The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Parinya Dirakpok, 2024-03-08 22:48:11

แผนยุทธศาสตร์มุ่งเน้นโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ. 2567 - 2569

แผนยุทธศาสตร์มุ่งเน้น

2567 - 2569 โรงเรีรียรีรีนสาธิธิตธิธิแห่ห่ง ห่ห่ มหาวิวิทวิวิยาลัลัลัลัยธรรมศาสตร์ร์ร์ร์ แผนยุยุ ยุยุ ทธศาสตร์ร์มุ่มุ่ ร์ร์ มุ่มุ่ ง มุ่มุ่ เน้น้น น้น้


กำ หนดทิศทาง ฟังฟัข้อข้คิดเห็น กำ หนดขอบเขต จัดจัทำ ยุทธศาสตร์ อนุมันุติมั ติ22 พ.ย. 66 เม.ย. 66 พ.ค. 66 ส.ค. 66 ก.ย. 66 การเรีย รี นรู้ไรู้พื้น พื้ ที่ปลอดภัยในโรงเรีย รี น ระบบนิเวศความสำ คัญจำ เป็น ป็ ของแผนยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์ขร์องโรงเรียรีนสาธิตธิแห่งห่มหาวิทวิยาลัยธรรมศาสตร์ จัดจัทำ เพื่อพื่ ให้มีห้กมีรอบทิศทางและจุดมุ่งมุ่เน้นน้สำ หรับรัการพัฒพันาโรงเรียรีนไปสู่ ความเป็นป็เลิศลิด้าด้นต่าต่ง ๆ ในระยะเวลา 3 ปี โดยเน้นน้การส่งส่เสริมริการเรียรีนรู้ ที่ไร้รร้อยต่อสนับสนุนการพัฒนาตนเองของผู้เรียรีนให้ค้ห้ ค้นพบตัวตนผ่าน การเรียรีนรู้ใรู้นระบบนิเนิวศการเรียรีนรู้ที่รู้ห ที่ ลากหลายให้สห้ามารถปรับรัตัวตัก้าก้วทันทั ต่อสถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วร็เน้นสร้าร้งเสริมริ สุขสุภาพจิตจิและคุณคุภาพชีวิชีตวิที่ดีของนักเรียรีนและบุคลากรสามารถใช้ชีช้วิชีตวิ ร่วร่มกับกัสังสัคมอย่าย่งสันสัติสุติขสุและสนับนัสนุนนุการสร้าร้งเครือรืข่าข่ยความร่วร่มมือมื หน่วยงานของภาครัฐรัและเอกชน ทั้งทั้ภายในประเทศและต่างประเทศให้ สามารถบรรลุวัลุตวัถุปถุระสงค์ร่วร่มกัน ภาพรวมของแผนยุ บรรยากาศที่เปี่ยปี่มด้วยความสัมสัพันพัธ์อัธ์นอัดี ระหว่าว่งผู้คนที่เกี่ยวข้อข้ง ก่อให้เกิดความ ร่วร่มมือมืและสร้าร้งประสบการณ์การเรียรีนรู้ ที่มีคมีวามหมายให้แก่สมาชิกชิทุกทุส่วส่นในระบบ นิเวศ ในทางกลับกันการเรียรีนรู้ที่รู้ ที่ไร้รร้อย ต่อต่จะส่งส่ผลให้คห้วามสัมสัพันพัธ์ดีธ์ขึ้ดีนขึ้และเกื้อกื้หนุนนุ ซึ่งซึ่กันและกัน การมีคมีวามสัมสัพันพัธ์อัธ์ อันดีต่อกันช่วช่ยให้ความ แตกต่างหลากหลายของผู้คนได้รับรัการยอมรับรั และช่วช่ยเหลือซึ่งซึ่กันและกัน ทั้งในด้านการเรียรีน รู้ที่รู้ ที่แต่ละคนมีคมีวามช้าช้เร็วร็ไม่เม่ท่ากัน มีคมีวามสนใจ หรือรืความถนัดที่แตกต่างกัน โดยโรงเรียรีนเป็นป็ พื้นพื้ที่ปลอดภัยสำ หรับรัการเรียรีนรู้เรู้พื่อพื่พัฒพันาและ ฝึกฝึ ฝนตนเองของสมาชิกชิทุกทุส่วส่น


แผนการดำ เนินงานภาพรวม การดำ เนินการจะทำ ควบคู่กัคู่กันไปทุกทุยุทธศาสตร์ ร่วร่มมือมืกันทุกทุคน และทุกฝ่าย โดยมีผู้รับรัผิดชอบหลักในการวางแผน ประสานงาน และตัดสินใจ ดังนี้ · ยุทธศาสตร์รร์ะบบนิเวศการเรียรีนรู้: รู้ ฝ่ายสนับสนุนนักเรียรีนและกิจกรรม และฝ่ายพัฒพันาวิชวิาชีพชีครูและทรัพรัยากรบุคคล · ยุทธศาสตร์กร์ารเรียรีนรู้ไรู้ร้รร้อยต่อ: ฝ่ายกระบวนการเรียรีนรู้ · ยุทธศาสตร์พื้ร์พื้นพื้ที่ปลอดภัยในโรงเรียรีน: ฝ่ายสร้าร้งเสริมริสุขสุภาวะ · ยุทธศาสตร์เร์ครือรืข่าข่ยและการเชื่อชื่มสู่นสู่ านาชาติ: ฝ่ายสื่อสื่สารองค์กร ทั้งทั้นี้ งานสารสนเทศ ฝ่ายบริหริารบริหริารและแผน เป็นป็ผู้สผู้ นับนัสนุนนุ การพัฒพันาระบบสารสนเทศให้สห้อดคล้อล้งกับกัการทำ งานของแต่ลต่ะยุทยุธศาสตร์ รู้ไรู้ ร้ร ร้ อยต่อ เครือ รื ข่า ข่ ยและ การเชื่อ ชื่ มสู่นสู่ านาชาติ ศการเรีย รี นรู้ ยุทธศาสตร์มุ่งเน้น ความสัมสัพันพัธ์อัธ์ อันดีของผู้คนในระบบนิเวศ การเรียรีนรู้ โดยเฉพาะภายในโรงเรียรีน จำ เป็นป็ อย่าย่งยิ่งยิ่ต่อการระดมเครือรืข่าข่ยเพื่อพื่ร่วร่มสร้าร้ง การเรียรีนรู้อรู้ย่าย่งเป็นป็จริงริในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งช่วช่ยให้ความร่วร่มมือมืนั้นนั้เป็นป็ ไปอย่าย่ง ต่อเนื่องด้วย


ยุทธศาสตร์ที่ 1 ระบบนิเวศการเรียนรู้ ยุทยุธศาสตร์รร์ะบบนิเนิวศการเรียรีนรู้ หมายถึงถึการส่งส่เสริมริ ความสัมสัพันพัธ์ขธ์องผู้คผู้ นที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้งกับกั โรงเรียรีน ทั้งทั้นักนัเรียรีน ผู้ปกครอง ครู เจ้าหน้าที่ รวมถึงผู้ปฏิบัติงานในโรงเรียรีน โดยแต่ลต่ะส่วส่นทำ หน้าน้ที่ข ที่ องตนเองได้เด้ป็นป็อย่าย่งดีเดีข้าข้ใจความ แตกต่าต่งหลากหลายรับรัผิดผิชอบต่อต่สังสัคม ให้เห้กียกีรติซึ่ติงซึ่กันกัและ กันกั ในฐานะมนุษนุย์ที่ย์เ ที่ ท่าท่เทียทีมกันกัและมีทิมีศทิทางในการปฏิบัฏิติบัที่ติ ที่ สอดคล้อล้งกันกับนพื้นพื้ฐานแห่งห่การเคารพและเรียรีนรู้ร่รู้วร่มกันกั ด้านที่ 1 การอยู่ร่ยู่วร่มกันในระบบนิเวศการเรียรีนรู้ มุ่งมุ่ยกระดับดัการทำ งานด้าด้นการพัฒพันาความสัมสัพันพัธ์ ของสมาชิกชิทุกทุคนในระบบนิเนิวศการเรียรีนรู้ ให้ทุห้กทุคนรู้จัรู้กจั กัน เข้าข้ใจบทบาทหน้าน้ที่ของกันและกัน ปฏิบัติบั ติหน้าน้ที่ของ ตนเองและให้คห้วามช่วช่ยเหลือลืผู้อื่ผู้ อื่นได้ พูดคุยคุกันกัด้วด้ยความ เคารพ มีคมีวามปรารถนาดีต่ดี ต่อกัน เป้าหมาย · ทุกทุคนในระบบนิเนิวศการเรียรีนรู้ขรู้อง TSS รู้จัรู้กจักัน เข้าใจบทบาทหน้าที่ซึ่งซึ่กันและกัน อยู่ร่วร่มกับความ แตกต่างหลากหลาย และมีคมีวามสัมสัพันพัธ์ที่ธ์ ที่ ดีต่ดี ต่อกัน · ทุกทุคนร่วร่มมือมืกันสร้าร้งสังสัคมแห่งห่การเคารพ และเรียรีนรู้ร่รู้วร่มกัน ด้านที่ 2 การส่งส่เสริมริพฤติกรรมเชิงชิบวก มุ่งมุ่ยกระดับดัการทำ งานด้าด้นการส่งส่เสริมริพฤติกรรม เชิงชิบวก ทั้งทั้เชิงชิป้อป้งกันที่จะติดตั้งตั้วิธีวิคิธี คิดและสร้าร้ง วัฒวันธรรมที่กล่อมเกลาพฤติกรรมที่ดี รับรัผิดผิชอบ และไม่ เพิกพิเฉยต่อปัญหา รวมถึงเชิงชิแก้ไขฟื้นฟื้ ฟูหลังจากเกิด ความผิดผิพลาดด้าด้นพฤติกรรม โดยมุ่งมุ่ทำ งานร่วร่มกับทุกทุ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อข้งอย่าย่งเป็นป็ระบบ เป้าป้หมาย · นักนัเรียรีน เข้าข้ใจบริบริท การอยู่ร่ยู่วร่มกับผู้อื่ผู้ อื่น และไม่เม่พิกพิ เฉยต่อปัญหา · เมื่อมื่มีปัมี ปัญหาด้าด้นพฤติกรรม สามารถจัดจัการและฟื้นฟื้ ฟูได้ โดยความร่วร่มมือมืจากทุกทุส่วส่น ผลลัพธ์ที่ต้องการ (Desired Outcome) · ทุกคนในระบบนิเวศการเรียรีนรู้ขรู้อง TSS รู้จัรู้ จักกัน เข้าใจบทบาทหน้าที่ ซึ่งซึ่กันกัและกันกัอยู่ร่ยู่วร่มกับกัความแตกต่าต่งหลากหลาย และมีคมีวามสัมสัพันพัธ์ที่ธ์ดีที่ต่ดีอต่กันกั · ทุกคนร่วร่มมือกันสร้าร้งแห่งห่การเคารพและเรียรีนรู้ร่รู้วร่มกัน · นักเรียรีน เข้าใจบริบริท การอยู่ร่วร่มกับผู้อื่น และไม่เพิกเฉยต่อปัญหา · เมื่อมีปัญหาด้านพฤติกรรม สามารถจัดการและฟื้นฟื้ ฟูได้ โดยความร่วร่ม มือจากทุกส่วน


ทัศนคติ การเข้าใจสิทธิของตนเองและผู้อื่น เคารพกัน ระบบการดูแลและสะท้อนที่ดีและต้องต่อเนื่อง จะทำ ให้ ทุกคนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข เกื้อหนุนกัน ร่วมมือกัน และไม่เพิกเฉยต่อปัญหา ส่งผลต่อเนื่องให้ สามารถพัฒพันาพฤติกรรมเชิงชิบวกของผู้เผู้รียรีนได้ ซึ่งซึ่เป็นป็ ภูมิคุ้มกันสำ หรับตัวผู้เรียนและสังคมในการจัดการ ปัญหาต่างๆ ได้อย่างยั่งยั่ยืน สิ่งสิ่ที่จะทำ เพื่อพื่ ให้ยุทธศาสตร์นี้ร์ นี้ สำ เร็จร็ · พูดคุยคุแนวทาง ปรับรัความเข้าข้ใจและการปฏิบัติบั ติที่ตรงกัน ในกิจกรรมเตรียรีม ความพร้อร้มนักนัเรียรีน การปฐมนิเนิทศบุคบุลากร วงประชุม วงสะท้อท้น วงนิเนิทศ ฯลฯ รวมถึงส่งส่เสริมริจิตจิวิทวิยาเชิงชิบวกให้ทุห้กทุคน · แนะนำ การมีอมียู่ขยู่องทุกทุคนในองค์กร · เพิ่มพิ่ทักษะการสื่อสื่สาร และการคลี่คลายความขัดขัแย้งย้สำ หรับรัทุกทุคน · สร้าร้งความเข้าข้ใจในการร่วร่มมือมืการปรับรัเปลี่ย ลี่ นพฤติกติรรมนักนัเรียรีนร่วร่มกันกั · จัดจัระบบวิธีวิกธีารทำ งานร่วร่มกันระหว่าว่งบ้าบ้นกับโรงเรียรีนในมิติมิ ติต่างๆ · สร้าร้งพื้นพื้ที่ให้ผู้ห้ ปผู้ กครอง และคุณคุครู ได้ปฏิสัมสัพันพัธ์กัธ์ กันมากขึ้นขึ้ · จัดจักิจกรรมห้อห้งเรียรีนพ่อพ่แม่ที่ม่ ที่ เข้มข้ข้นข้และเข้าข้ถึงได้ทุกทุคน · จัดจั ให้ผู้ห้ ปผู้ กครอง ครู และผู้เผู้รียรีน เข้าข้ร่วร่มกิจกรรมอย่าย่งทั่วทั่ถึง ทุกทุกิจกรรม · จัดจัระบบครูที่ปรึกรึษา ครูประจำ ชั้นชั้และทำ ความเข้าข้ใจและวิธีวิปธีฏิบัติบั ติในทิศทาง เดียวกัน ตัวชี้วั ชี้ ดวัความสำ เร็จร็ · บรรยากาศภาพรวมโรงเรียรีนส่งส่เสริมริการเรียรีนรู้ และการเคารพกัน · มีกิมี กิจกรรมการมีอมียู่ร่ยู่วร่มกันของทุกทุคนในระบบนิเวศ ที่แทรกอยู่ใยู่นทุกทุ ๆ กิจกรรม และนักเรียรีน ผู้ปผู้ กครอง ครู รวมถึงเจ้าจ้หน้าที่ เข้าข้ร่วร่มจริงริ · มีรมีะบบ และกิจกรรมในการสร้าร้งความเข้าข้ใจระบบนิเวศการเรียรีนรู้ ทุกทุคนเข้าข้ใจบทบาทของตนเองมากขึ้นขึ้ · ทุกทุคนมีส่มีวส่นร่วร่มอย่าย่งใดอย่าย่งหนึ่งในการร่วร่มสร้าร้งโรงเรียรีน · มีวมีงสำ หรับรัการพูดคุยคุกับผู้ปผู้ กครองเป็นประจำ · บุคลากรทุกทุคนปฏิบัติบั ติในทิศทางเดียวกัน · มีกิมี กิจกรรมที่เปิดพื้นพื้ที่ ให้นัห้ นักเรียรีนกล้าเรียรีกร้อร้งสิทสิธิ์ขธิ์องตนเอง และไม่ลม่ะเมิดมิสิทสิธิ์ผู้ธิ์อื่ผู้ อื่น วิธีวิกธีารติดตามความคืบหน้าน้ของการดำ เนินนิการ · สำ รวจความพึงพึพอใจในการอยู่ใยู่นโรงเรียรีน เช่นช่ระดับความสุขสุ ที่ได้มาโรงเรียรีน · บรรยากาศในโรงเรียรีน · วงพูดคุยคุของครู เจ้าจ้หน้าที่ · วงพูดคุยคุของนักเรียรีน เช่นช่ตัวแทนชั้นชั้ ปี กรรมการนักเรียรีน · จำ นวนกรณีพฤติกรรมเด็กลดลง ระบบการจัดจัการพฤติกรรม สามารถปิดเคสได้เร็วร็ขึ้นขึ้


ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเรียนรู้ไร้รอยต่อ ยุทธศาสตร์กร์ารเรียรีนรู้ไรู้ร้รร้อยต่อ หมายถึง การส่ง เสริมริ ให้ผู้เรียรีนได้เรียรีนรู้แรู้ละพัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ ของตน โดยอาศัยประโยชน์จากการทำ งานที่เชื่อชื่มประสาน และส่งส่เสริมริซึ่งซึ่กันและกัน ขององค์ประกอบสำ คัญ 3 องค์ ประกอบ ได้แก่ การเรียรีนการสอน การประเมินมิการเรียรีนรู้ การสนับสนุนการเรียรีนรู้นรู้อกห้อห้งเรียรีน ด้านที่ 1 การเรียรีนรู้แรู้ละการประเมินมิที่เป็นป็เนื้อนื้เดียวกัน มุ่งมุ่ยกระดับดัการทำ งานด้าด้นการประเมินมิที่มุ่งมุ่เน้นน้การ เรียรีนรู้ (Learning-Oriented Assessment) ให้คห้รูสรูามารถ ออกแบบและจัดจัการประเมินมิด้วด้ยความเข้าข้ใจที่ถูกถูต้องและมี ทิศทางเดียดีวกัน เพื่อพื่จะได้เด้ข้าข้ใจความจริงริของการเรียรีนรู้ ของผู้เผู้รียรีนแต่ลต่ะคน และนำ สารสนเทศที่ไที่ด้จด้ากการประเมินมิ ไปใช้ปช้ระโยชน์ในการจัดจัการเรียรีนการสอน (AssessmentDriven Instruction) และสื่อสื่สารผลการเรียรีนได้อย่าย่ง ชัดชัเจน มีรมีายละเอียดในการพัฒพันา เป้าป้หมาย · การประเมินมิมีคมีวามหมายและให้คห้วามรู้สึรู้กสึเชิงชิบวก เป็นป็ ประสบการณ์กณ์ารเรียรีนรู้ที่รู้ที่ทุกทุคนเรียรีกหา · ผลการประเมินมิการเรียรีนรู้สรู้ะท้อนความสามารถจริงริตรง ไปตรงมา ตามเกณฑ์การประเมินมิ (Rubric) ที่กำ หนด · การเรียรีนการสอนถูกถูออกแบบให้เห้หมาะกับ ผู้เผู้รียรีนโดยใช้ปช้ระโยชน์จน์ากสารสนเทศการประเมินมิ ด้านที่ 2 การสนับนัสนุนนุการเรียรีนรู้แรู้บบจำ เพาะบุคคล ที่เชื่อชื่มโยงกันทั้งในและนอกห้องเรียรีน มุ่งมุ่ยกระดับดัการทำ งานด้าด้นการสนับนัสนุนนุการ เรียรีนรู้นรู้อกห้อห้งเรียรีนที่เที่หมาะสมกับกับริบริท ความจำ เป็นป็ และศักศัยภาพของผู้เผู้รียรีนแต่ลต่ะคน โดยอาศัยศัสารสนเทศ จากการประเมินมิ ในห้อห้งเรียรีนเป็นป็สำ คัญคัรวมถึงถึระบบ การเทียทีบโอนความสามารถและประสบการณ์จณ์ากนอก ห้อห้งเรียรีนด้วด้ย เป้าป้หมาย · นักนัเรียรีนทุกทุคนได้รัด้บรัการส่งส่เสริมริตามความจำ เป็นป็ ของบุคคลอย่าย่งเป็นป็ระบบ ทั้งทั้ ในและนอกห้อห้งเรียรีน · มีรมีะบบการรายงานผลที่ยืดยืหยุ่นยุ่และสะท้อนความ สามารถปัจจุบันบั เม.ย. ผลลัพธ์ที่ต้องการ · การเรียรีนการสอนและการประเมินสอดประสานและส่งเสริมริซึ่งซึ่กันและกัน · การสนับสนุนการเรียรีนรู้เรู้กิดขึ้นทั้งทั้ ในห้อห้งเรียรีนและนอกห้อห้งเรียรีนเชื่อม โยงกันอย่างเป็นระบบ


การเรียนรู้และการประเมินเป็นสิ่งที่จำ เป็นต้องทำ ควบคู่กันไปอย่างต่อเนื่อง โดยการประเมินจะนำ ไปสู่ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน ซึ่งซึ่เป็นประโยชน์ทั้งในการปรับปรุงการเรียนการสอน อย่างทันท่วงที รวมถึงเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริม การเรียรีนรู้นรู้อกห้อห้งเรียรีนที่เ ที่ หมาะสมกับกับริบริทความจำ เป็นป็ และศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน สิ่งสิ่ที่จะทำ เพื่อพื่ ให้ยุทธศาสตร์นี้ร์ นี้ สำ เร็จร็ · พัฒพันาระบบการพัฒพันาครู ที่ใที่ ช้กช้ารประเมินมิที่เ ที่ อื้ออื้ต่อต่การส่งส่เสริมริการเรียรีนรู้ (Learning Oriented Assessment) เพื่อให้คห้รูได้รับรั ประสบการณ์ตรง จากการประเมินมิลักษณะนี้ ทั้งทั้ workshop และ on the job training · พัฒพันาครูใรูนประเด็นด็การเรียรีนการสอนที่ใที่ ช้กช้ารประเมินมิเป็นป็ตัวตัขับขัเคลื่อน (Assessment-Driven Instruction) ทั้งทั้ workshop และ on the job training · ทำ ความเข้าข้ใจนักนัเรียรีนและผู้ปผู้ กครอง ทั้งทั้ผ่าผ่นการเรียรีนการสอนปกติ workshop และการชี้แ ชี้ จงจากส่วส่นกลาง · ทำ คู่มืคู่อมื (Handbook) ที่เข้าข้ใจง่ายสำ หรับรัครู · เสนอแนวทางเพื่อพื่พัฒพันาระบบสารสนเทศที่ช่ ที่ วช่ยให้กห้ารบันบัทึกทึและติดติตาม เป็นป็สิ่งสิ่ที่ทำ ได้ง่ด้ ง่าย เชิญชิชวนให้เห้ข้าข้ไปใช้บ่ช้อบ่ยๆ และนักนัเรียรีนเห็นห็ผลได้ทัด้ ทันที · พัฒพันาระบบการส่งส่เสริมริการเรียรีนรู้นรู้อกห้อห้งเรียรีนที่ส ที่ อดคล้อล้งกับกัความ จำ เป็นป็และตอบสนองต่อการเรียรีนรู้ใรู้นห้อห้งเรียรีน · พัฒพันาระบบการเทียบเคียงสมรรถนะ และเทียบโอนหน่วน่ยกิตให้ชัห้ดชัเจน ยืดยืหยุ่นยุ่และทุกทุคนเข้าข้ถึงได้ ตัวชี้วั ชี้ ดวัความสำ เร็จร็ · นักเรียรีนมีความรู้สึรู้ สึกเชิงบวกกับการประเมิน พร้อร้มเข้ารับรั การประเมิน และใช้ศักยภาพที่มีอย่างเต็มที่ในการประเมิน · ครูทุกทุคนอธิบธิายการปฏิบัติบั ติเกี่ยวกับการประเมินมิของตนเอง ได้ โดยอิงกับหลักการเดียวกัน และอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ · นักเรียรีนยอมรับรัผลการประเมินมิว่าว่สะท้อนความสามารถจริงริ · ครูออกแบบและจัดการเรียรีนการสอนที่แตกต่างกันไปใน แต่ละห้อห้งเรียรีน แต่ละกลุ่ม แต่ละคน โดยอิงจากสารสนเทศ การประเมินมิ · นักเรียรีนได้รับรัการสนับสนุนการเรียรีนรู้แรู้บบจำ เพาะบุคคล (Differentiated Support) ทั้งทั้ ในและนอกห้อห้งเรียรีน · มีระบบการเทียบเคียงสมรรถนะ และเทียบโอนหน่วยกิต ที่ชัดชัเจน ยืดยืหยุ่นยุ่และสะท้อนความสามารถปัจจุบันบั วิธีวิกธีารติดตามความคืบหน้าน้ของการดำ เนินนิการ · ประสบการณ์และเสียสีงสะท้อนจากนักเรียรีน · การเปิดชั้นชั้เรียรีนของครู · การนิเทศการสอน


ยุทธศาสตร์ที่ 3 พื้นที่ปลอดภัยในโรงเรียน สมาชิกชิ ในโรงเรียรีนสาธิตธิแห่งห่มหาวิทวิยาลัยธรรมศาสตร์ ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ล้วนแล้วแต่มีความแตกต่างและ หลากหลาย ซึ่งซึ่เป็นต้นทุนที่มีคุณค่าในแง่ของการเรียรีนรู้กรู้าร เติบโตของทุกคน ที่ผลซึ่งซึ่กันและกัน การเห็นห็อกเห็นห็ ใจซึ่งซึ่กัน และกัน เมื่อมื่อยู่ร่ยู่วร่มกันในสังสัคมเป็นประเด็นที่เชื่อชื่มโยงไปสู่กา สู่ ร มีสุขภาวะที่ดี ทั้งทั้ด้านจิตจิ ใจ สังคม ส่งผลต่อคุณภาพชีวิชีตวิของ ทุกทุคน กระบวนการในการสร้าร้งพื้นพื้ที่ข ที่ องความปลอดภัยภั ไว้วว้างใจ เข้าข้ใจซึ่งซึ่กันและกัน พร้อร้มที่จะเรียรีนรู้ร่รู้วร่มกันบนความแตกต่าง หลากหลายจึงจึเป็นสิ่งสิ่ที่สำ คัญอย่าย่งยิ่งยิ่ ผลลัพธ์ที่ธ์ ที่ ต้องการ (Desired Outcome) · สุขสุภาพจิตจิคุณคุภาพชีวิชีตวิและความสัมสัพันพัธ์ขธ์องคนในโรงเรียรีนทุกทุส่วส่นดีขึ้นขึ้ ด้านที่ 1 การจัดจัระบบข้อข้มูลนักเรียรีน มุ่งยกระดับการทำ งานด้านข้อมูลด้านสุขภาพของ นักนัเรียรีนให้ผู้ห้ที่ผู้ ที่เกี่ยวข้อข้งสามารถเข้าข้ถึง ส่งส่ต่อ ใช้งช้านได้ อย่าย่งเป็นป็ระบบและเป็นป็ ปัจจุบันบัเพื่อพื่ ให้สห้ามารถให้กห้าร สนับนัสนุนนุด้าด้นสุขสุภาพรวมถึงการเรียรีนรู้อัรู้อันเนื่อนื่งมาจาก สุขสุภาพได้อด้ย่าย่งทันท่วงที เป้าป้หมาย · ครูแรูละบุคลากร ใช้ข้ช้อข้มูลที่เกี่ยวข้อข้งกับสุขสุภาพของ นักนัเรียรีน ในการดูแดูลเด็กด็ ได้อด้ย่าย่งต่อเนื่อนื่งและสม่ำ เสมอ ด้านที่ 2 การดูแดูลนักเรียรีนที่มีคมีวามต้องการ พิเพิศษ และความแตกต่างหลากหลาย มุ่งยกระดับการทำ งานด้านการส่งเสริมริการ เรียรีนรู้ขรู้องนักนัเรียรีนที่มีคมีวามต้องการพิเพิศษ ให้ไห้ด้รัด้บรั ประสบการณ์การเรียรีนรู้ใรู้นโรงเรียรีนที่เหมาะสมกับ ศักยภาพ ทั้งทั้ด้าด้นวิชวิาการ และทักษะทางสังสัคม ด้วด้ย ความร่วร่มมือมืจากครูปรูระจำ วิชวิา ครูปรูระจำ ชั้นชั้ครูที่รูปที่รึกรึษา รวมถึงผู้ปผู้ กครอง เป้าป้หมาย · นักนัเรียรีนที่มีคมีวามต้องการพิเพิศษมีแมีผนในการ เรียรีนรู้ที่รู้ที่เหมาะสมกับศักยภาพ ด้านที่ 3 ระบบนิเวศในการสร้าร้งเสริมริสุขสุภาพ จิตจิและการอยู่ร่ยู่วร่มกัน มุ่งมุ่ยกระดับการทำ งานด้านการให้คำห้ คำ ปรึกรึษา ให้ทั่ห้ ทั่วทั่ถึงกลุ่มลุ่คนทุกทุวัยวัทั้งทั้นักเรียรีน ผู้ปผู้ กครอง ครู และเจ้าจ้หน้าที่ รวมถึงกิจกรรมที่เชื่อชื่มโยงผู้คผู้ นของ ระบบนิเวศเอาไว้ด้วยกัน เพื่อสร้าร้งความเข้มแข็ง ทางจิตจิ ใจและช่วช่ยเหลือซึ่งซึ่กันและกัน เป้าป้หมาย · สร้าร้งเสริมริสุขสุภาพจิตจิอย่าย่งเป็นป็ระบบร่วร่มกับกัส่วส่น งานต่างๆ ในโรงเรียรีน เช่น Empathy Center กิจกิกรรมการเรียรีนรู้ด้รู้าด้นสุขสุภาวะในชั้นชั้เรียรีน กิจกิกรรม ประจำ ปีขปีองนักนัเรียรีน การเชื่อชื่มโยงกับผู้ปผู้ กครอง


ยุทธศาสตร์พื้นที่ปลอดภัยในโรงเรียน หมายถึง การดูแลสุขภาพจิต และคุณภาพชีวิตของสมาชิกในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ ที่ต้องอาศัย ความเชื่อมโยงและการร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน จุดร่วมที่ สำ คัญคือการเข้าอกเข้าใจซึ่งกันเมื่อต้องอยู่ร่วมกันท่ามกลางความ แตกต่างและหลากหลาย ทั้งศักยภาพ ความชอบ ทัศนคติ และรวมถึง ต้นทุนทางครอบครัว บนเส้นทางการเรียนรู้และการอยู่ร่วมกันของทุก คนอาจมีโอกาสในการเผชิญกับสถานการณ์ที่ยากลำ บาก ไม่ว่าจะเป็น นักเรียน พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือครู การเข้าใจกับเรื่องราวนั้นจนทำ ให้ ก้าวข้ามผ่านไปได้จำ เป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมและกลยุทธ์ที่ชัดชัเจน ในการดำ เนินงาน สิ่งสิ่ที่จะทำ เพื่อพื่ ให้ยุทธศาสตร์นี้ร์ นี้ สำ เร็จร็ · กลไกสร้าร้งห้องเรียรีน/ที่ทำ งานปลอดภัย และกระบวนการสร้าร้งความ เข้าใจในผู้เรียรีนที่มีความแตกต่างหลากหลายและส่งเสริมริการดูแลร่วร่มกัน ระหว่าว่ง ครู ผู้ปผู้ กครองและนักนัเรียรีน · Workshop - Case Conference - Health Questionnaire Screening - Empathy Center - IEP · โครงการ TSS Wellness (ห้องพยาบาลมาตรฐาน ยาและเวชภัณฑ์ มีคุมีณคุภาพ ตรวจสุขสุภาพประจำ ปีและติดตามกลุ่มลุ่เสี่ย สี่ ง อุบัติบั ติเหตุช่ตุวช่ยเหลือ ทันที (รพธ. ประกันอุบัติบั ติเหตุ)ตุกายภาพบำ บัดบับุคลากร Office Syndrome กิจกรรมทางกายสร้าร้งความแข็งข็แรง ร้าร้นอาหารสะอาดปลอดภัย · กระตุ้นตุ้และเอื้อให้นัห้กนัเรียรีนและผู้ปผู้ กครองมีส่มีวส่นร่วร่มในการดูแดูลกันกัและกันกั ตัวชี้วั ชี้ ดวัความสำ เร็จร็ · ข้อข้มูลด้าด้นสุขสุภาพถูกถูบันบัทึกทึอย่าย่งเป็นป็ระบบ เข้าข้ถึงถึได้ง่ด้ ง่าย และเป็นป็ ปัจจุบันบั · นักนัเรียรีนที่มี ที่ คมีวามต้อต้งการพิเพิศษได้รัด้บรัการตรวจวินิวิจนิฉัยฉัผู้ปผู้ กครอง ยอมรับรัและได้รับรัแผนการเรียรีนรู้ที่รู้ ที่ เหมาะสมกับศักยภาพ · ทุกทุคนรับรัมือมืกับสถานการณ์ที่ยากลำ บากได้ เช่นช่การติดตาม ผลลัพธ์ด้ธ์ ด้านการเรียรีน ข้อข้มูลจากผู้ปผู้ กครองหรือรืครู · ทุกทุคนมีทมีางเลือกสุขสุภาพที่เหมาะสมกับตนเอง (Personalized Healthcare) ผลสะท้อนสุขสุภาพจิตจิสุขสุภาพกาย วิธีวิกธีารติดตามความคืบหน้าน้ของการดำ เนินนิการ · ระบบสารสนเทศเกี่ยวกับข้อข้มูลสุขสุภาพนักเรียรีน · วงพูดคุยคุกับกัครู เกี่ย กี่ วกับกัศักศัยภาพของนักนัเรียรีนและการเรียรีน การสอนที่จัดจั · วงพูดคุยคุกับผู้ปผู้ กครอง เกี่ยวกับการเรียรีนรู้ขรู้องบุตรหลาน · บันบัทึกสรุปของ Empathy Center


ยุทธศาสตร์ที่ 4 เครือข่ายและการเชื่อชื่มสู่นานาชาติ การพัฒพันาโรงเรียรีนทั้งทั้ ในด้าด้นศักยภาพของนักเรียรีน และคุณครูมีความจำ เป็นที่จะต้องใช้แช้นวคิดและหลักการที่ หลากหลายและเป็นที่ยอมรับรัการสร้าร้งเครือรืข่ายและการ เชื่อชื่มสัมสัพันพัธ์กัธ์ กับองค์กรต่างๆ ทั้งทั้ ในและต่างประเทศจะช่วช่ย ให้โห้รงเรียรีนมีช่มีอช่งทางในการพัฒพันานักนัเรียรีนและบุคบุลากรเพิ่มพิ่ มากขึ้นขึ้สามารถนำ องค์ความรู้ใรู้นการขับขัเคลื่อนสังสัคมได้ ด้านที่ 1 ความร่วร่มมือมืของเครือรืข่าข่ย มุ่งมุ่ยกระดับดัการทำ งานเชิงชิรุกรุเกี่ยวกับเครือรื ข่าข่ย ทั้งทั้การเพิ่มพิ่จำ นวนและความหลากหลายของ เครือรืข่าข่ยที่ตอบสนองความต้องการ รวมถึงการ ทำ งานกับเครือรืข่าข่ยอย่าย่งต่อเนื่อนื่ง เป้าป้หมาย · โรงเรียรีนมีเมีครือรืข่าข่ยเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้ทั้งทั้ภาครัฐรัและ เอกชน ทั้งทั้ ในและต่างประเทศ ด้านที่ 2 การเชื่อชื่มสู่นสู่ านาชาติ มุ่งมุ่ยกระดับดัการทำ งานกับนานาชาติ ทั้งทั้การพัฒพันา บุคลากรให้พห้ร้อร้ม และการสร้าร้งความร่วร่มมือมืกับนานาชาติ ในการส่งส่เสริมริการเรียรีนรู้ใรู้ห้กัห้ กับนักเรียรีน รวมถึงการสร้าร้ง โอกาสในการเรียรีนรู้ที่รู้ห ที่ ลากหลายและยืดยืหยุ่นยุ่ก้าก้วข้าข้มนิยนิาม เดิมดิของการจัดจัการศึกษาในโรงเรียรีน เป้าป้หมาย · ครูแรูละนักนัเรียรีนเก่งภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม · นักนัเรียรีนได้ได้ปแลกเปลี่ยนโรงเรียรีนในต่างประเทศ · โรงเรียรีนมีคมีวามร่วร่มมือมืด้าด้นหลักลัสูตสูรและประกาศนียนีบัตบัร ระดับดัมัธมัยมศึกษากับโรงเรียรีนในต่างประเทศ ผลลัพลัธ์ที่ธ์ ที่ ต้องการ (Desired Outcome) · ได้ใด้ช้ปช้ระโยชน์จน์าก MOU ที่ทำ ที่ ทำ ไปแล้ว · ครูแรูละนักนัเรียรีนเก่งก่ภาษาอังกฤษและภาษาที่ส ที่ าม · นักนัเรียรีนได้ได้ปแลกเปลี่ยนโรงเรียรีนในต่าต่งประเทศ และ · โรงเรียรีนมีเมีครือรืข่าข่ยเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้ทั้งทั้ภาครัฐรัและเอกชน ทั้งทั้ในและต่าต่งประเทศ · การเข้าข้ถึงถึข้อข้มูลของ TSS สำ หรับรัต่าต่งชาติ ทำ ได้ง่ด้ ง่ายขึ้นขึ้


ยุทธศาสตร์เครือข่ายและการเชื่อชื่มสู่นานาชาติหมายถึง การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ ที่สอดคล้องกับทิศทางและแนวทางการจัดการเรียนรู้ ของโรงเรียน ทั้งภาครัฐ เอกชน ผู้ประกอบการ สถาบัน วิชาการ สถานศึกษา ตลอดจนการทำ งานเชื่อมโยงกับ การขับเคลื่อนสังคม สิ่งสิ่ที่จะทำ เพื่อพื่ ให้ยุทธศาสตร์นี้ร์ นี้ สำ เร็จร็ · ทบทวน MOU ที่มีอมียู่แยู่ล้ว ว่าว่จะสร้าร้งประโยชน์ยัน์งยัไงบ้าบ้ง · เพิ่มพิ่ความร่วร่มมือมืกับองค์กรเอกชน (เชิงชิรุกรุ ) · มีคมีวามร่วร่มมือมืกับมหาวิทวิยาลัยและโรงเรียรีนต่างประเทศเพิ่มพิ่มาก ขึ้นขึ้และเป็นป็ โครงการระยะยาว · ทำ ความร่วร่มมือมืกับหน่วน่ยงานต่างชาติเพื่อพื่เทียบโอนหน่วน่ยกิต · จัดจั โครงการะยะยาวกับหน่วน่ยงานเอกชน · สนับนัสนุนนุการเรียรีนภาษาอังอักฤษให้บุห้คบุลากร จัดจัคลาสภาษาเพิ่มพิ่เติมติ · ปรับรัการสื่อสื่สารในช่อช่งทางต่างๆ ของโรงเรียรีนให้มีห้ภมีาษาอังกฤษ ตัวชี้วั ชี้ ดวัความสำ เร็จร็ · การใช้ปช้ระโยชน์จาก MOU ที่มีอมียู่แยู่ล้ว · การสร้าร้งความร่วร่มมือมืใหม่ การต่อต่อายุ และการขยายความร่วร่มมือมื · จำ นวนเครือรืข่าข่ย และความหลากหลายของเครือรืข่าข่ยครอบคลุมลุ กับความต้องการ · มีเมีป็นโครงการระยะยาวที่ทำ กับเครือรืข่าข่ย · ทำ ความร่วร่มมือมืกับหน่วยงานต่างชาติเพื่อพื่เทียบโอนหน่วยกิต · สนับสนุนการเรียรีนภาษาอังกฤษให้บุห้บุคลากร จัดคลาสภาษา เพิ่มพิ่เติม · สื่อสื่ของโรงเรียรีนที่เ ที่ ผยแพร่ผ่ร่าผ่นช่อช่งทางต่าต่งๆ เป็นป็ภาษาอังอักฤษ วิธีวิกธีารติดตามความคืบหน้าน้ของการดำ เนินนิการ · เกิดการนำ ประโยชน์จาก MOU มาใช้ เช่นช่การศึกษา ต่อของนักเรียรีนและคุณคุครู · นักเรียรีนและครูสื่อสื่สารภาษาอังกฤษได้ร้อร้ยละ 80 · มีกมีารเทียบโอนหน่วยกิตในรายวิชวิาต่างๆ กับโรงเรียรีน ต่างชาติ


คำ ศัพท์ คำ อธิบธิาย การเรียรีนรู้นรู้อกห้อห้งเรียรีน กระบวนการที่เกิดขึ้นขึ้นอกเหนือนืจากตารางเรียรีนที่กำ หนดตามหลักสูตสูร ที่สืบสืเนื่อนื่งหรือรื ส่งเสริมริ ให้กห้ารเรียรีนรู้ใรู้นห้อห้งเรียรีนเป็นไปอย่างเต็มประสิทธิภาพ ด้วยวิธีการที่หลาก หลาย ยืดยืหยุ่นยุ่ตามลักษณะและความจำ เป็นป็ที่แตกต่างกันของผู้เผู้รียรีนแต่ละคน การประเมินมิที่มุ่งมุ่เน้นน้การเรียรีนรู้ (Learning Oriented Assessment) การประเมินมิที่มีจุมีจุดมุ่งมุ่หมายเพื่อพื่ ให้ไห้ด้สด้ารสนเทศที่หลากหลาย รอบด้าด้น ทันท่วงที่ เพื่อพื่ที่ จะทำ ความเข้าใจผู้เรียรีนแต่ละคน รวมถึงกระบวนการที่ครูใช้ ที่จะนำ ไปสู่การปรับรั ปรุง กระบวนการเรียรีนรู้ไรู้ด้อด้ย่าย่งทันที หรือรืให้คำห้ คำแนะนำ ผู้เผู้รียรีนได้อด้ย่าย่งทันที เพื่อพื่ ให้กห้ารเรียรีนรู้ ในเรื่อรื่งนั้นนั้ๆ เป็นป็ ไปอย่าย่งเต็มประสิทสิธิภธิาพ การเรียรีนการสอนที่ใช้กช้ารประเมินมิ เป็นป็ตัวขับขัเคลื่อน (AssessmentDriven Instruction) การเรียรีนการสอนหรือรืกิจกรรมการเรียรีนรู้ที่รู้ที่ออกแบบโดยสอดแทรกวิธีวิคิธี คิดเกี่ยวกับการ ประเมินมิที่มุ่งมุ่เน้นน้การเรียรีนรู้ และใช้ปช้ระโยชน์จน์ากสารสนเทศการประเมินมิมาปรับรั ปรุงรุและ พัฒพันากระบวนการในระหว่าว่งทาง เพื่อพื่ส่งส่เสริมริ ให้ผู้ห้เผู้รียรีนสามารถพัฒพันาตนเองได้อด้ย่าย่ง เต็มตามศักยภาพ การเทียบเคียงสมรรถนะ (Benchmarking) กระบวนการที่เปิดปิ โอกาสให้ผู้ห้เผู้รียรีนได้แด้สดงความสามารถของตนเองหลังจากที่ได้ฝึด้ ฝึกฝน และพัฒนาตนเองจนมีความสามารถสูงกว่าผลการเรียรีนที่เคยได้รับรัเพื่อปรับรั ปรุงผล การเรียรีนของตนให้ตห้รงกับความสามารถจริงริในปัจจุบันบั การสนับนัสนุนนุการเรียรีนรู้จำรู้จำเพาะบุคบุคล (Differentiated Support) กระบวนการที่เที่กิดกิจากความคิดคิความเชื่อชื่ที่ว่ที่าว่ผู้เผู้รียรีนแต่ลต่ะคนมีธมีรรมชาติขติองการเรียรีนรู้ แตกต่างกัน การเรียรีนรู้ภรู้ายใต้จุดประสงค์การเรียรีนรู้เรู้ดียวกัน ผู้เรียรีนแต่ละคนอาจ จำ เป็นป็ต้องได้รัด้บรัการส่งส่เสริมริสนับนัสนุนนุในรูปรูแบบที่แตกต่างกัน ทรัพรัยากร (เวลา วัสวัดุ อุปกรณ์ เงิน) และวิธีวิกธีาร (กิจกรรม การให้คห้วามช่วช่ยเหลือ) เพื่อพื่ส่งส่เสริมริ ให้ผู้ห้เผู้รียรีน สามารถพัฒพันาตนเองได้อด้ย่าย่งเต็มตามศักยภาพ การนิเนิทศการเรียรีนรู้ (Instructional Supervision) การสะท้อนสิ่งที่เกิดขึ้นกับผู้เรียรีนผ่านการเปิดห้องการเรียรีนรู้แรู้ละการเยี่ยมห้องการ เรียรีนรู้ขรู้องครูอาจารย์ โดยมีวมีงจรของการนิเทศจากการจัดจัการเรียรีนรู้ (Action) และ สะท้อนผล (Reflection) และ พัฒพันาการจัดจัการเรียรีนรู้ มีกมีารร่วร่มมือมืกันของครูอรูาจารย์ ผ่าผ่นการบูรณาการ (Integrating) การประยุกต์ (Applying) และเกิดการเรียรีนรู้ร่รู้วร่มกัน ของครูอรูาจารย์ภย์ายในองค์กร (Learning Community) นักนัเรียรีนที่มีคมีวามต้องการพิเพิศษ นักนัเรียรีนที่ต้องได้รัด้บรัการดูแดูลช่วช่ยเหลือด้าด้นการเรียรีนรู้ การเรียรีนรู้แรู้ละอยู่ร่ยู่วร่มกับผู้อื่ผู้ อื่น ได้รัด้บรัยืนยืยันยัผลการตรวจโดยจิตจิเเพทย์ มีรมีายงานยืนยืยันยัแนวทางในการช่วช่ยเหลือและ ดูแดูลชัดชัเจน Health Questionnaire Screening คำ ถามคัดกรองที่เกี่ยวข้อข้งกับอารมณ์ ความคิดและความรู้สึรู้กสึตลอดจนพฤติกรรม สุขสุภาพที่เกิดขึ้นขึ้ ในช่วช่งใดช่วช่งหนึ่งนึ่ Individualized Education Program (IEP) ระบบในการช่วช่ยเหลือ ดูแดูลและสนับนัสนุนนุนักนัเรียรีนที่มีคมีวามต้องการพิเพิศษให้สห้ามารถ เรียรีนในชั้นชั้เรียรีนที่มีคมีวามแตกต่างหลากหลายได้ อภิธานศัพท์


ข้อมูลพื้นฐาน ของโรงเรียน จัดตั้งขึ้นโดย อาศัยอำ นาจตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2531 มาตรา 8 และมาตรา 18(3) ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยให้เป็นหน่วย งานภายในภายใต้การกำ กับของคณะวิทยาการเรียรีนรู้แรู้ละศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) “เพื่อให้มหาวิทวิยาลัยธรรมศาสตร์ ดำ เนินการตามพันธกิจในการจัดการศึกษา ให้แก่ประชาชนในทุกระดับ ทุกวัยวั ” โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทวิยาลัยธรรมศาสตร์


การจัดจัการศึกษา โรงเรียรีนสาธิตธิแห่งห่มหาวิทวิยาลัยธรรมศาสตร์ จัดจัการศึกษาระดับมัธมัยมศึกษา แบ่งบ่เป็น 2 ระดับชั้นชั้ ดังนี้ ระดับมัธมัยมศึกษาตอนต้น (มัธมัยมศึกษาปีที่ปี ที่ 1-3) เพื่อพัฒนาผู้เรียรีน ให้มีห้คมีวามรู้พื้รู้ พื้นฐาน เป็นเครื่อรื่ง มือในการเรียรีนรู้แรู้ละดำ รงชีวิชีวิตอย่างมีคุณภาพ และส่ง เสริมริ ให้ผู้ห้ ผู้เรียรีนเกิดการพัฒนาวิธีกธีารกำ กับการเรียรีนรู้ ด้วยตนเอง นอกจากนี้ ยังมีการจัดกระบวนการเรียรีนรู้ ที่เน้นให้เห้กิดการเรียรีนรู้จรู้ากประสบการณ์จริงริ ข้อมูลพื้นฐาน ของโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) มุ่งมุ่สนับนัสนุนนุผู้เผู้รียรีนแต่ลต่ะคนให้ค้ห้นค้พบความชอบ ความ ถนัด และเปิดโอกาสให้ผู้เรียรีนได้ตั้งเป้าหมายการเรียรีนรู้ และเลือกเรียนรู้ในประเด็นที่ตนสนใจ โดยไม่มีการปิด กั้นจากขอบเขตของการแบ่งสายการเรียรีนแบบเดิมผ่าน กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย การให้คำ ปรึกษาเป็น รายบุคคลอย่างเข้มข้น และความร่วร่มมือจากผู้ปกครอง และเครือรืข่ายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียรีนพัฒนาความ สามารถพื้นฐานและความเชี่ยวชาญเฉพาะทางจนบรรลุ เป้าหมายการเรียรีนรู้ขรู้องตนเอง


สั ง ค ม แ ห่ ง ก า ร เ ค า ร พ แ ล ะ เ รี ย น รู้ร่ ว ม กั น


โรงเรียรีนสาธิตธิแห่งมหาวิทวิยาลัยธรรมศาสตร์ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธินธิตำ บลคลองหนึ่งนึ่อำ เภอคลองหลวง จังจัหวัดวั ปทุมทุธานี 12121 โทรศัพท์ : 02-564-4441-79 ต่อ 6761, 6776 e-mail : [email protected] http://www.facebook.com/thammasatsecondaryschool http://www.facebook.com/thammasatsecondaryschool


Click to View FlipBook Version