา นปรกี ี หมทู ่ี 1 ตาํ บลปตมู ดุ ี อาํ เภอยะรงั 073-439111
ศูนยพ ฒั นาและวิจัยประมงนาํ้ จดื อธั ยาศัย จังหวดั ปตตานี 073-052221
ปต ตานี ภาคีเครือขา ย หมูท ี่ 3 ตาํ บลกระโด อาํ เภอยะรงั 073-439429
องคการบรหิ ารสวนตําบลระแวง ภาคีเครอื ขา ย จังหวัดปตตานี
โรงเรยี นบา นตน แซะ ภาคีเครือขา ย หมูที่ 4 ตําบลปตมู ุดี อําเภอยะรงั
จงั หวดั ปตตานี
เทศบาลตําบลยะรัง หมูที่ 3 ตาํ บลยะรัง อําเภอยะรงั
จังหวดั ปต ตานี
องคก ารบรหิ ารสว นตําบลยะรงั หมทู ่ี 3 ตาํ บลเมาะมาวี อาํ เภอยะรัง
จังหวดั ปตตานี
องคการบริหารสว นตาํ บลปตูมุดี หมูท ่ี 4 ตาํ บลยะรงั อาํ เภอยะรงั
องคก ารบริหารสวนตําบลสะนอ จงั หวัดปตตานี
หมูที่ 3 ตําบลยะรงั อาํ เภอยะรงั
จงั หวัดปตตานี
หมทู ี่ 5 ตาํ บลปตมู ุดี อาํ เภอยะรงั
จงั หวัดปตตานี
หมูท ่ี 3 ตาํ บลยะรงั อําเภอยะรงั
จังหวดั ปตตานี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๓

ภาคีเครอื ขา ย ดาน ที่อยู เบอรโ ทรศัพท
(กลมุ องคกร และหนวยงาน) ภาคีเครือขา ย หมทู ่ี 1 ตาํ บลวัด อําเภอยะรงั 073-472250
องคการบรหิ ารสว นตําบลวัด ภาคีเครอื ขาย จงั หวัดปตตานี 073-418072
ภาคเี ครอื ขาย หมทู ่ี 1 ตาํ บลเขาตมู อําเภอยะรงั 073-330908
องคการบรหิ ารสวนตําบลเขาตูม ภาคเี ครอื ขา ย จังหวัดปตตานี 073-461726
หมทู ี่ 3 ตําบลกอลาํ อาํ เภอมายอ
องคการบรหิ ารสว นตาํ บลกอลํา การศกึ ษาตอเนอ่ื ง จงั หวดั ปตตานี 073-434231
การศึกษาตอเนื่อง หมูท่ี 4 ตาํ บลสะดาวา 073-468336
องคก ารบริหารสวนตําบลสะดาวา การศึกษาตอเนอ่ื ง อาํ เภอยะรัง จงั หวัดปตตานี 073-483462
การศึกษาตอเนื่อง หมทู ี่ 1 ตําบลประจัน อําเภอยะรัง 073-468836
โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพชมุ ชน จังหวดั ปตตานี
ตาํ บลประจนั หมทู ี่ 3 ตําบลคลองใหม อาํ เภอยะรัง
โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพชุมชน จังหวดั ปตตานี
ตําบลคลองใหม หมูท ่ี 2 ตําบลกระโด อําเภอยะรงั
โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพชมุ ชน จังหวดั ปต ตานี
ตําบลกระโด หมทู ่ี 4 ตําบลเมาะมาวี อาํ เภอยะรงั
โรงพยาบาลสง เสริมสขุ ภาพชมุ ชน จงั หวดั ปต ตานี
ตําบลเมาะมาวี

ภูมิปญญาทองถิน่

บคุ คล (ปราชญช าวบา น ภูมิ ความรู ที่อยู เบอรโ ทรศัพท
ปญญา ผูนาํ ) ความสามารถ
นางสาวอานี ชเู มอื ง การทําผา บาติก 125/11 หมู 3 ต.เขาตมู อ.ยะรงั จ.ปต ตานี 089-9787940
นายอับดุลรอซะ สามะแซ ชา งตเี หลก็ 60 หมู 5 ต.ยะรงั อ.ยะรัง จ.ปต ตานี 080-8751945
นายมะกอเซ็ง อปี ง หมอพ้นื ฐาน 87 หมู 2 ต.วัด อ.ยะรัง จ.ปต ตานี 089-2999601
นายโมฮาํ มดั รอสดี มะมงิ เกษตรเชิงทองเท่ยี ว 35/2 หมู 5 ต.ระแวง อ.ยะรัง จ.ปต ตานี 089-8763380
นางสาวรอตีปะ มะหะหมัด การทําโรตกี รอบ 40/4 หมู 3 ต.กอลํา อ.ยะรงั จ.ปตตานี 080-8750686
นายตอเละ บอเนาะ การทําไซดักปลา 134 หมู 5 ต.คลองใหม อ.ยะรงั จ.ปต ตานี 087-2871869
นางรอมละ สะมะแอ นวดแผนไทย 71 หมู 4 ต.ปต ูมดุ ี อ.ยะรงั จ.ปตตานี 093-6393718
นางสาวแวแยนะ ซือนิ เกษตร 57 หมู 2 ต.ระแวง อ.ยะรงั จ.ปต ตานี 086-2873834
นางลัดดา บูกา นวดแผนโบราณ 252/1 หมู 4 ต.เมาะมาวี อ.ยะรัง จ.ปตตานี 093-6598560
นายการียา หะยตี าเยะ ชางกลงึ ไม 3 หมู 2 ต.ประจนั อ.ยะรัง จ.ปตตานี 093-7249691
นางคอรเี ยาะ ซากา การทาํ ลกู หยี 34/2 หมู 6 ต.สะดาวา อ.ยะรงั จ.ปตตานี 081-9692984

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๔

บคุ คล (ปราชญช าวบา น ภมู ิ ความรู ทอี่ ยู เบอรโ ทรศพั ท
ปญญา ผนู ํา) ความสามารถ 27 หมู 3 ต.กระโด อ.ยะรงั จ.ปต ตานี 080-7046160
การทําทีน่ อน
นายอบสั มามะ
เบาะนุน

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๕

ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอยะรัง โดยผบู รหิ ารสถานศึกษา พรอ มดวย
บุคลากรของ กศน.อําเภอยะรัง ไดรวมกันวิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการ
กําหนดจุดแข็งและจุดออนจากสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจาก
สภาพแวดลอมภายนอกสถานศึกษา เพ่ือใหรูจักตนเอง รูจักสภาพแวดลอมชัดเจน และวิเคราะหโอกาส
อุปสรรค การวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ท้ังภายนอกและภายในสถานศึกษานั้น จะชวยใหผูบริหารสถานศึกษา
ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทั้งสิ่งที่เกิดข้ึนแลว และแนวโนมการเปล่ียนแปลงในอนาคต รวมท้ังผลกระทบของ
การเปลี่ยนแปลงท่ีมีตอสถานศึกษา อันเปนปจจัยตอการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือนําผลไปใชในการ
กําหนดทิศทางการดําเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งไดผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพของ
สถานศกึ ษา มีรายละเอยี ดดงั น้ี

ทีม่ าภาพ: https://www.thinkaboutwealth.com/swot-swot-analysis/

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๖

จุดแขง็ (สภาพแวดลอ มภายใน)

๑. ดา นสถานที่
๑.๑ กศน.อําเภอยะรัง ต้ังอยูในบริเวณพ้ืนที่ศูนยราชการอําเภอยะรัง ทําใหสะดวกในการติดตอ
ประสานงาน และสะดวกตอ การคมนาคม มีความสะอาดรมร่ืน และมคี วามพรอมตอ การใหบรกิ าร
๑.๒ กศน.อาํ เภอยะรัง มกี ารจัดตงั้ กศน.ตาํ บลครบทกุ พื้นทีแ่ ละมีท่ที ําการ กศน.ตาํ บล
๑.๓ กศน.ตําบล มกี ารพัฒนาเพ่อื ขับเคลือ่ นภารกจิ ๔ ศูนยอยางตอเน่อื ง
๑.๔ กศน.ตําบล มีการพัฒนาเพื่อขบั เคล่ือนนโยบาย ๕ ดี พร่ีเมยี ม
๒. ดา นบุคลากร
๒.๑ สถานศึกษามีครู กศน.ปฏิบัติหนาท่ีจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยครบ
ทุกตาํ บล
๒.๒ บุคลากรมีสมรรถนะและมีประสบการณในการทํางาน มีความรู ความสามารถในการ
ปฏิบตั งิ าน การประสานงานกับภาคเี ครือขายไดอ ยางเขมแข็ง
๒.๓ ครูสว นมากไดรับใบประกอบวชิ าชพี ครตู ามระเบียบของทางราชการ
๒.๔ ครแู ละบุคลากรมมี นษุ ยสัมพนั ธดี
๒.๕ ครูและบุคลากรมคี วามสามัคคี
๒.๖ บคุ ลากรไดร ับการพฒั นาความรอู ยา งตอเนอื่ ง
๒.๗ บุคลากรสามารถนาํ ความรมู าพฒั นางานไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
๓. ดา นผบู รหิ ารและการบรหิ ารจดั การ
๓.๑ สถานศึกษามีบคุ ลากรเปนไปตามโครงสรางอตั รากําลงั ของสถานศกึ ษาครบทกุ ตําแหนง
๓.๒ สถานศกึ ษามีการกําหนดนโยบายและแผนงานครอบคลมุ ทุกกจิ กรรม มกี ารจัดการศกึ ษาครบ
ทกุ กลมุ เปาหมายตรงตามความตองการและสอดคลองนโยบายการจัดการศึกษา
๓.๓ ผูบริหารมีความรู ความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษา มีการวางแผนติดตาม มี
การนิเทศติดตามงานโดยแบงตามเขตพ้ืนที่ปฏิบัติงาน เปน ๔ โซน (โซน M2K วากัฟ วังลังกาสุกะ
community work) โดยเนนการนิเทศแบบมีสวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษา และกํากับติดตามการ
ปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรเพอ่ื ใหเปนไปตามวงจรเดมมิ่ง (PDCA) ดวยความเสมอภาค
๓.๔ ผูบริหารมีความสามารถในการนําสถานศึกษาสูเปาหมายการดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ
๓.๕ ผูบริหารมีความสามารถในการสอ่ื สารทด่ี ี
๓.๖ ผบู รหิ ารมีความมงุ ม่ันในการพฒั นาตนเองและสนบั สนนุ การพฒั นาบคุ ลากรในดานตา ง ๆ
๓.๗ ผบู ริหารมีการทาํ งานอยางเปนระบบ มวี ิสัยทศั น ตามหลกั ธรรมมาภบิ าล
๓.๘ สถานศกึ ษาจดั การศึกษาโดยยึดหลักการประกันคุณภาพการศึกษา
๔. ดานเครือขา ยการจดั กิจกรรม
๔.๑ สถานศึกษามีการทําบันทึกขอตกลงรวมกับภาคีเครือขา ย (MOU) เชน สถาบนั ศึกษาปอเนาะ
แหลงเรียนรูต ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แหลงเรยี นรศู นู ยส งเสรมิ ประชาธิปไตย บา นหนังสอื ชุมชน
เปนตน
๔.๒ สถานศึกษา ไดรับการสนับสนุนจากภาคีเครือขายในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยแบบพนั ธมติ ร

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๗

๔.๓ สถานศึกษามีการกระจายโอกาสใหกับภาคีเครือขายมีสวนรวมการจัดการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั

๔.๔ คณะกรรมสถานศึกษาและองคก รนกั ศกึ ษามีความเขม แข็งในการจัดการศกึ ษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย

๕. ดา นสอ่ื การเรยี นรู แหลงเรียนรู และภมู ิปญ ญาทองถ่ิน
๕.๑ สถานศึกษามีแหลงเรียนรูท่ีสามารถเปนตนแบบ และสามารถศึกษาดูงานได ครอบคลุมทุก

ตําบล
๕.๒ สถานศึกษามีสื่อการสอนที่หลายหลายและทันสมัย มีการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอยาง

ตอ เนือ่ ง เชน ETV สัญญาณอนิ เตอรเน็ต แบบเรยี น เปน ตน
๕.๓ สถานศกึ ษามจี าํ นวนสือ่ แบบเรียนท่พี อเพียงในการจดั การศึกษาข้นั พื้นฐาน
๕.๔ สถานศึกษามีการรวบรวมขอมลู และประกาศจัดต้ังแหลง เรียนรูและภูมปิ ญญาทองถิ่นครบทุก

ตาํ บลและพรอ มใหบริการ
๕.๔ สถานศึกษามีการจัดต้ังบานหนังสือชุมชนและมุมหนังสือเพื่อชุมชนไวเปนแหลงศึกษาหา

ความรูครบทกุ ตําบลและมีการพฒั นาและการจดั กจิ กรรมอยางตอเนื่อง
๖. ดา นผูร ับบริการ
๖.๑ ผูรบั บริการใหความรวมมือในการเขารว มกิจกรรมตา งๆ อยา งตอเนอื่ ง
๖.๒ ผรู ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมเปนไปตามเกณฑท ่ีสถานศึกษากาํ หนด
๖.๓ ผูรับบรกิ ารนาํ ความรูไ ปใชใ นการดาํ เนินชวี ติ
๖.๔ สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมครอบคลุมทกุ กลมุ เปา หมาย
๖.๕ สถานประกอบการ สว นราชการ ใหการยอมรบั ในคุณภาพการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา
๖.๖ สถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมเพ่ือยกระดบั คุณภาพชีวิตอยา งหลากหลายตามความตองการ
๖.๗ ผูรับบริการมีสวนรวมในการกําหนดโครงการ/หลักสูตรการจัดการศึกษานอกระบบและการ

จัดการศึกษาตามอธั ยาศยั จากทกุ ตําบล

จุดออน (สภาพแวดลอมภายใน)

๑. ดานสถานทีแ่ ละครุภณั ฑสาํ นักงาน
๑.๑ กศน.ตาํ บล บางตาํ บลไมเ ปนเอกเทศ
๑.๒ กศน.ตําบล บางตําบล ขาดครุภัณฑสํานักงานเพื่อใชในการปฏิบัติงาน เชน เครื่อง
คอมพวิ เตอร โปรแจ็คเตอร เครอื่ งพิมพ เคร่ืองถายเอกสาร โทรทศั น
๑.๓ ทีท่ าํ การ กศน.ตาํ บลบางแหง ชํารุด ทรุดโทรม จากภยั ธรรมชาติ
๒. ดานบคุ ลากร
๒.๑ ขาดบุคลากรท่ีมีวุฒิทางการศึกษาในรายวิชาหลัก (คณิตศาสตร, วิทยาศาสตร, ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ)
๒.๒ บุคลากรของ กศน.มีภาระงานที่หลากหลาย ทั้งงานตามบทบาทหนาท่ี และงานที่ไดรับ
มอบหมาย จงึ ทําใหป ระสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ หลกั ลดลง
๒.๓ บคุ ลากรบางคนยังไมส ามารถใชส่ือเทคโนโลยที ่ที นั สมยั ไดเตม็ ศกั ยภาพ
๒.๔ ขาดบคุ ลากรทีด่ แู ลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๘

๓. ดานผลการจดั กจิ กรรม
๓.๑ ผลการทดสอบระดับชาติดานการศึกษานอกโรงเรียน (N-Net) ในบางสาระตํ่ากวาคะแนน

เฉลย่ี ระดับประเทศ
๓.๒ หลักสูตรสถานศกึ ษาไมไ ดร ับการพฒั นาอยางตอเนื่อง
๓.๓ ผลผลิตจากหลักสูตรการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ (ศูนยฝกอาชีพชุมชน) ยังไมสามารถ

รวมกลมุ ใหเปนกลุม อาชีพทีเ่ ขมแขง็ ไดอยางยั่งยนื
๓.๔ การจัดกิจกรรมเชิงรุกของหองสมดุ ประชาชนอําเภอยะรังไมมีความตอเนอื่ ง
๓.๕ นักศึกษา กศน.บางสวน ติดภาระงานประจํา ไมส ามารถเขารวมกิจกรรมกบั สถานศึกษาอยาง

ตอ เน่อื ง
๔. ดา นสื่อการเรียนรู
๔.๑ หองสมดุ ประชาชนอําเภอยะรงั ขาดสือ่ เทคโนโลยีสําหรบั การสืบคน ขอมลู
๔.๒ ขาดอุปกรณทางวิทยาศาสตรในการจดั การเรียนการสอน
๕. ดา นการบริหารจัดการ
๕.๑ ระบบสารสนเทศยงั ไมจ ัดเปนระบบชัดเจน

โอกาส (สภาพแวดลอ มภายนอก)

๑. หนว ยงานตน สงั กดั ใหก ารสนับสนนุ และสง เสรมิ กิจกรรมตางๆ ของ กศน.อําเภอ
๒. หนว ยงานตนสังกัดมีการสง เสรมิ พัฒนาความรใู หก ับบุคลากรอยา งตอ เน่ือง
๓. หนวยงานตนสังกัดมีบุคลากรที่มีความรูความสามารถ ใหคําแนะนําในการพัฒนาบุคลากรของ
สถานศึกษาและมีการตดิ ตามผลการดําเนนิ งานอยางตอเนอ่ื ง เชน เจาหนา ทงี่ านตา งๆ เปน ตน
๔. บริบทของชุมชนประกอบไปดวยสวนราชการ โรงเรียน วัด ตลาด ชุมชน แหลงทองเท่ียว ท่ี
เอื้ออํานวยตอ การจัดกิจกรรมของ กศน.
๕. ภาคีเครือขายใหค วามสําคัญและรวมมือในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
กับสถานศกึ ษา
๖. เครือขายใหการสนับสนุนวิทยากรในการจัดกิจกรรมและสงเสริมกิจกรรมการเรียนรูในตําบล
อนเุ คราะหส ถานที่ กศน.ตาํ บล
๗. มีการติดตอประสานงานกับหนวยงานระดับอําเภอและผูนําทองถ่ินอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง
ไดรับทุนการศึกษา สภากาชาดไทยใหการสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมยุวกาชาด ชุมชนใหการ
ยอมรับ สนบั สนุน และใหความรวมมอื ในการจัดกจิ กรรม
๘. พ้ืนท่ีอําเภอยะรังมีแหลงการเรียนรู ศูนยการเรียนรู และมีภูมิปญญาทองถ่ิน ที่หลากหลาย
ครอบคลุมทุกพนื้ ที่
๙. มแี หลงทองเทยี่ วที่เปน ทร่ี จู กั อยา งกวางขวาง เชน เมอื งโบราณ
๑๐. ไดร บั การจัดสรรงบประมาณในการจัดกิจกรรมตาง ๆ อยางคมุ คา
๑๑. มีเสน ทางการคมนาคมท่สี ะดวกตอ การเดินทางและขนสง สนิ คาทางการเกษตร
๑๒. หนว ยงานภาครฐั และเอกชนในอาํ เภอยะรังใหความสําคัญของการจัดการศึกษาตลอดชีวติ
๑๓. ความเขม แข็งของเครือขา ย สง ผลใหโครงการอาชีพมีความมน่ั คงและสรา งรายไดใ หกับชุมชน

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๑๙

อปุ สรรค (สภาพแวดลอ มภายนอก)

๑. ประชาชนสวนใหญไมสามารถเขารวมกิจกรรมไดอยางตอเน่ือง เน่ืองจากพื้นที่อําเภอยะรังมีความ
หลากหลายทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และภาคธุรกิจ ทําใหมีความถ่ีในการยายถิ่นฐานของ
ประชากร นอกจากนี้ประชาชนสวนใหญ มีอาชีพหลักเปนของตนเอง เชน คาขาย เกษตรกรรม ทําใหขาด
ความสนใจในการเขารวมกจิ กรรม ไมสามารถเขารวมกิจกรรมในระยะยาวได เพราะทําใหข าดรายได

๒. จํานวนสาระวิชาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ มี
หลายวิชา ทําใหไมสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดครบถวนตามโครงสรางหลักสูตรดวยขอจํากัดดาน
เวลาในการพบกลุม สงผลใหผูเรียนไดรับการพัฒนาไมเต็มศักยภาพ อัตราการจายคาตอบแทนวิทยากรไม
เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางย่ิงหลักสูตรวิชาชีพท่ีตองใชวิทยากรท่ีมีความรูความ
เช่ยี วชาญเฉพาะดา น สงผลใหคณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนไมเ ปน ไปตามท่สี ถานศึกษาคาดหวัง

๓. การจดั สรรงบประมาณเพ่อื เปน คา วัสดุฝกหลกั สูตรการพัฒนาอาชีพจํากัดตามระเบียบไมสอดคลอง
กบั การใชฝก ทกั ษะเพื่อเตรยี มคนเขา สตู ลาดแรงงาน

๔. นโยบายของสํานักงาน กศน. มีการเปล่ียนแปลงทุกปงบประมาณทําใหกิจกรรมบางกิจกรรมขาด
ความตอเนอื่ งในการพัฒนาคุณภาพ

๕. การแพรร ะบาดของโรคระบาด มีผลตอการจัดกจิ กรรมในดานตา ง ๆ
๖. การจัดสรรงบประมาณในกิจกรรมการศึกษาตอเนื่อง ของสํานักงาน กศน.ซ่ึงจัดให ๒ คร้ังตอ
ปง บประมาณ สง ผลตอการบริหารงบประมาณและภาระงานของ กศน.ตาํ บล
๗. ขาดความเขาใจในการใชภาษาไทยในการสื่อสาร
๘. การสง เสริมสนับสนุนจากภาคีเครอื ขา ยไมต อเนื่อง
๙. การเปล่ยี นแปลงทางการเมอื ง

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๐

การใหนาํ้ หนกั จดุ แข็ง

ที่ จุดแข็ง จดุ แข็งท่มี ศี ักยภาพ รวม
สูงมาก สูง กลาง ตาํ่ ตา่ํ มาก 5
(5) (4) (3) (2) (1) 3
1 กศน. อาํ เภอยะรัง มสี ถานท่เี ปน เอกเทศ  5
4
2 มพี ้ืนทจ่ี ัดสรรอยางเปนสดั สวน  4
1
3 อยใู นแหลงชมุ ชน  1
1
4 มีความสะอาด เรยี บรอย สวยงาม  4
5
5 สะดวกในการใชบ รกิ าร  1
1
6 การคมนาคมสะดวก  4
2
7 อาคารมีความมัน่ คงแข็งแรง  4
2
8 อยใู กลห นวยงานราชการ  2
1
9 บุคลากรมจี าํ นวนมาก  1
1
10 บคุ ลากรมีความสามารถที่หลากหลาย  2
5
11 บุคลากรมีความคดิ สรา งสรรค  5
1
12 บุคลากรมีความสามารถในการใชเทคโนโลยี  2
3
13 บคุ ลากรมีการทาํ งานเปน ทีม  2
1
14 บคุ ลากรมีความตรงตอเวลา 

15 บคุ ลากรมีความรบั ผดิ ชอบในงานท่ีไดรับ 

มอบหมาย 
16 บคุ ลากรมีการพัฒนาตนเองอยางตอ เน่ือง
17 บุคลากรมีมนุษยสมั พนั ธท ี่ดี 

18 บุคลากรมีบุคลิกภาพทด่ี ี 

19 บคุ ลากรมีประสบการณในการทาํ งานในพ้ืนท่ี 

20 บุคลากรสวนใหญเปน คนในพ้ืนที่ 

21 ผบู ริหารมีภาวะผนู ําท่ีดี 

22 ผบู ริหารมีวิสยั ทศั น 

23 ผบู รหิ ารมกี ารแบงฝา ยงานอยางเปน ระบบ 
ชดั เจน
24 ผูบรหิ ารเปนแบบอยางท่ดี ี 

25 ผูบรหิ ารมีความรูค วามสามารถ 

26 ผบู รหิ ารมกี ารมอบหมายงานตาม 

ความสามารถของบคุ คล 
27 ผบู ริหารสรา งแรงจงู ใจใหกับบุคลากร
28 ผูบริหารตรงตอ เวลา 

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๑

ท่ี จุดแขง็ จดุ แขง็ ทีม่ ศี กั ยภาพ รวม
สงู มาก สูง กลาง ต่ํา ตํ่ามาก 1
(5) (4) (3) (2) (1) 3
29 ผบู ริหารมกี ารนาํ นโยบายการบรหิ าร กศน.  5
1
โดยนาํ จุดเนน /นโยบายมาบรหิ ารจดั การ  1
30 มีภาคีเครือขายที่หลากหลาย 2
31 ภาคเี ครือขายใหความรว มมอื สนบั สนุนใน  1
การจดั กจิ กรรม 1
32 แกนนําเครือมีความรูค วามสามรถ  5
5
33 มแี หลงเรยี นรูค รบทุกตาํ บล  5
4
33 แหลงเรยี นรูส ามารถเปนตน แบบ และสามรถ  1
1
ศึกษาดูงานได  1
34 เปน แหลง ทองเทย่ี วนวัตวิถี ๒.๖๑
35 มกี ารพัฒนาส่อื อยา งตอเนอื่ ง 

36 สอื่ มีความหลากหลายและทนั สมัย 

37 มีภูมิปญญาทองถ่ินและปราชญชาวบา นทกุ 
ตาํ บล
38 ผูรบั บรกิ ารใหค วามรวมมือในการเขา รว ม 

กจิ กรรมตา ง ๆ อยา งตอเน่ือง 
39 ผูรบั บรกิ ารมีอาชีพท่หี ลากหลายและหลาย
ชวงวยั
40 ผรู บั บรกิ ารประสบความสาํ เร็จในหนาท่ีการ 

งาน 
41 ผรู บั บริการมคี วามพึงพอใจในการเขา รับ
บรกิ าร
42 ผูรับบริการเขา มาใชบริการอยางสมํ่าเสมอ 

หาคาเฉลย่ี (๕+๓+๕+๔+๑+๑+๑+๔+๕+๑+๑+๔+๒+๔+๒+๒+๑+๑+๑+๒+๕+๕+๑+๒+๓
+๒+๑+๑+๓+๕+๑+๑+๒+๑+๑+๕+๕+๕+๔+๑+๑+๑) = ๑๑๐/๔๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๒

การใหน้ําหนักจดุ ออ น

ท่ี จดุ ออ น จุดออ นทีส่ งผลกระทบ
๑. กศน.ตาํ บลบางตาํ บลไมเปน เอกเทศ กศน.ตําบลคับ สงู สงู กลาง ตาํ่ ต่ํามาก
มาก (๔) (๓) (๒) (๑) รวม
แคบ อยูหางไกล หองนํ้าไมเพียงพอ (๑)
๒. กศน.บางตําบลขาดเทคโนโลยที ี่ใชใ นการเรยี นการ (๕) ๑

สอน เชน โทรทัศน ( ๕) ๒

๓. บุคลากรบางรายขาดประสบการณในพน้ื ท่ี (๑) ๑
๔. บคุ ลากรไมจบตามสาขาวิชาเอก (๒) ๒
๕. บางกิจกรรมกลมุ เปาหมายไมสามารถตอ ยอดความรู ๒

ได( ๒) ๑
๖. การนิเทศ ติดตามยงั ไมครอบคลุม (๓) ๑
๗. กลุมเปา หมายมารวมกจิ กรรมไมต รงเวลา ดวยมี
๑.๔๒
ภาระงาน(๑)
หาคาเฉล่ยี (๑+๒+๑+๒+๒+๑+๑) = ๑๐/๗

การใหนา้ํ หนักโอกาส

ที่ โอกาส สงู มาก โอกาสที่มศี ักยภาพ ต่ํามาก รวม
สูง กลาง ตาํ่
๑ มีการตดิ ตอประสานงานกบั หนวยงานระดับอําเภอ 

และผนู ําทองถิน่ อยางสม่ําเสมอและตอเนื่องไดรับ ๔
ทุนการศึกษาสภากาชาดไทยใหการสนับสนนุ
งบประมาณในการจดั กิจกรรมยวุ กาชาด
๒ ชมุ ชนมีแหลง เรยี นรทู ่หี ลากหลาย สามารถศกึ ษาหา 
ความรูไ ด ๔

๓ เครอื ขายใหการสนบั สนนุ วทิ ยากรในการจัดกิจกรรม
และสงเสรมิ กจิ กรรมการเรียนรใู นตาํ บล อนเุ คราะห  ๕
สถานที่ กศน.ตาํ บล
๔ ไดร ับการจดั สรรงบประมาณในการจดั กจิ กรรมตางๆ 
อยา งคุมคา ๔

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๓

ที่ โอกาส สูงมาก โอกาสทมี่ ีศกั ยภาพ ต่าํ มาก รวม
สูง กลาง ตํา่
๕ สํานักงาน กศน.จงั หวัดปตตานี ใหการสนบั สนุนและ 
สง เสริมกจิ กรรมตางๆ ของ กศน.อาํ เภอยะรงั ๔

๖ ความเขม แข็งของเครอื ขา ย สงผลใหโครงการอาชีพ  ๓
มีความมนั่ คงและสรางรายไดใหก ับชมุ ชน
หาคา เฉลีย่ (๔+๔+๕+๔+๔+๔+๓) = ๒๔/๖ ๔

การใหค านาํ้ หนักอปุ สรรค

ภาวะอปุ สรรคท่ีสง ผลกระทบ
ท่ี ภาวะอปุ สรรค สูงมาก สูง กลาง ตํา่ ตาํ่ มาก รวม
(๕) (๔) (๓) (๒) (๑)
หลักสตู รการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมวี ชิ าเรยี น  ๓

๑ ทม่ี ากเกินไปในแตล ะภาคเรียนทําใหไ มส ามารถ
จดั การเรียนการสอนไดครบทุกรายวชิ า
๒ งบประมาณที่ไดร ับการจัดสรรไมท วั่ ถงึ ๓
กลมุ เปาหมายตองไปทํางานนอกพ้ืนท่ี ทําให
๓ การเรยี นและการทํากิจกรรมไมต อ เน่ือง  ๔

๔ การแพรร ะบาดของโรคระบาด มผี ลตอ การจัด  ๓
กจิ กรรมในดานตา ง ๆ
๕ ความเขาใจในการใชภ าษาไทยในการสื่อสาร ๓
การสงเสริมสนับสนุนจากภาคีเครอื ขายไม ๓
๖ ตอ เน่ือง

๗ การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ๓
หาคา เฉลยี่ (๓+๓+๔+๓+๓+๓+๓) = ๒๒/๗ ๓.๑๔

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๔

ผลการวิเคราะห จดุ แขง็ (S) จุดออน(W)
+๒.๖๑ - ๑.๔๒
สรุปปจจัยภายใน ๑.๑๙
เฉลยี่ ปจ จยั ภายใน โอกาส (O) อปุ สรรค(T)
สรปุ ปจ จยั ภายใน + ๔ - ๓.๑๔
เฉลย่ี ปจจยั ภายใน ๐.๘๖

กราฟแสดงสถานภาพ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๕

จากการวิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของ กศน.อําเภอยะรัง พบวา
สถานศึกษามีสถานภาพ SO กลาวคือ สถานศึกษามีบุคลากรท่ีมีสมรรถนะในการทํางานเหมาะสมกับบทบาท
หนาท่ีและไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง มีการบริหารจัดการต้ังแตการวางแผนงานใหสอดคลองกับนโยบาย
จุดเนน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พรอ มท้ังมีโอกาสในการจดั การศกึ ษาที่
ดี เพราะชุมชนมีแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย สามารถศึกษาหาความรูได เครือขายใหการสนับสนุนวิทยากรใน
การจัดกิจกรรมและสงเสริมกิจกรรมการเรียนรูในตําบล ใหความอนุเคราะหสถานท่ี กศน.ตําบล ไดรับการ
จดั สรรงบประมาณในการจัดกิจกรรมตาง ๆ อยางคุมคา ภาคีเครือขา ยมีความเขมแข็ง สง ผลใหโครงการอาชีพ
มคี วามม่ันคงและสรา งรายไดใหก ับชุมชน หนวยงานตน สงั กัดสง เสรมิ และใหก ารสนบั สนุนการพัฒนาเทคโนโลยี
สารสนเทศ รวมทง้ั มแี หลงเรียนรูท่หี ลากหลายและภูมิปญญาที่ทรงคณุ คา สามารถนํามาใชใหเกดิ ประโยชนตอ
การจดั การศึกษา กศน.อําเภอยะรัง จึงไดนําสถานภาพดังกลาวมากําหนดเปนกลยทุ ธ ในการจัดทาํ แผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตอไป

ปญหาและความตองการทางการศึกษาของประชาชนทจี่ ําแนกตามลกั ษณะของกลุม เปาหมาย

กลมุ เปาหมาย ปญ หาและความตอ งการ แนวทางแกไ ข
กลมุ คนท่ีไมรหู นงั สือ/กลุม ผูลืมหนังสือสวนใหญเปนผูสูงอายุและ ครูอาสาสมัครฯ นําสื่อเพ่ือพัฒนาการ
ภาวะการลมื หนังสือ กลุมแมบานเม่ือสอบถามความตองการ อา น เชน หนังสอื พมิ พ นติ ยสาร วารสาร
ในการเรียนพบวาไมประสงคจะเรียนรู ไปหมุนเวียนใหกับผูลืมหนังสือเปน
และใชภ าษาถน่ิ ในการสอื่ สารเปน หลัก รายบุคคลและประเมินพัฒนาการการ
อานเปนระยะ ๆ
กลมุ วัยเดก็ เด็กท่ีมีอายุระหวาง ๑-๑๔ ป สวนใหญ ๑. จัดกิจกรรมสงเสริมการอานที่
อยูในความดูแลของผูปกครองและเรียน สอดแทรกความรูเกี่ยวกับทักษะชีวิต
การศึกษาภาคบังคับ เด็กวัยน้ีเปนวัยท่ี เชน ทักษะการแกปญหา ทักษะการ
กาํ ลงั เรยี นรู ปญ หาทพี่ บคอื จดั การอารมณ เปนตน
๑. เด็กบางรายผูปกครองไมใสใจไมดูแล ๒. จัดกจิ กรรมใหความรูแก พอ แม หรือ
อยางใกลชิดเนื่องจากภาระงานตองหา ผูปกครองที่มีบุตรหลานอายุระหวาง ๑-
เล้ยี งครอบครัว ๑๔ ป เชน โครงการจดั การศกึ ษาสําหรับ
๒. เด็กบางรายมีความเสี่ยงตอการออก ครอบครัว เพศศึกษาสําหรับวัยรุน เปน
จากโรงเรียนกลางคัน เนื่องจากการ ตน
ตั้งครรภ การติดยาเสพติด อุบัติเหตุและ
การหนีเรียนซึ่งมาจากการมีคานิยมไม
ถูกตอ ง
๓. เดก็ บางรายใชเวลาวางในการเลนเกม
และใชโ ลกโซเชียลในทางไมถกู ตอง เชน
กลมุ เดก็ และเยาวชน ๑. เด็กและเยาวชนกลุมอายุระหวาง ๑. สงเสริมและสนับสนุนสื่อการอาน
(วัยเรยี น) ๑๕-๒๕ ปสวนใหญประสบปญหา วารสารวิชาการเกี่ยวกับการสงเสริม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๖

กลุมเปา หมาย ปญ หาและความตองการ แนวทางแกไข
กลุม ประชากรวยั แรงงาน เศรษฐกจิ ของครอบครวั ทาํ ใหจ ําเปนตอง สุขภาพ ภัยจากส่ิงเสพติด การสรางวินัย
ระหวา งอายุ ๒๕-๕๙ ป ออกจากระบบโรงเรียน จราจร เปน ตน
กลุมผูสูงอายุ อายุ ๖๐ ป ๒. เด็กบางรายมีความเส่ียงตอการออก ๒. จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
ขนึ้ ไป จากโรงเรียนกลางคัน เน่ืองจากการ (กพช) ซ่ึงเปนกิจกรรมท่ีสงเสริมให
ต้ังครรภ การทอถอยในการเรียน มี ผูเรียนมีทักษะและประสบการณในการ
อุบตั ิเหตุทาํ ใหรางกายขาดความพรอ ม ดํารงชีวิต มีจิตอาสา ชวยเหลือสังคม
๓. เด็กและเยาวชนออกจากโรงเรียนไป เชน การศึกษาดูงานเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
ศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะ พอเพียง เขาคายอาสายุวกาชาด ซึ่งเปน
กิ จ ก ร ร ม ที่ เ ส ริ ม ส ร า ง ทั ศ น ค ติ น อ ก
เน่ืองจากการเรยี นการสอนในช้ันเรียน
๓. จดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียนเพ่ือ
สงเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงคใหกับ
นักศกึ ษา
๔. ครูอาสาฯ ปอเนาะ เขาไปจัด
การศึกษาและกิจกรรมการเรียนรูใน
สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะอยา งมคี ุณภาพ
๑. ดานการเงิน เชนมีภาระหนี้สิน ความ ๑. สงเสริมและสนับสนุนส่ือการอาน
ไมม่ันคงดา นอาชพี และเปนผูวา งงาน วารสาร หนงั สือ ภาษาไทย และสขุ ภาพ
๒. ดานสุขภาพ สวนใหญขาดการดูแล ๒. จัดกิจกรรมเพื่อสรางอาชีพ สราง
สุขภาพอยางจริงจัง ขาดความรูในการ รายได
ดูแลปองกันจากโรคตา ง ๆ ๓. จัดกระบวนการเรียนรูตามหลัก
๓. ดานเทคโนโลยีดิจิทัล การเสพส่ือ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
การใชส่ือเทคโนโลยีท่ีไมถูกตอง และใช ๔. จัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนา
เทคโนโลยีเพือ่ การสืบคนขอมูลไมถ กู ตอ ง ทกั ษะชีวิต
๔. ดานการพัฒนาตนเอง เชน มีการอาน ๕. จัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนา
หนงั สือนอ ยมาก สงั คมและชมุ ชน
๕. ดานการส่ือสาร ไมสามารถสื่อสาร ๖. จดั กิจกรรมการเรยี นรูดานดจิ ิทัล
ภาษาไทยไดอยางคลองแคลว ไมรู ๗. จัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการปกครอง
หนังสอื และลมื หนังสอื ระบอบประชาธิปไตย
๖. ดานความเปนพลเมืองตามระบอบ ๘. จัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมคุณธรรม
ประชาธิปไตย เชน การไมไปใชส ิทธ์ิ ขาด จริยธรรม
การมีสวนรวมตามหลักประชาธปิ ไตย
๑. ขาดความรูความเขาใจในดานการ ๑.จัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนา
ดูแลสขุ ภาพของตนเอง ทกั ษะชีวิต เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกาย
๒. ขาดความรูความเขาใจในการส่ือสาร สุขภาพจิต การใชเวลาวางใหเปน
ภาษาไทย ประโยชน

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๗

กลมุ เปาหมาย ปญหาและความตอ งการ แนวทางแกไข
กลมุ ผูพกิ าร ๓. ขาดความรูความเขาใจในการปองกัน ๒. สงเสริมและสนับสนุนสื่อการอาน
ตนเองจากโรคภยั ตา ง ๆ วารสารวิชาการเก่ียวกับการสงเสริม
๔. ขาดการดูแลเอาใจใสจากครอบครวั สุขภาพ
๔. จัดกิจกรรมทักษะชีวิตใหความรูกับ
ผูดแู ลผูสูงอายุ
๑. ขาดการยอมรับทางสงั คม ๑. ส ง เส ริ มแ ล ะส นับ ส นุน ก าร จั ด
๒. ขาดแรงจูงใจในการเรียนและการใช การศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยออกแบบ
ชีวิตในสังคม กิ จ ก ร ร ม ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กั บ ผู เ รี ย น
๓. ไมเห็นความสําคัญของการพัฒนา รายบุคคล
ตนเอง ๒. จัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั
๔ . ข า ด โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ ข า ถึ ง ท า ง ๓. จดั กิจกรรมการพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี น
การศกึ ษา ๔.จัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือสงเสริม
๕. ขาดการสนับสนุนสงเสริมอาชีพตาม อาชพี และรายได
ความตอ งการ ๕. จัดกิจกรรมการศึกษาตอเน่ือง
เก่ียวกับการพัฒนาทักษะชีวิต พัฒนา
สังคมและชุมชน และเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๘

จากผลการประเมินสถานการณของสถานศึกษา โดยการวิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพ
(SWOT Analysis) ของสถานศึกษาดังกลาวขางตน สถานศึกษาสามารถนํามากําหนดทิศทางการดําเนินงาน
ของสถานศึกษา ไดแก ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ แนวทางการ
พฒั นา และตวั ช้วี ัดความสาํ เร็จ ดังน้ี

ปรัชญา

การศึกษาสรา งคนใหมคี ุณภาพ

วิสัยทศั น

กศน.อาํ เภอยะรงั มุงพัฒนากลมุ เปาหมายใหม ีทกั ษะท่จี าํ เปนในศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีคุณภาพ ตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เอกลกั ษณ

นวตั กรรมกาวนํา สรา งสรรคชมุ ชน

อตั ลักษณ

คดิ อยา งสรา งสรรค ทาํ อยา งเต็มศกั ยภาพ

พันธกิจ (Mission)

1. จดั และสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่มี ีคุณภาพ เพ่ือยกระดบั การศึกษา
พัฒนาทักษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการเปล่ียนแปลง
บริบททางสังคม และสรางสงั คมแหงการเรียนรูตลอดชวี ิต

2. สง เสริม สนับสนนุ และประสานภาคีเครอื ขาย ในการมสี ว นรวมจัดการศกึ ษานอกระบบ การศึกษา
ตามอัธยาศัย และการเรียนรตู ลอดชีวิต รวมท้ังการดําเนนิ กิจกรรมของศูนยการเรยี นและแหลง การเรยี นรูอ ่นื ใน
รปู แบบตาง ๆ และสงเสริมการประชาสัมพันธจ ัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

3. สงเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยดี ิจิทัล มาใชใหเกิดประสิทธิภาพ
ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก ับประชาชนในอาํ เภอยะรงั อยา งทว่ั ถึง

4. พฒั นาหลักสูตร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ส่ือและนวตั กรรม การวัดและประเมินผล ในทุก
รปู แบบใหสอดคลองกับบริบทของชุมชนและเกิดทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 ในปจจบุ นั

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๒๙

5. สงเสริมการเรียนรูศูนยฝกอาชีพชุมชน การศึกษาตอเนื่องใหมีประสิทธิภาพและพัฒนาอาชีพของ
ประชาชนในอําเภอยะรงั

๖. สงเสรมิ การจดั กจิ กรรมทีส่ นองตอ นโยบายและจดุ เนน ของสํานกั งาน กศน.
๗. สงเสริมการจัดการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต การจัดการเรียนรูในสถาบันศึกษาปอเนาะ และ
โครงการลูกเสอื กศน. จชต และโครงการอน่ื ๆ
๘. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือมุงจัดการศึกษาและการเรียนรู
ท่มี ีคณุ ภาพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

ยุทธศาสตร กลยุทธ และแนวทางการพฒั นา

ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ 1 จดั การศึกษาเพือ่ ความมนั่ คง

กลยุทธท่ี 1 เสริมสรางใหนกั ศึกษามีความรูความเขาใจท่ถี ูกตองในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนพลเมืองดี เคารพความคิดของผูอ่ืน ยอมรับความแตกตางภายใต
สงั คมพหวุ ฒั นธรรมในจังหวดั ชายแดนภาคใต

แนวทางการพัฒนา
๑. จัดกจิ กรรมโครงการตาง ๆ ท่ีสงเสริมใหผูเรียนมีความรคู วามเขาใจท่ีถกู ตองในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข
๒. จัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีสอดแทรกความเปนพลเมืองที่ดี สิทธิ และหนาที่ของตนเองภายใต

รัฐธรรมนูญ
๓. จัดกิจกรรมการเรียนรูที่สอดแทรกความรู ความเขาใจ ทัศนคติท่ีถูกตองเกี่ยวกับความหลากหลาย

ของสังคมพหวุ ัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต
๔. สงเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถาบันปอเนาะ และการใชภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอยาง

ถกู ตอ ง
กลยุทธท่ี 2 สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีปลกู ฝงคณุ ธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และยึดม่ัน

ในสถาบันหลักของชาติ มีจิตอาสา สนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับ
กลุมเปา หมาย.อาํ เภอยะรัง

แนวทางการพัฒนา
๑. จดั กิจกรรมพฒั นาผเู รียนลกู เสือ กศน. และกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นอ่นื ๆ อยา งตอเนอ่ื ง
๒. จดั กจิ กรรมจติ อาสาหรือสงเสรมิ ใหผเู รียนเขารว มกิจกรรมอาสาที่หนว ยงานอื่น ๆ

๓. มุงเนน ใหครูผูสอนจดั กจิ กรรมการเรียนรูท่สี อดแทรกใหผ ูเ รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการปฏิบัติ
ตามหลกั คาํ สอนของศาสนาที่ตนเองนบั ถือ

๔. สรา งความรู ความเขา ใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพตดิ สาํ หรับประชาชนในอาํ เภอยะรังอยางท่วั ถึง

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๐

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2 จดั การศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาคนใหม ีคุณภาพ

กลยุทธท่ี 1 ขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและการเรียนรูที่เสริมสรางศักยภาพของนักศึกษาและ
ประชาชนในอําเภอยะรงั ใหส อดคลองกับการพฒั นาประเทศ

แนวทางการพัฒนา
๑. จัดกิจกรรมการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนเกิดทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี ๒๑ และทักษะการคิด
อยางมีวิจารณญาณ
๒. จัดกิจกรรมโครงการที่สงเสริมใหผูเรียน/ผูรับบริการมีทักษะในการประกอบอาชีพ และการพัฒนา
ชพี อยางมีคณุ ภาพ

๓. จัดกิจกรรมการเรียนรูตามอัธยาศัยและการศึกษาตลอดชีวิต สงเสริมใหผูเรียน/ผูรับบริการรักการ
อาน และพฒั นาทกั ษะการส่อื สารภาษาไทยเพื่อการสื่อสารไดอยา งถกู ตองและเหมาะสม

๔. พัฒนาใหผูเรียนและผูรับบริการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรูและการตอยอดเพื่อพัฒนา
อาชพี

กลยุทธท่ี 2 พัฒนาทักษะการใช Social Media ในการจัดการเรียนการสอนของครูและบุคลากร
ทางการศึกษาของกศน.อาํ เภอยะรงั

แนวทางการพฒั นา
๑. จัดกิจกรรมโครงการเพื่อพัฒนาบุคลากรของกศน.อําเภอยะรังใหมีความรู ความสามารถในการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา
๒. สนับสนุนใหครูผูสอนจัดทําสื่อการเรียนรูแบบออนไลน และพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
อยา งตอ เนื่อง

๓. สนับสนุนใหครูผสู อนและบคุ ลากรของกศน.อําเภอยะรัง ใชสื่อ Social Media ในการจัดการศึกษา
นอกระบบขัน้ พน้ื ฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั

ประเด็นยุทธศาสตรท ่ี 3 จดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพคนในอําเภอยะรงั ใหมคี ุณภาพ

กลยุทธที่ 1 สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรา งตระหนักถึงการเตรียมพรอมเขาสูสังคม
ผูสงู อายุ มีความเขาใจในพฒั นาการของชวงวัย รวมท้ังเรยี นรแู ละมีสว นรวมในการดูแล

แนวทางการพัฒนา
๑. พัฒนาการจัดบริการการศึกษานอกระบบข้ันพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตาม

อัธยาศัยสาํ หรับเยาวชนและประชาชนในอาํ เภอยะรงั

๒. จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชวี ิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหส ามารถดูแลตนเองทัง้ สขุ ภาพกาย

และสขุ ภาพจติ และรูจักใชประโยชนจ ากเทคโนโลยี

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๑

3. สง เสริมสนบั สนุนปราชญชาวบานและภาคเี ครอื ขายเขามามีสวนรว มในการเผยแพรภูมิปญญาและ
ความรใู นชุมชนใหก ับผเู รยี นและประชาชนของอาํ เภอยะรัง และสง เสรมิ ใหผเู รียนมสี ว นรว มในกิจกรรมดานตา ง
ๆ ในภายชุมชน

กลยทุ ธท ่ี ๒ สงเสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศัยและการศกึ ษาตลอดชีวติ เพ่ิมอัตราการอานของประชาชน
โดยการจดั กิจกรรมสง เสรมิ การอา นในรูปแบบตาง ๆ

แนวทางการพฒั นา
๑. พัฒนาหอ งสมุดประชาชนอาํ เภอยะรังใหเ ปนฐานการเรยี นรตู ามอัธยาศยั ของอาํ เภอยะรงั
๒. พัฒนาบานหนังสือชุมชนใหมีมีคุณภาพและครบทุกตําบล และสงเสริมใหครูกศน.ตําบล ครูอาสา
ประจําตําบลเปน ผสู ง เสรมิ การอา นประจาํ ตําบล
๓. สงเสริมการจัดกิจกรรมหองสมุดเคลื่อนท่ีสําหรับชาวตลาด ตามพระราชดําริของสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
๔. จัดกิจกรรมโครงการที่สงเสรมิ และพัฒนาการอานอยางตอเน่ือง สามารถวดั ผลไดอยา งเปน รูปธรรม
กลยุทธที่ ๓ พัฒนาศูนยฝ กอาชีพชุมชนอําเภอยะรงั สู “วิสาหกิจชุมชน : ชุมชนพ่ึงตนเอง ทาํ ได ขาย
เปน”
แนวทางการพัฒนา
1. สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ีสอดคลองกับศักยภาพของชุมชน และความตองการของตลาด
รวมทั้งสรางเครือขายการรวมกลุม ในลักษณะวิสาหกิจชมุ ชน สรางรายไดใ หกับชุมชน เพ่ือใหช ุมชนพึ่งพาตนเอง
ได
2. สงเสริมการใชเทคโนโลยีเพื่อสรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคา การทําชองทางเผยแพรและ จําหนาย
ผลิตภณั ฑข องวิสาหกจิ ชมุ ชนใหเ ปน ระบบครบวงจร
กลยุทธที่ ๔ จัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสูการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงนาํ สูการพัฒนาอยางยั่งยนื
แนวทางการพัฒนา
๑. สงเสริมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรโู ดยใชแ หลงเรียนรูใ นชุมชนอําเภอยะรังเปนฐานการเรยี นรูดา น
อาชีพเกษตรกรรมทมี่ ชี ื่อเสียงภายใตห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ประเด็นยุทธศาสตรท ่ี 4 สรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาใหป ระชาชนในอําเภอยะรงั

กลยุทธท ่ี 1 สง เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั ใหสอดคลองกับความตองการของประชาชนในอําเภอยะ
รัง

แนวทางพฒั นา
๑. สํารวจความตอ งการของผูร บั บริการและประชาชนทัว่ ไปเก่ียวกับการศึกษาตามอัธยาศยั

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๒

๒. จัดกจิ กรรมโครงการตามอัธยาศยั ท่ใี หสอดคลอ งกับความตอ งการของประชาชนในอาํ เภอยะรงั
๓. ประชาสมั พันธใ หผูร บั บริการเขามาใชบ ริการบานหนังสือชมุ ชน หองสมดุ ประชาชนอาํ เภอยะรงั
กลยุทธท่ี 2 เพม่ิ อัตราการรหู นังสือและยกระดบั การรหู นังสือของประชาชนในอําเภอยะรงั
แนวทางการพฒั นา
1. มงุ เนนจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรูหนงั สือ และคงสภาพการรูหนงั สือของประชาชนในอําเภอ
ยะรังใหสามารถอานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยใชสื่อและกระบวนการท่ีเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีและ
กลุมเปาหมาย
2. จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรูหนังสือ ในรูปแบบตาง ๆ รวมทั้งทักษะดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือ
เปน เครื่องมอื ในการเรียนรูต ลอดชีวิตของประชาชนในอําเภอยะรงั
กลยุทธที่ 3 พัฒนากศน. อําเภอยะรังและกศน.ตําบล ใหมีความพรอมสําหรับเปนแหลงเรียนรูตลอด
ชวี ติ
แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนาครู กศน. อําเภอยะรังและบุคลากรที่เก่ียวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู:
Good Teacher ใหเปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรูและบริหารจัดการความรูที่ดี รวมทั้งเปนผูปฏิบัติงานอยางมี
ความสขุ
2. พัฒนา กศน.ตําบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเอื้อตอการเรียนรูอยางตอเนื่อง (Good
Place Best Check-In) มคี วามพรอมในการใหบริการการศกึ ษาและการเรียนรู มีสิ่งอํานวยความ สะดวก เปน
แหลงขอมูลสาธารณะที่งายตอการเขาถึง และสะดวกตอการเรียนรูตลอดชีวิตอยางสรางสรรค ดึงดูดความ
สนใจ และมคี วามปลอดภัยสําหรบั ผรู บั บรกิ าร
3. สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูภายใน กศน.ตําบล (Good Activities) ใหมีความหลากหลาย
นาสนใจ ตอบสนองความตองการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรูของประชาชน รวมทั้งเปดโอกาส
ใหชุมชนเขามาจดั กิจกรรมเพอ่ื เช่ือมโยงความสัมพนั ธข องคนในชมุ ชน
๔. เสริมสรางความรว มมอื กับภาคีเครือขายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวน ทองถิ่น และ
การมีสวนรวมของชุมชน (Good Partnership) เพื่อสรางความรูความเขาใจ และความรวมมือใน การสงเสริม
สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรูใ หกบั ประชาชนอยา งมีคุณภาพ
๕. มงุ พัฒนากศน. ตาํ บลใหเปน กศน. ตําบล 5 ดี พรีเม่ียม

ประเด็นยทุ ธศาสตรที่ 5 พฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบริหารจัดการของสถานศึกษา

กลยุทธท่ี 1 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรของกศน.อ.ยะรัง ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐาน
ตาํ แหนง ใหต รงกับสายงานหรอื ความตอ งการ

แนวทางการพฒั นา
๑. จัดกิจกรรมโครงการพฒั นาบคุ ลากรตามความตองการและตามมาตรฐานเฉพาะตําแหนงอยา ง
ตอ เนือ่ ง

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๓

๒. สง เสริมใหบ ุคลากรเขารว มกจิ กรรมโครงการพฒั นาความรใู นดา นตาง ๆ ที่ตนเองสนใจ หรือตาม
ความเชย่ี วชาญของตนเอง

๓. สงเสรมิ ใหบ ุคลากรเขารว มอบรมหรือทดสอบความรแู บบออนไลนเ พ่ือพัฒนาตนเองและสงเสริม
การใชเทคโนโลยใี นการพฒั นาตนเอง

๔. สงเสรมิ การประชาสมั พนั ธการดําเนนิ งานของกศน. อําเภอยะรงั

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๔

ปรัชญา การศกึ ษาสรางคนใหมีคณุ ภาพ

วสิ ยั ทัศน กศน.อาํ เภอยะรงั มงุ พฒั นากลมุ เปาหมายใหม ีทักษะท่จี ําเปน ในศต
พันธกิจ ๑. พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๒. ปร
และการจัดการเรียนรู ๕. สงเสริมการเรยี นรูศูนยฝกอาชีพชุมชน
๘. พัฒนาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจัดการใหม ีประสทิ ธภิ าพ

ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี 1 จัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง

กลยุทธท่ี 1 เสรมิ สรางใหนกั ศึกษามีความรูความเขา ใจทีถ่ ูกตอ งในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุข เปน พลเมอื งดี เคารพความคิดของผูอืน่ ยอมรบั ความแตกตางภายใต
สงั คมพหุวัฒนธรรมในจงั หวัดชายแดนภาคใต

ประเดน็ ยุทธศาสตรท ่ี 2 จัดการศกึ ษาเพือ่ การพฒั นาคนใหม คี ุณภาพ

กลยทุ ธท ่ี 1 ขบั เคลอ่ื นการจัดการศึกษาและการเรียนรทู ่เี สรมิ สรางศักยภาพของนักศึกษาและประชาชน
ในอาํ เภอยะรงั ใหสอดคลอ งกับการพัฒนาประเทศ

ประเดน็ ยุทธศาสตรท ี่ 3 จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพ
คนในอําเภอยะรังใหม คี ุณภาพ

กลยทุ ธท ่ี 1 สง เสริมการจดั กิจกรรมใหก ับประชาชนเพ่ือสรางตระหนักถงึ การเตรียมพรอ มเขา สสู งั คม
ผสู ูงอายุ มคี วามเขา ใจในพฒั นาการของชว งวัย รวมทั้งเรียนรูและมสี วนรวมในการดูแล
กลยุทธที่ ๒ สงเสรมิ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการศึกษาตลอดชวี ิต เพ่มิ อัตราการอา นของประชาชน
โดยการจัดกิจกรรมสง เสรมิ การอานในรูปแบบตา ง ๆ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗

ตวรรษท่ี ๒๑ อยา งมีคณุ ภาพ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
ระสานงานภาคีเครือขาย ๓. พัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและดิจิทัล ๔. พัฒนาหลักสูตร
๖. สนองนโยบายและจุดเนน ของสํานักงาน กศน. ๗. งานการศกึ ษาจังหวัดชายแดนภาคใต

กลยุทธท่ี 2 สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู ปี่ ลูกฝงคุณธรรม สรา งวนิ ัย จิตสาธารณะ และยึดมัน่ ใน
สถาบนั หลักของชาติ มจี ติ อาสา สนบั สนนุ ใหมีการจัดกจิ กรรมเพ่อื ปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรมใหกบั
บุคลากรกศน.อําเภอยะรัง

กลยุทธท ี่ 2 พฒั นาทักษะการใช Social Media ในการจดั การเรยี นการสอนของครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษาของกศน.อาํ เภอยะรงั

กลยทุ ธท ี่ ๓ พฒั นาศนู ยฝ ก อาชพี ชุมชนอาํ เภอยะรัง สู “วสิ าหกจิ ชมุ ชน : ชมุ ชนพ่งึ ตนเอง ทําได ขาย
เปน ”
กลยุทธท่ี ๔ จัดกระบวนการเรียนรูตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสกู ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงนําสกู ารพัฒนาอยา งยง่ั ยืน

หนา ๓๕

ปรัชญา การศึกษาสรางคนใหม ีคุณภาพ
วิสยั ทัศน
พนั ธกิจ กศน.อําเภอยะรงั มงุ พัฒนากลุมเปาหมายใหมที กั ษะทจ่ี าํ เปนในศต
๑. พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๒. ประ
การจัดการเรียนรู ๕. สงเสริมการเรียนรูศูนยฝกอาชีพชุมชน ๖
๘. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การใหม ีประสิทธภิ าพ

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 4 สรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ใหป ระชาชนในอาํ เภอยะรงั

กลยทุ ธท่ี 1 สง เสรมิ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหสอดคลอ งกับความตอ งการของประชาชนใ
อําเภอยะรัง
กลยุทธท ่ี 2 เพิ่มอัตราการรูหนงั สอื และยกระดบั การรหู นังสอื ของประชาชนในอําเภอยะรัง

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 พฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบริหารจดั การของสถานศึก

กลยุทธท่ี ๑ สง เสรมิ การพฒั นาบุคลากรของกศน.อ.ยะรงั ใหมคี วามรแู ละทกั ษะตาม
มาตรฐานตําแหนง ใหตรงกับสายงานหรอื ความตอ งการ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗

ตวรรษท่ี ๒๑ อยางมคี ณุ ภาพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ
ะสานงานภาคีเครือขาย ๓. พฒั นาเทคโนโลยที างการศึกษาและดิจิทัล ๔. พัฒนาหลกั สตู รและ
. สนองนโยบายและจุดเนนของสํานักงาน กศน. ๗. งานการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต

ใน กลยทุ ธท ่ี 3 พฒั นากศน. อําเภอยะรังและกศน.ตาํ บล ใหมีความพรอมสําหรับเปนแหลง
เรียนรตู ลอดชวี ิต



กษา

หนา ๓๖

เปา ประสงค และตวั ชว้ี ัดความสําเรจ็

เปา ประสงค ตวั ชว้ี ดั ความสาํ เร็จ
1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม 1. จํานวนผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
อัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปาหมายตางๆ ท่ีเขารวมกิจกรรมการ
เรียนรู ไดรับบริการจัด การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตาม
พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร เ รี ย น รู ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ทุ ก อัธยาศัยท่ีสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการของ
กลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอม กลมุ เปาหมาย และชุมชน
รับการเปล่ียนแปลง บริบททางสังคม และสราง

สงั คมแหง การเรียนรตู ลอดชีวติ

2. รวมประสานภาคีเครือขาย ในการมีสวนรวม ๑. จํานวนภาคีเครือขายท่ีมีสวนรวมในการสงเสริมการจัด
จัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
2. จํานวนกิจกรรม/โครงการที่พัฒนาทักษะและสงเสริมการ
และการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการดําเนิน เรยี นรูใหกับกลุมเปา หมายทุกระดบั
กิจกรรมของศูนยการเรียนและแหลงการเรียนรู ๓. จํานวนแหลงเรียนรูในระดับตําบลที่มีความพรอมในการ
อื่ น ใ น รู ป แ บ บ ต า ง ๆ แ ล ะ ส ง เ ส ริ ม ก า ร ใหบ รกิ ารการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย
ประชาสัมพันธจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอธั ยาศยั

3. สงเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการ 1. รอยละของผเู ขารว มกจิ กรรมทีส่ ามารถใชเทคโนโลยีดิจทิ ลั มา
ศึกษาแล ะเทค โ นโ ล ยีดิจิทัล มาใชใหเกิ ด ประยกุ ตใ ชใ นการศึกษานอกระบบขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาตอ เนื่อง
ประสิทธิภาพ ในการจัดการศึกษานอกระบบและ และการศึกษาตามอัธยาศัย

การศึกษาตามอัธยาศัยใหกับประชาชนในอําเภอ

ยะรงั อยางทั่วถึง

4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการ 1. จาํ นวนหลกั สตู รการศึกษานอกระบบและการศึกษาตอเนือ่ งท่ี
เรียนรู ส่ือและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ไดพ ฒั นาขนึ้ ใหม หรือมกี ารปรับปรุงหลักสตู ร
๒. รอ ยละของนักศึกษาทม่ี ผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในวชิ าท่ีไดจ ัด
ในทุกรูปแบบใหสอดคลองกับบริบทของชุมชน โครงการพฒั นามีความรูเพิ่มสูงข้ึน
และเกิดทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ใน ๓. จํานวนส่ือและนวตั กรรมกรรมทางการศกึ ษาที่ไดรบั การพฒั นา
ปจจบุ ัน

5. สงเสริมการเรียนรูศูนยฝกอาชีพชุมชน 1. รอยละผูจบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาตอเนื่องสามารถนํา
การศึกษาตอเนื่องใหมีประสิทธิภาพและพัฒนา ความรูความเขา ใจไปใชได ตามจดุ มุงหมายของหลักสตู ร/กิจกรรม
ท่ีกาํ หนด
อาชพี ของประชาชนในอําเภอยะรงั ๒. จํานวนประชาชนที่ไดรับการอบรมใหมีความรู ในอาชีพตาง ๆ

ที่เหมาะสมกับสภาพบรบิ ท และความตองการของพ้นื ทชี่ ุมชน
๖. สง เสริมการจดั กิจกรรมทีส่ นองตอนโยบายและ 1. จาํ นวนกิจกรรม/โครงการทตี่ อบสนองนโยบายและจดุ เนน
๒. จํานวนกลุม เปา หมายทีไ่ ดรบั การพฒั นาตามโครงการ
จุดเนน ของสาํ นักงาน กศน.

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อําเภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๗

เปา ประสงค ตัวชว้ี ดั ความสาํ เร็จ
๗. สงเสริมการจัดการศึกษาจังหวัดชายแดน 1. รอ ยละของกลมุ เปา หมายท่ไี ดรับการจดั การเรยี นรูใ นสถาบัน
ภาคใต ศึกษาปอเนาะ
๒. รอยละของกลุม เปาหมายท่ีเขารว มโครงการลูกเสอื กศน. (จชต)
๓. รอ ยละของกลุม เปาหมายทีเ่ ขา รวมงานสงเสรมิ การรูห นังสอื
๘. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการให 1. จํานวนบคุ ลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรบั การพฒั นา
มีประสิทธิภาพ เพ่ือมุงจัดการศึกษาและการ เพื่อเพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบัตงิ านการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั
เรียนรู ทีม่ คี ุณภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล 2. สถานศกึ ษาในสงั กัดมรี ะบบประกนั คุณภาพภายในและมีการ

จดั ทาํ รายงานการประเมนิ ตนเอง

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๘

จากแผนพัฒนาการศึกษาและทิศทางการดําเนินงานของสถานศึกษาท่ีกําหนดไวแลว ศูนยการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอยะรัง สังกัดสํานักงาน กศน.จังหวัดปตตานี ไดน าํ มากาํ หนดเปนแผนปฏิบัติ
งานโครงการ/กิจกรรม ที่ตอบสนองเปาประสงค และกลยุทธ ยุทธศาสตร รวมทั้งกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จของ
โครงการ/กจิ กรรม และเปา หมาย การดําเนินงานแตละปมรี ายละเอียดดงั นี้

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อําเภอยะรัง พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗ หนา ๓๙

ตารางแสดงกรอบการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
ประเด็นยทุ ธศาสตรท่ี 1 จดั การศึกษาเพื่อความมนั่ คง

กลยทุ ธ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย
๒๕๖๔ ๒๕๖๕
กล ยุ ท ธ ท่ี 1 เส ริมส รางให ๑. โครงการอบรม ๔๘๐ ๔๘๐
นักศึกษามีความรูความเขาใจที่ ประวตั ศิ าสตรช าติไทย
ถูกตองในการปกครองระบอบ ๖๐๐ ๖๐๐
ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย อั น มี
พระมหากษตั ริยท รงเปน ประมุข
เปนพลเมืองดี เคารพความคิด
ของผูอ่ืน ยอมรับความแตกตาง
ภายใตสังคมพหุวัฒนธรรมใน ๒. โครงการอบรม
จังหวัดชายแดนภาคใต ประชาธปิ ไตย

๓. โครงการกีฬา กศน.ยะรงั ๓๐๐ ๓๐๐
สานสมั พันธ
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาํ เภอยะรงั พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๗

ย (คน) เกณฑ
๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ตวั ช้วี ัดความสําเรจ็ ความสาํ เร็จ
๔๘๐ (รอยละ)
๔๘๐ ๑. รอยละของกลุมเปาหมายเขารวม ๘๐
๖๐๐ โครงการ
๒. รอยละของกลุมเปาหมายท่ีเขารวม
๓๐๐ กิจกรรมการเรียนรูไดรับความรูเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตรช าตไิ ทย
๓. รอยละของกลุมเปาหมายมีความพึง
พอใจอยูใ นระดับมากขึ้นไป
๖๐๐ ๑. รอยละของกลุมเปาหมายเขารวม ๘๐
โครงการ
๒. จํานวนของกลุมเปาหมาย ที่เขารวม
กิจกรรมการเรียนรูไดรับความรูเกี่ยวกับ
ประชาธิปไตย
๓. รอยละของกลุมเปาหมาย ท่ีเขารวม
กิจกรรมการเรียนรูมีความพึงพอใจอยูใน
ระดับมากขนึ้ ไป
๓๐๐ ๑. รอยละของกลุมเปาหมายเขารวม ๘๐
โครงการ

หนา ๔๐


Click to View FlipBook Version