The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มโครงร่างวิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nooch_wittaya, 2022-03-08 02:58:12

เล่มโคร่งร่างวิจัยในชั้นเรียน

เล่มโครงร่างวิจัยในชั้นเรียน

โครงร่างงานวจิ ยั ในชั้นเรยี น (Classroom Research Proposal)

โครงรา่ งงานวจิ ัยในชั้นเรยี นเปน็ สว่ นหนึ่งของรายวชิ า ปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 3
ประจาปีการศกึ ษา 2565 คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์

เรือ่ ง

การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนบา้ นห้วยใต้ อาเภอลับแล
จงั หวดั อตุ รดิตถ์ เรอ่ื งพลงั งานกล โดยใชก้ ารจดั การเรียนรแู้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E)

โดย

ชอ่ื นางสาวภทั ราภรณ์ นามสกลุ สุวรรณรอด รหัสประจาตวั 62031050148 กลุม่ เรียนที่ 14

1

โครงรา่ งงานวิจยั ในช้ันเรยี นเป็นส่วนหนง่ึ ของรายวชิ า ปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 3

ประจาปีการศึกษา 2565 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์

โครงรา่ งงานวิจัยในชนั้ เรียน
เรื่องการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียน
บ้านห้วยใต้ อาเภอลบั แล จงั หวัดอุตรดติ ถ์ เรื่องพลังงานกล โดยใช้การจดั การเรยี นรู้

แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E)

ท่มี าและความสาคญั ของปญั หา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 บัญญตั ิความตามมาตรา 22 ว่า การจดั การศึกษาต้องยึด
หลักวา่ ผเู้ รียนทกุ คนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ และถอื วา่ ผู้เรียนทกุ คนมคี วามสาคัญที่สดุ กระบวนการ
จัดการศกึ ษาต้องส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพความตามมาตรา 24 (1)
บัญญตั วิ า่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้
สอดคลอ้ งกับความสนใจและความถนดั ของผเู้ รียนโดยคานงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และความตอนหน่ึง
(5) ของมาตราเดยี วกันบญั ญัติว่า ให้ผู้สอนสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ และความ
ตามมาตรา 30 บญั ญัติวา่ ให้สถานศกึ ษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้
ผู้สอนสามารถวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละสถานศึกษา จากความตามมาตราดัง
กลา่ วถงึ ตคี วามว่า

ว 2.3 ม.2/4 กาหนดข้อความเฉพาะตัวชี้วัดว่า ออกแบบและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบาย
ปัจจยั ท่มี ีผลตอ่ พลงั งานจลน์ และพลังงานศกั ย์โนม้ ถ่วง เฉพาะปจั จยั ท่มี ีผลต่อพลงั งานจลน์ และพลังงานศักย์โน้ม
ถ่วง ถกู กาหนดเป็นสาระการเรียนรแู้ กนกลางวา่ พลังงานจลน์เปน็ พลงั งานของวัตถุท่ีเคล่ือนท่ีพลังงานจลน์จะมี
คา่ มากหรอื นอ้ ยขึ้นกบั มวลและอตั ราเร็ว ส่วนพลังงานศกั ยโ์ น้มถว่ งเกี่ยวข้องกบั ตาแหน่งของวตั ถุจะมีคา่ มากหรือ
น้อยขึน้ กับมวลและตาแหน่งของวตั ถุ เม่ือวัตถุอยู่ในสนามโน้มถ่วง วัตถุจะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงพลังงานจลน์
และพลังงานศกั ยโ์ นม้ ถว่ งเปน็ พลังงานกล (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 2551) สาระการเรียนรู้
แกนกลางดงั กล่าวกาหนดอยู่ในหนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เลม่ 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้ชื่อ
เร่ืองว่า พลังงานกล หนังสือดังกล่าวจัดทาโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีหรือ สสวท.
(สสวท. 2554)

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ าวิทยาศาสตร์ใหก้ ับนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้าน
ห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ท่ีเคยเป็นมาพบว่า เฉพาะเร่ืองพลังงานกล ของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ดงั กล่าวจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ e-learning ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้จะ
ประเมนิ 3 ดา้ นรวมกันคอื ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)

2

และกาหนดระดับผลการการเรียนรทู้ ีป่ ระเมนิ เป็น 4 ระดับตามเกณฑ์ประเมนิ ของสานกั งานการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
คือ คอื ดีเยย่ี ม มีร้อยละของค่าคะแนนเฉลยี่ 80 – 100 ดี ร้อยละ 65 – 79 พอใช้ (ผ่าน) ร้อยละ 50 -64 และ
ตอ้ งปรบั ปรงุ (ไมผ่ า่ น) ตา่ กวา่ ร้อยละ 50 สาหรับเกณฑ์การประเมินผ่านเฉพาะรายบุคคลนั้น นักเรียนแต่ละคน
ต้องมผี ลการเรยี นร้ตู ้ังแต่ระดับ ดี สว่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผา่ นทงั้ ช้ันเรยี นนน้ั ตอ้ งมีนกั เรียนอย่างน้อยร้อยละ 70
ของจานวนทั้งหมด มีผลการเรียนรู้ตงั้ แตร่ ะดบั ดี

จากการวดั และประเมนิ ผลรวมท้ังชน้ั เรยี นเรอ่ื งพลงั งานกล ตามเกณฑก์ ารประเมินผา่ นพบวา่ นักเรยี นที่
มีผลการเรยี นรรู้ ะดบั พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 60 ซึ่งต่ากว่าเกณฑ์ประเมินผ่านที่กาหนดคือร้อยละ 70 จากการ
สัมภาษณ์นกั เรยี นพบวา่ สาเหตทุ ี่ทาให้ผลการเรียนรู้ต่ากว่าเกณฑ์การประเมินผ่านที่กาหนดเป็นเพราะว่าขาด
ความรูค้ วามเขา้ ใจในเร่อื งของการทดลอง ไม่ได้ลงมือปฏิบัติจึงไม่เกิดทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ด.ช.ชา
นนท์ สวา่ งศรี (เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ.2564) ให้เหตุผลว่า “ไม่ได้ลงมือปฏิบัติจริง และได้เรียนรู้แค่ทฤษฎีโดย
เรยี นร้ผู า่ น DLTV”ดังกลา่ วก่อนหนา้ ผวู้ ิจัยจึงต้องทาการวจิ ัยเพ่ือพัฒนา/ปรับปรุงผลการเรยี นรู้เรื่อง (สาระการ
เรยี นรู)้ ดงั กลา่ วของนักเรียนระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ด.ญ.
ธรี าภรณ์ อนิ มนเทยี น (เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ.2564) ให้เหตุผลว่า “ได้เรียนรู้แค่ทาง DLTV ไม่มีโอกาสปฏิบัติ
จริง” และด.ช.ณฐั พงษ์ ปัญญาทรง (เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ.2564) ใหเ้ หตุผลว่า “ไม่เข้าใจในเรือ่ งทีเ่ รียนเพราะ
เรยี นรผู้ า่ นทาง DLTV ไม่ได้ลงมือปฏิบัติ” จากสาเหตขุ องปญั หาและความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่อง (สาระการเรยี นร)ู้ พลังงานกล

การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบา้ นห้วยใต้ อาเภอลับ
แล จังหวัดอุตรดิตถ์ เรื่องพลังงานกล โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) การจัดการ
เรียนรู้แบบวัฏจักการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) หมายถึง การสอนท่ีเน้นการถ่ายโอนการเรียนรู้และให้ความสาคัญ
เกย่ี วกบั การตรวจสอบความร้เู ดิมของเดก็ ซง่ึ เปน็ สงิ่ ท่ีครูละเลยไม่ไดและการตรวจสอบความรูพ้ ื้นฐานเดิมของเดก็
จะทาใหค้ รคู นพบว่านกั เรยี นตอ้ เรียนรอู้ ะไรกอ่ นกอ่ นทจ่ี ะเรยี นรใู้ น เนื้อหาบทเรยี นน้นั ๆ ซ่ึงจะชว่ ยใหเ้ ดก็ เกดิ การ
เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีหลักการคือ ในปีค.ศ. 2003 ไอน์เซนคราฟต์ (Eisenkraft, 2003) ได้ขยาย
รูปแบบการสอนโดยใช้แบบวัฏจักรการเรียนรู้จาก 5 ขั้นเป็น 7 ข้ัน ซ่ึงเพ่ิมขึ้นมา 2 ข้ัน คือข้ันตรวจสอบพ้ืน
ฐานความรู้เดมิ ของเด็ก (Elicitation Phase) ในข้นั นีเ้ ปน็ ข้นั ทม่ี คี วามจาเป็นสาหรบั การสอนทีด่ ีเปา้ หมายท่สี าคญั
ในข้ันนีค้ ือการกระต้นุ ให้เดก็ มีความสนใจและต่ืนเตน้ กบั การเรียน สามารถสรา้ งความรอู้ ย่างมีความหมายและขนั้
การนาความรู้ไปใช้ (Extension Phase) เพ่ือให้นักเรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากส่ิงท่ีได้เรียนมาให้เกิด
ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน (ประสาท เนืองเฉลมิ ,2550) การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) มี
ลาดับขนั้ ดังน้ี 1.ขน้ั ตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) 2.ข้ันเร้าความสนใจ (Engagement Phase) 3.
ข้ันสารวจและค้นหา(Exploration Phase) 4.ข้ันอธิบาย (Explanation Phase) 5.ขั้นขยายความคิด
(Expansion Phase/Elaboration Phase) 6.ข้ันประเมินผล (Evaluation Phase) 7.ขั้นนาความรู้ไปใช้
(Extension Phase)
ดวงพร หมวกสกุล, ชวนพิศ ชุมคง และนพเกา ณ พทั ลงุ (2558) ทาการวิจัยเร่ืองผลการจัดการเรียนรูโดยใช้วิธี
สอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู ข้ันร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ

3

เรยี นวทิ ยาศาสตร์และความสามารถในการคดิ วิเคราะหข์ องนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 โรงเรยี นวดั ชลธาราสิง
เห (เสาร์ศึกษาคาร) อาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยใช้วิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาควา มรู ข้ัน
รว่ มกบั การใชช้ ดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ผลการวจิ ยั พบวา่ 1)ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์เร่อื งน้า ฟ้าและดวงดาว ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.29/83.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดคือ 80/80 2)
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ท่ีเรียนด้วยวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบ
เสาะหาความรู ข้ันร่วมกบั การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ หลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี นอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี
ระดับ .01 3) ความสามารถในการคิดวเิ คราะหข์ องนกั เรียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยวิธีสอนแบบวัฏ
จักรการสืบเสาะหาความรู ข้ันร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี
นัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 และ 4) ความพงึ พอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีมีต่อวิธีสอนแบบวัฏ
จักรการสืบเสาะหาความรู ขั้นร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับมากท่ีสุด อารฝัน บากา,
สาลินี ขจรพสิ ฐิ ศกั ดิ์ และเชษฐ์ ศริ ิสวัสดิ์ (2560) ทาการวจิ ยั เรอื่ งการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิด
วิเคราะห์ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับเทคนิค
การใช้คาถามระดบั การวเิ คราะห์ เร่ือง การสลายสารอาหารระดับเซลล์กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4
โดยใช้การจัดการเรยี นรูแ้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ ร่วมกบั เทคนคิ การใชค้ าถามระดับการวเิ คราะห์ ผลการวิจยั
พบว่า 1.นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ทเ่ี รียนด้วยการจัดการเรยี นรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7ขั้น ร่วมกับเทคนิค
การใช้คาถามระดับการวเิ คราะห์ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและการคดิ วเิ คราะหห์ ลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และพบว่านักเรียนสามารถสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง ถ่ายโอนการเรียนรู้
วิเคราะหค์ วามสาคญั ความสัมพันธ์ และหลักการของประเด็นต่างๆ ในใบงานได้อย่างถูกต้อง 2.ความพึงพอใจ
ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ทมี่ ีต่อวธิ ีสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7ข้ัน ร่วมกับเทคนิคการใช้คาถามระดับ
การวเิ คราะห์ อยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ นรุ ไอซา ดิง (2562) ทาการวิจัยเร่ืองผลของการจัดการเรียนรูโดยใช้วิธีการ
สอนแบบวฏั จักรการสบื เสาะหาความรู ข้นั ร่วมกบั การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทม่ี ตี อ่ ทกั ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ านราษฎรประสานจิต
อาเภอพุนพนิ จังหวดั สุราษฎรธานผี ลการวิจัยพบวา่ ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ดา้ นความรู - ความจา ความเข้าใจ
การนาไปใช้การวิเคราะห์ การสังเคราะห และการประเมินค่า และชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ดังน้ี 1) ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ด้านความรู -
ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห และการประเมินค่า มีประสิทธิภาพE1/E2
เท่ากับ 81.05/88.86 สวนชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพ
E1/E2 เท่ากับ 82.36/89.76 2) จากผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ด้วยวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู ขั้นร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) จากผลการเปรียบเทียบทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ องนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ดว้ ยวธิ สี อนแบบวฏั จักรการสืบเสาะหาความรู
ข้นั ร่วมกบั การใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05 และ 4) นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจต่อวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู ข้ัน

4

ร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ ด้าน
เนอื้ หารองลงมา คือ ด้านส่ือการสอน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล
ตามลาดับ จากผลการทบทวนตวั อยา่ งงานวจิ ัยทจ่ี ัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการ
เรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) เมื่อวิเคราะห์โดยภาพรวมนักเรียนมีระดับผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้ายรวมกันคือ ด้านความรู้(K)
ดา้ นผลผลิต/กระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ท่ีระดับดีเย่ียม มีร้อยละของค่าคะแนน
เฉลยี่ 80 – 100

ด้วยบทบาทหน้าที่ของผู้สอน ตามพ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 มาตรา ที่ 22 มาตรา ท่ี 24
วงเลบ็ 5 มาตราท่ี 30 และจากสภาพของปัญหาและความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง(สาระการ
เรยี นร้)ู เรื่องพลงั งานกล ผ้สู อนจึงมแี นวคดิ ท่ีจะทาวิจัยเพื่อพัฒนา/ปรับปรุงผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา
ความรู้ 7 ขัน้ ผลการวจิ ยั จะทาให้นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 มผี ลการเรียนรู้เรื่องพลังงานกลเพม่ิ ขน้ึ

คาถามการวิจัย

1. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิทยาศาสตร์ เร่ืองพลังงานกล โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการ
เรียนรู้ 7 ขั้น (7E) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ทา
อยา่ งไร

2. ผลการทดลองโดยใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) จดั กจิ กรรมการเรียนรู้เร่ือง
พลังงานกล กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็น
อยา่ งไร

3. ระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล
จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ทม่ี ีต่อการทดลองโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) จัดกิจกรรมการ
เรยี นรเู้ รื่องพลงั งานกล เปน็ อย่างไร

วตั ถุประสงค์การวิจยั

1. เพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E)
สาหรบั พัฒนา/ปรับปรุงผลการเรยี นรู้เรือ่ งพลงั งานกล ของนักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นบ้านหว้ ย
ใต้ อาเภอลบั แล จงั หวัดอุตรดติ ถ์

2. เพอ่ื ทดลองและศกึ ษาผลการทดลองโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) จัด
กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องพลังงานกลกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล
จงั หวัดอุตรดติ ถ์

3. เพอ่ื ศกึ ษาระดับความพงึ พอใจของนกั เรียนระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบา้ นห้วยใต้ อาเภอลบั
แล จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ตอ่ การทดลองใชก้ ารจดั การเรียนรแู้ บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) จัดกิจกรรมการเรียนรู้
เรอ่ื งพลังงานกล

5

ผลและประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รบั

1. ไดช้ ุดการจดั การเรียนรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) สาหรับพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่องพลังงาน
กล

2. สามารถใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E) จัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอ่ื งพลงั งานกล
3. ทราบความพงึ พอใจของนกั เรียนทีม่ ีต่อการทดลองใช้การจดั การเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น
(7E) จัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ รื่องพลังงานกล
4. สามารถใชจ้ ดั กจิ กรรมการเรยี นร้สู าหรบั พฒั นาผลการเรียนรเู้ รอ่ื งพลังงานกลของนักเรยี นได้
5. ผลที่ไดจ้ ากการวิจยั เป็นแนวทางสาหรบั ผู้วจิ ยั ครูผู้สอนและผู้สนใจในการพัฒนาผลการเรียนรู้เรื่อง
พลังงานกลด้วยวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) ในการจัดการเรียนการสอนวิชา
วิทยาศาสตรเ์ พ่อื ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ

ขอบเขตการวจิ ยั

1. ขอบเขตดา้ นแหล่งขอ้ มูล
1.1 ประชากร นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัด

อตุ รดติ ถซ์ ่งึ เทยี บเคยี งประชากรท่มี ีจานวนไม่จากดั (Infinite Population)
1.2 กลมุ่ ตวั อย่าง นักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล

จงั หวดั อุตรดิตถ์ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 8 คน วิธกี ารคัดเลอื ก เทียบเคียงกับใช้วิธีการสุ่มแบบ
อาศัยความน่าจะเป็นอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เพราะถือว่านักเรียนแต่ละคนของระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ของแตล่ ะปกี ารศึกษา เมอ่ื วิเคราะห์โดยภาพรวมแล้วพบว่า มาจากบริบทของชุมชนเดยี วกันจึง
สร้างข้อสรุปว่าไม่มีความแตกต่างกัน ประชากรของนักเรียนดังกล่าวจึงเป็นเอกพันธ์ ( Homogeneous
Population) สามารถคัดเลอื กกลุ่มตัวอย่างโดยใชว้ ิธีการสุ่มแบบอาศัยความน่าจะเป็นอยา่ งง่าย

1.3 กลุม่ เป้าหมาย คือนักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนบา้ นห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวดั
อตุ รดติ ถ์ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 8 คน ใชว้ ิธกี ารคัดเลอื กแบบเจาะจง

2. ขอบเขตดา้ นตัวแปร
2.1 ตวั แปรอสิ ระ
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ ร่อื งพลังงานกล กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2โรงเรียน

บา้ นห้วยใต้ อาเภอลบั แล จังหวัดอตุ รดติ ถ์โดยทดลองใชก้ ารจดั การเรยี นร้แู บบ e-learning
2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เร่อื งพลังงานกล กับนกั เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน

บ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอตุ รดิตถ์ โดยทดลองใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E)

6

2.2 ตวั แปรตาม
1. ระดับผลการเรียนรู้เรื่องพลังงานกล จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนระดับช้ัน

มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์โดยทดลองใช้การจัดการเรียนรู้แบบ e-
learning

2. ระดับผลการเรียนรู้เรื่องพลังงานกล จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2โรงเรียนบ้านหว้ ยใต้ อาเภอลบั แล จงั หวดั อุตรดติ ถ์ โดยทดลองใชก้ ารจัดการเรียนรูแ้ บบวัฏจกั ร
การเรียนรู้ 7 ขั้น (7E)

3. ระดับความพงึ พอใจของนกั เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับ
แล จังหวัดอตุ รดติ ถ์ ท่ีมตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องพลังงานกล โดยทดลองใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏ
จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7E)

3. ขอบเขตด้านเน้อื หา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองพลังงานกล ตามตัวชี้วัดท่ี ม.2/4 ออกแบบและทดลองด้วยวิธีที่

เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยทมี่ ีผลต่อพลงั งานจลน์ และพลังงานศักย์โนม้ ถ่วง ตวั ช้วี ัดที่ ม.2/5 แปลความหมาย
ข้อมูลและอธิบายการเปล่ียนพลงั งานระหวา่ งพลังงานศักย์โน้มถว่ งและพลังงานจลน์ของวตั ถโุ ดยพลังงานกลของ
วตั ถุ มีค่าคงตัวจากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ และตัวชีว้ ัด ม.2/6 วเิ คราะห์สถานการณ์และอธิบายการเปลี่ยนและการ
ถา่ ยโอนพลังงานโดยใชก้ ฎการอนุรักษพ์ ลังงาน มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน
ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์ และสาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

4. ขอบเขตดา้ นระยะเวลาและสถานท่ี
ดาเนินการวิจัยระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ.2564 ณ โรงเรียนบ้านห้วยใต้

อาเภอลบั แล จงั หวัดอุตรดติ ถ์

นิยามคาศัพท์เฉพาะ

1. การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) หมายถึง นวัตกรรมที่สร้างขึ้นตามแนวคิด
ทฤษฎี หลักการ วธิ ีการของ ไอนเ์ ซนคราฟต์ (Eisenkraft, 2003) ได้ขยายรปู แบบการสอนโดยใชแ้ บบวัฏจักรการ
เรยี นรูจ้ าก 5 ข้ันเป็น 7 ขน้ั ซึง่ เพมิ่ ขน้ึ มา 2 ข้ัน คือขนั้ ตรวจสอบพ้นื ฐานความรู้เดมิ ของเดก็ (Elicitation Phase)
ในข้นั น้เี ป็นขัน้ ทม่ี ีความจาเป็นสาหรบั การสอนท่ดี เี ปา้ หมายท่ีสาคัญในขน้ั นี้คอื การกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ มคี วามสนใจและ
ต่ืนเต้นกับการเรียน สามารถสร้างความรู้อย่างมีความหมายและขั้นการนาความรู้ไปใช้ ( Extension Phase)
เพื่อให้นักเรยี นสามารถประยุกต์ใช้ความร้จู ากสงิ่ ท่ไี ดเ้ รยี นมาใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน (ประสาท เนือง
เฉลิม,2550) การจดั การเรยี นรแู้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) มีลาดับขั้นดังนี้ 1. ข้ันตรวจสอบความรู้เดิม
(Elicitation Phase) 2. ขั้นเร้าความสนใจ (Engagement Phase) 3. ข้ันสารวจและค้นหา(Exploration

7

Phase) 4. ขน้ั อธิบาย (Explanation Phase) 5. ข้ันขยายความคิด (Expansion Phase/Elaboration Phase)
6. ขั้นประเมนิ ผล (Evaluation Phase) 7. ขัน้ นาความรู้ไปใช้ (Extension Phase)

2. ผลการเรียนรู้ หมายถึง
2.1 คะแนนของนักเรียนที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและสมรรถนะทาง

วทิ ยาศาสตร์
2.2 คา่ คะแนนเฉลย่ี รวมผลการเรียนรขู้ องนักเรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 8 คนจากการ

วดั และประเมนิ ผลภายหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เร่ืองพลังงานกล โดยทดลองใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏ
จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E)

2.3 คา่ คะแนนเฉลี่ยรวมผลการเรียนรูข้ องนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 8 คนจากการ
วัดและประเมนิ ผลภายหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องพลังงานกล โดยทดลองใช้โดยทดลองใช้การจัดการ
เรยี นรูแ้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E)

3. ระดับผลการเรียนรู้ หมายถึง ระดับผลการเรียนรู้ที่กาหนดตามเกณฑ์วัดและประเมินผลของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (2550) ดงั น้ี

ดีเยี่ยม มีคา่ ร้อยละของคา่ คะแนนเฉลยี่ 80-100
ดี มคี ่าร้อยละของคา่ คะแนนเฉลี่ย 65-79
พอใช้ (ผ่าน) มีคา่ ร้อยละของค่าคะแนนเฉลี่ย 50-64
ต้องปรบั ปรุง (ต่ากวา่ เกณฑ)์ มีคา่ รอ้ ยละของค่าคะแนนเฉล่ียตา่ กวา่ 50
4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมายถึง ผลการเปรียบเทียบระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ระหวา่ งจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรือ่ งพลังงานกล โดยทดลองใช้โดยทดลองใช้
การจดั การเรยี นรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) กบั ระดบั ผลการเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ือง
เดียวกนั โดยทดลองใช้การจดั การเรยี นรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7E) เมอื่ วิเคราะห์เปรยี บเทียบดว้ ย Paired
– Sample t Test ท่ีระดบั นยั สาคัญทางสถิติ 0.05 (α 0.05)
5. ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความพงึ พอใจของนกั เรียนระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้
อาเภอลบั แล จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ ท่มี ีต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเ้ รือ่ งพลงั งานกล โดยทดลองใช้การจัดการเรียนรู้
แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) ประกอบด้วยด้านผู้สอน ด้านความรู้ ด้านกิจกรรม ด้านส่ือ และด้านการวัด
และประเมินผล
6. ระดับความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความพึงพอใจแบบประมาณค่า (Likert Scale) โดยเรียงลาดับ
จากระดบั มากทีส่ ุดถงึ น้อยทส่ี ุด 5 ระดบั คือ มคี วามพึงพอใจมากท่สี ดุ มคี วามพึงพอใจมาก มีความพึงพอใจปาน
กลาง มีความพงึ พอใจค่อนข้างน้อย และมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุด แต่ละระดับดังกล่าว กาหนดโดยเกณฑ์ช่วง
ค่าเฉลยี่ ของ บญุ ชม ศรสี ะอาด ดงั นี้

8

เกณฑค์ ่าน้าหนักความเหมาะสม 5 ระดบั คอื
ระดบั 5 หมายถงึ เหมาะสม มากทสี่ ุด
ระดบั 4 หมายถงึ เหมาะสม มาก
ระดับ 3 หมายถึง เหมาะสม ปานกลาง
ระดบั 2 หมายถึง เหมาะสม น้อย
ระดบั 1 หมายถึง เหมาะสม น้อยทสี่ ุด

การแปลคา่ คะแนน
คา่ เฉลย่ี 4.50 – 5.00 ความหมาย ระดบั มากท่ีสุด
ค่าเฉลย่ี 3.50 – 4.49 ความหมาย ระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 2.50 – 3.49 ความหมาย ระดบั ปานกลาง
คา่ เฉลีย่ 1.5 0 – 2.49 ความหมาย ระดบั น้อย
คา่ เฉลี่ย 1.00 – 1.49 ความหมาย ระดบั น้อยที่สดุ

สมมตฐิ านการวิจัย

สมมติฐานการวจิ ัยท่ี 1
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองพลังงานกล โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน
(7E) กบั นกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนบา้ นห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า เมื่อเทียบ
กับระดบั ผลการเรยี นรตู้ ามเกณฑข์ อง สพฐ. นักเรียนจานวนทัง้ หมดมผี ลการเรียนรู้ทรี่ ะดับ พอใช้ รอ้ ยละ 60 ซ่ึง
ต่ากวา่ เกณฑป์ ระเมนิ ผ่านคอื ต้องผ่านอย่างน้อยร้อยละ 70 สาเหตุเป็นเพราะจากการสัมภาษณ์นักเรียนพบว่า
สาเหตทุ ่ที าให้ผลการเรยี นรูต้ ่ากวา่ เกณฑ์การประเมนิ ผา่ นท่กี าหนดเปน็ เพราะว่าขาดความรู้ ความเข้าใจในเร่ือง
ของการทดลอง ไมไ่ ด้ลงมือปฏบิ ัตจิ ึงไม่เกิดทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์
จากการศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งพบวา่ การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เรื่องพลังงานกล โดยใช้การจัดการ
เรียนร้แู บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E) ท่สี ร้างขนึ้ ตามแนวคิด ทฤษฎี หลกั การ วธิ ีการของประสาท เนืองเฉลิม
,2550 น้ัน มีสาระสาคัญคอื ซงึ่ มีสาระสาคัญ/หลักการคือ ในปี ค.ศ. 2003 ไอน์เซนคราฟต์ (Eisenkraft, 2003)
ไดข้ ยายรูปแบบการสอนโดยใช้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้จาก 5 ข้นั เปน็ 7 ขน้ั ซงึ่ เพ่ิมขึ้นมา 2 ขั้น คือข้ันตรวจสอบ
พ้นื ฐานความรเู้ ดมิ ของเดก็ (Elicitation Phase) ในขั้นนี้เป็นขั้นที่มีความจาเป็นสาหรับการสอนท่ีดีเป้าหมายท่ี
สาคญั ในขน้ั นี้คือการกระตุ้นให้เดก็ มีความสนใจและตื่นเต้นกับการเรยี น สามารถสร้างความรู้อย่างมีความหมาย
และข้นั การนาความร้ไู ปใช้ (Extension Phase) เพอื่ ให้นักเรยี นสามารถประยกุ ต์ใช้ความรู้จากส่งิ ที่ได้เรียนมาให้
เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวนั (ประสาท เนอื งเฉลมิ ,2550) ซ่งึ สาระสาคัญดงั กล่าวสมั พนั ธ์กับสาเหตุของปัญหา
ของนักเรียนดังกล่าวก่อนหน้าคือ จากการวัดและประเมินผลรวมท้ังช้ันเรียนเรื่องพลังงานกล ตามเกณฑ์การ
ประเมินผ่านพบว่า นักเรียนท่ีมีผลการเรียนรู้ระดับ พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 60 ซ่ึงต่ากว่าเกณฑ์ประเมินผ่านท่ี
กาหนดคอื รอ้ ยละ 70 จากการสมั ภาษณน์ ักเรยี นพบวา่ สาเหตุท่ีทาให้ผลการเรียนรู้ต่ากว่าเกณฑ์การประเมิน

9

ผ่านท่ีกาหนดเป็นเพราะว่าขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองของการทดลอง ไม่ได้ลงมือปฏิบัติจึงไม่เกิดทักษะ
ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ และจากการทบทวนเฉพาะงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ งยงั พบอกี ว่า ดวงพร หมวกสกลุ , ชวนพิศ ชุม
คง และนพเกา ณ พทั ลุง (2558) ทาการวจิ ัยเร่ืองผลการจดั การเรียนรูโดยใช้วิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหา
ความรู ขั้นร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และ
ความสามารถในการคดิ วเิ คราะหข์ องนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 กับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียน
วัดชลธาราสิงเห (เสาร์ศึกษาคาร) อาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยใช้วิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหา
ความรู ข้ันร่วมกบั การใช้ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ผลการวิจยั พบว่า นักเรยี นมกี ารพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนวิทยาศาสตรข์ องนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ทเี่ รยี นดว้ ยวธิ สี อนแบบวฏั จกั รการสบื เสาะหาความรู ข้ัน
รว่ มกบั การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 อารฝัน
บากา, สาลนิ ี ขจรพิสฐิ ศักดิ์ และเชษฐ์ ศิรสิ วัสด์ิ (2560) ทาการวจิ ัยเร่อื งการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ
การคิดวิเคราะหข์ องนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ร่วมกับ
เทคนิคการใช้คาถามระดบั การวิเคราะห์ เรอ่ื ง การสลายสารอาหารระดับเซลล์ กบั นักเรยี นระดับช้ันมัธยมศึกษา
ปีท่ี 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน ร่วมกับเทคนิคการใช้คาถามระดับการวิเคราะห์
ผลการวจิ ัยพบว่า นกั เรียนมกี ารพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และพบว่านักเรียนสามารถสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง ถ่ายโอนการ
เรียนรู้ วิเคราะห์ความสาคัญ ความสัมพันธ์ และหลักการของประเด็นต่างๆ ในใบงานได้อย่างถูกต้อง และ
นางสาวนุรไอซา ดิง (2562) ทาการวิจัยเรื่องผลของการจัดการเรียนรู โดยใช้วิธีการสอนแบบวัฏจักรการสืบ
เสาะหาความรู ขั้นร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนกบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นบานราษฎรประสานจิต อาเภอพนุ พนิ จงั หวดั สุ
ราษฎรธานี โดยใช้วธิ กี ารสอนแบบวฏั จักรการสืบเสาะหาความรู ขั้นรว่ มกบั การใช้ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ท่ีมี
ต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีการพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยวิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบ
เสาะหาความรู ข้ันรว่ มกบั การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05

โดยการอ้างอิงแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าวก่อนหน้า จึงกาหนด
สมมตฐิ านการวิจัยข้อท่ี 1 ว่า การจดั กิจกรรมการเรียนรู้โดยการทดลองใช้โดยใช้วิธีการสอนแบบวัฏจักรการสืบ
เสาะหาความรู ขั้น (7E) มีผลต่อการพัฒนา/ปรับปรุงผลการเรียนรู้เรื่องพลังงานกลของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านหว้ ยใต้ อาเภอลับแล จังหวดั อุตรดติ ถ์

สมมตฐิ านการวิจัยท่ี 2
จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ งพบวา่ ดวงพร หมวกสกุล, ชวนพิศ ชุมคง และนพเกา ณ
พัทลุง (2558) ทาการวิจัยเรื่องผลการจัดการเรียนรูโดยใช้วิธีสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู ขั้น
ร่วมกบั การใชช้ ดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิด
วิเคราะห์ของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 กบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนวัดชลธาราสิงเห (เสาร์

10

ศึกษาคาร) อาเภอตากใบ จงั หวดั นราธิวาส โดยใชว้ ิธสี อนแบบวฏั จักรการสืบเสาะหาความรู ข้ันร่วมกับการ
ใช้ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีมีต่อวิธีสอน
แบบวฏั จกั รการสืบเสาะหาความรู ขัน้ ร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับมากท่ีสุด อารฝัน บา
กา, สาลินี ขจรพสิ ิฐศกั ดิ์ และเชษฐ์ ศิริสวสั ดิ์ (2560) ทาการวจิ ยั เรือ่ งการพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นและการ
คดิ วเิ คราะหข์ องนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ด้วยการจดั การเรยี นรแู้ บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขัน้ รว่ มกับเทคนิค
การใช้คาถามระดับการวเิ คราะห์ เร่อื ง การสลายสารอาหารระดับเซลล์ กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั ร่วมกบั เทคนิคการใชค้ าถามระดบั การวิเคราะห์ ผลการวจิ ัย
พบว่า ความพงึ พอใจของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ที่มีต่อวิธีสอนแบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7ข้ัน รว่ มกับเทคนิค
การใช้คาถามระดับการวิเคราะห์ อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ และนางสาวนุรไอซา ดิง (2562) ทาการวจิ ัยเร่ืองผลของ
การจัดการเรียนรู โดยใช้วิธีการสอนแบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู ขั้นร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรม
วิทยาศาสตร์ที่มีต่อทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกับนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 โรงเรยี นบานราษฎรประสานจิต อาเภอพนุ พิน จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใช้วิธีการสอนแบบวัฏจักรการสืบ
เสาะหาความรู ขั้นร่วมกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ผลการวจิ ยั พบวา่ นักเรียนมีความพึงพอใจตอ่ วิธสี อนแบบวฏั จักรการสืบเสาะหาความรู
7 ขั้นรว่ มกบั การใช้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมากท่สี ุด ดา้ นทีม่ คี ่าเฉลีย่ มากทสี่ ุด คอื ดา้ น
เนอื้ หารองลงมา คือ ด้านส่ือการสอน ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล
ตามลาดับ

โดยการอ้างอิงเฉพาะงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมา จะเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การ
จดั การเรยี นรูแ้ บบวฏั จกั รการสบื เสาะหาความรู ขนั้ มผี ลตอ่ ระดบั ความพงึ พอใจของนักเรียน ดงั น้ัน จึงกาหนด
สมมติฐานการวิจยั ขอ้ ที่ 2 วา่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เร่ืองพลังงาน โดยทดลองใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏ
จักรการสบื เสาะหาความรู ข้นั มผี ลต่อระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
บ้านหว้ ยใต้ อาเภอลบั แล จังหวดั อุตรดิตถ์

วธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั

การวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรยี นบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เร่ืองพลังงานกล โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการ
เรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) ผวู้ ิจัยดาเนนิ การวิจัยตามกรอบของหัวขอ้ ต่าง ๆ ดงั น้ี

1. ระเบยี บวิธวี ิจัย
ดาเนินการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experiment Research) วิเคราะห์ข้อมูล

จากข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ (Qualitative Data) เปน็ หลักร่วมกบั ข้อมูลเชิงคณุ ภาพ (Quantitative Data)
2. เครอื่ งมือการวิจยั
2.1 เครอื่ งมือท่ีเป็นนวัตกรรม นวัตกรรมที่สร้างหรือพัฒนาข้ึนเพ่ือพัฒนา/ปรับปรุงผลการเรียนรู้

เร่ืองพลังงานกลของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ คือ

11

แผนการโดยใชก้ ารจัดการเรยี นรูแ้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7E) ซงึ่ การดาเนินการสร้างและหาประสิทธิภาพ
ทั้งเชิงเหตุผล(Rational Approach) และเชิงประจักษ์ (Empirical Approach) ตามแนวคิดของ เผชิญ กิจ
ระการ (2544) ตามลาดับขนั้ ดังนี้

1. ทาการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องเพ่ือศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการที่
เกย่ี วขอ้ งกบั การสร้างแผนการจัดการเรยี นรแู้ บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7E) เร่ือง พลังงานกลซึ่งการวิจัยนี้จะ
สรา้ งหรือพฒั นาจะอา้ งองิ ตามแนวคดิ ทฤษฎี หลักการ วธิ กี ารของประสาท เนอื งเฉลิม,2550

2. สร้างฉบับร่าง(ยกร่าง) แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) เรื่อง
พลังงานกล โดยอ้างองิ จากผลการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องดังกลา่ วขอ้ 1 ก่อนหน้า

3. สร้างแบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น
(7E) เร่ือง พลังงานกล เพื่อให้ผู้เชียวชาญประเมินประสิทธิภาพเชิงเหตุผลของนวัตกรรมท่ีสร้างหรือพัฒนา
ดงั กล่าว

4. นาแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) เรื่อง พลังงานกลท่ีสร้างเป็น
ฉบบั ร่างแลว้ ไปใหผ้ ู้เช่ยี วชาญดา้ นเทคโนโลยีการศึกษา ด้านภาษา และด้านการวิจัยหรือการวัดประเมินผลด้าน
ละ 1 คน รวมทงั้ สิ้นจานวน 3 คน ทาการประเมินความเหมาะสมด้วยแบบประเมิน แต่ละข้อคาถาม(Item)ของ
แตล่ ะประเด็นท่ปี ระเมนิ ต้องมีค่าเฉลี่ยอย่างนอ้ ย 3.50 จงึ จะตดั สินว่า ข้อคาถามทป่ี ระเมนิ มคี วามเหมาะสม

5. นาแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) เร่ือง พลังงานกล ผ่านการ
ประเมินดังกล่าวข้อ 4 มาแก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ การหาคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้
แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) เรือ่ ง พลังงานกล ดังกล่าวขอ้ 1 – 5 จัดเปน็ การหาคุณภาพเชงิ เหตผุ ล สาหรบั
การหาประสทิ ธภิ าพเชงิ ประจกั ษ์จะดาเนนิ การตามลาดบั ขน้ั ตั้งแตข่ ้นั ที่ 6 ดังนี้

6. จัดทารปู เลม่ แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) เร่ือง พลังงานกล
7. นาแผนการจัดการเรยี นร้แู บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) เรื่อง พลังงานกล ที่จัดทาเป็น
รปู เล่มแล้วมาทดลองใชเ้ พอ่ื หาประสทิ ธิภาพเชิงประจักษ์กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้
อาเภอลบั แล จังหวัดอตุ รดิตถ์ ซึ่งเปน็ คนละกลมุ่ กบั กลมุ่ เป้าหมายการวจิ ยั การหาประสทิ ธภิ าพจะใช้วธิ ีการเทียบ
กับเกณฑป์ ระสิทธภิ าพ E1/E2 = 70/70 ซึ่งเกณฑ์ประเมินผา่ นคือ ร้อยละ 70 เม่ือ
E1 หมายถึง ร้อยละของคะแนนรวมทัง้ หมดจากการทากจิ กรรม และการทดสอบย่อยระหวา่ งการ
ทดลองใชแ้ ผนการจดั การเรียนรแู้ บบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) เร่อื ง พลังงานกล
E2 หมายถึง รอ้ ยละของคะแนนรวมทั้งหมดจากการทาแบบทดสอบภายหลังสนิ้ สุดการทดลองใช้
แผนการจัดการเรยี นรูแ้ บบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) เรอ่ื ง พลังงานกล ซ่ึงเกณฑ์ประเมินผ่านคือ ร้อยละ 70
การตดั สนิ ประสทิ ธิภาพจากการทดลองใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรแู้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7E) เร่อื ง พลงั งาน
กล เม่ือเทียบกับเกณฑ์ประสิทธิภาพท่ีกาหนดข้ึนว่า ถ้าค่าร้อยละของคะแนนท่ีคานวณของ E1= 70 ±2.55
แสดงว่า ประสิทธิภาพของ E1 เป็นไปตามเกณฑ์ร้อยละ 70 แต่ถ้ามากกว่า หรือน้อย กว่า 70±2.5 แสดงว่า
ประสทิ ธิภาพของ E1 สูงกวา่ หรอื น้อยกวา่ เกณฑ์ท่ตี ง้ั ตอ้ งปรบั นวัตกรรมให้เท่ากับเกณฑ์ที่ต้ังคือ 70 ส่วนการ
ตัดสินประสิทธภิ าพของ E2 ทาเชน่ เดียวกบั E1 และถา้ รอ้ ยละของคะแนนระหว่าง E1และ E2 ต่างกันมากกว่า

12

ร้อยละ 5 แสดงว่าประสิทธภิ าพของแผนการจดั การเรยี นรแู้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) เร่ือง พลังงานกล มี
ประสทิ ธภิ าพไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ ต้องทาการปรับปรุงใหม่

8. จดั ทารูปเล่มแผนการจดั การเรียนรูแ้ บบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) เร่ือง พลงั งานกล
พร้อมสาหรับการนาไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล
จงั หวัดอุตรดิตถ์ ซ่งึ เปน็ กลมุ่ ทเ่ี ปา้ หมายการวิจยั

ข้อตกลง เนื่องด้วยปจั จยั จากดั บางประการคือ โรงเรียนบ้านห้วยใต้ เป็นโรงเรียนขนาดเล็กซึ่งสาหรับ
นักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 แลว้ เปิดการเรยี นการสอนเพียงชั้นเรียนเดียวและมีนักเรียนจานวนท้ังสิ้น 8
คนดงั นั้น ด้วยปจั จัยจากัดดังกลา่ ว จงึ สร้างข้อตกลงวา่ การทาวจิ ยั ครง้ั นีผ้ วู้ ิจัยขอละเว้นการหาประสิทธิภาพเชิง
ประจกั ษข์ องแผนการจดั การเรียนร้แู บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7E) เรอ่ื ง พลงั งานกล

2.2 เคร่อื งมือรวบรวมข้อมลู
เครือ่ งมือท่ใี ช้รวบรวมข้อมูลประกอบดว้ ย แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ก่อน-หลังเรียน แบบสอบถามวัด
ระดบั ความพงึ พอใจ และแบบสอบถามวดั ความเหมาะสมของนวัตกรรม เครื่องมือแต่ละชนดิ ดังกลา่ ว ดาเนินการ
สรา้ งและหาประสทิ ธิภาพทัง้ เชิงเหตุผลและเชิงประจกั ษ์ตามลาดบั ขั้น ดังนี้
1. ทาการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องเพ่ือศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการที่
เก่ียวข้องกับการสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ก่อน-หลังเรียน แบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ และ
แบบสอบถามวัดความเหมาะสมของนวัตกรรม เครื่องมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดจะสร้างตามแนวคิด ทฤษฎี
หลักการ วธิ กี ารตา่ งๆ ดงั นี้

1.1 การสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ก่อน-หลังเรียน สร้างตามแนวคิด ทฤษฎีของ หลักการ
วธิ กี ารทางการของประสาท เนืองเฉลมิ ,2554

1.2 แบบสอบถามวดั ระดบั ความพงึ พอใจ แบบสอบถามวดั ความเหมาะสมของนวัตกรรมสร้าง
ตามแนวคดิ ทฤษฎีของ หลักการ วธิ กี ารประสาทของ เนอื งเฉลิม,2554

1.3 แบบสอบถามวัดความเหมาะสมของนวัตกรรม สร้างตามแนวคิด ทฤษฎีของ หลักการ
วธิ ีการของ ประสาท เนอื งเฉลิม,2554

2. สรา้ งฉบับรา่ ง(ยกรา่ ง) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ก่อน-หลังเรียน แบบสอบถามวัดระดับความพึง
พอใจ และแบบสอบถามวัดความเหมาะสมของนวัตกรรม โดยอ้างอิงผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่
เก่ยี วขอ้ งดังกลา่ วขอ้ 1 ก่อนหน้า

3. สร้างแบบประเมินค่าดรรชนีความสอดคล้อง (Index of Item –Objective Congruence:
IOC) เพ่ือให้ผูเ้ ชยี วชาญทาการประเมนิ ค่าความเท่ยี งตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของเคร่ืองมือรวบรวม
ขอ้ มูลแต่ละชนิด

4. นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดท่ีสร้างเป็นฉบับร่างไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาด้าน
เทคโนโลยีการศึกษา และด้านการวิจัยหรือการวัดประเมินผลด้านละ 1 คน ทาการประเมินความเท่ียงตรงเชิง
เนอ้ื หาด้วยแบบประเมนิ IOC แตล่ ะขอ้ คาถาม(Item) ของแต่ละประเด็นที่ประเมินต้องมีค่าเฉล่ียอย่างน้อย 0.5

13

หรือ ผเู้ ชยี่ วชาญจานวน 2 ใน 3 คน เหน็ ว่ามคี วามตรง จึงจะตัดสินว่า ข้อคาถามน้นั มคี วามเท่ียงตรง
5. นาเครื่องมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิดที่ผ่านการประเมินดังกล่าวข้อ 4 มาแก้ไขปรับปรุงตาม

คาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญการหาคุณภาพเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลดังกล่าวข้อ 1 – 5 จัดเป็นการหาคุณภาพ
เชิงเหตผุ ล สาหรับการหาประสทิ ธิภาพเชงิ ประจกั ษจ์ ะดาเนินการตามลาดบั ขน้ั นับแต่ข้นั ที่ 6 ดงั น้ี

6. จัดทารปู เลม่ เคร่ืองมอื รวบรวมขอ้ มูลแตล่ ะชนดิ ท่ที าการแก้ไขแลว้
7. นาเครอ่ื งมือรวบรวมขอ้ มูลแต่ละชนดิ ทจี่ ัดทาเปน็ รูปเล่มแลว้ มาหาค่าความเช่ือมั่น (Reliability)
ซง่ึ เป็นการหาประสทิ ธิภาพเชิงประจกั ษ์ โดยทดลองใช้กับนกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วย
ใต้ อาเภอลบั แล จังหวัดซง่ึ เปน็ คนละกลุ่มกับกล่มุ ท่เี ป็นเป้าหมายการวจิ ัย การหาคา่ ความเชื่อมั่นใช้วิธีการหาค่า
สมั ประสทิ ธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficienty) โดยมีเกณฑ์ประเมินผ่านท้ังฉบับที่ 0.7
ถ้าน้อยกว่าตอ้ งทาการปรบั ปรุงเครื่องมือใหม่
8. ปรบั ปรงุ เครือ่ งมอื รวบรวมขอ้ มูลแตล่ ะชนดิ หากพบวา่ ค่าสัมประสิทธ์แิ อลฟาตา่ กว่า 0.7
9. ยกเว้นแบบทดสอบ จัดทารูปเล่มเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิด พร้อมสาหรับการนาไป
ทดลองใช้กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็น
กลมุ่ เปา้ หมายการวิจัย สาหรับแบบทดสอบนั้น เมื่อทาการประเมินความเท่ียงตรงและความเชื่อมั่นแล้ว ก่อน
นาไปทดลองใชก้ บั นกั เรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนบา้ นห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวดั อุตรดิตถ์ ซึง่ เป็น
กลุ่มท่ีเป้าหมายการวจิ ัย ตอ้ งดาเนนิ การต่อจากข้อ 8 เพ่ือหาคา่ ความยากง่าย และค่าอานาจ การจาแนกตอ่ ดงั น้ี
10. นาแบทดสอบแต่ละข้อมาวิเคราะห์ความยากง่ายด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป ข้อ
คาถามท่ดี ีของแบบทดสอบประเภท 4 ตวั เลือกจะมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20 – 0.80 (สุมาลี จันทร์ชะลอ.
2542) ถ้าเปน็ ประเภทแบบถกู -ผิด จะมีคา่ ความยากง่ายระหวา่ ง 0.60–0.95 (Nunnally.1967; อ้างถงึ ใน เยาวดี
รางชัยกุลวบิ ลู ยศ์ รี. 2552)
11. นาแบบทดสอบแต่ละขอ้ มาวิเคราะห์คา่ อานาจการจาแนกโดยใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูป
12. จัดทารูปเล่มของแบบทดสอบ พร้อมสาหรับการนาไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นบ้านหว้ ยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดติ ถ์ ซง่ึ เป็นกลุม่ เปา้ หมายการวิจัย

ข้อตกลง เนื่องด้วยปัจจัยจากัดบางประการเช่นเดียวกับดังกล่าวแล้วในหัวข้อ “วิธีการสร้างและหา
คุณภาพของนวัตกรรม” จึงสร้างข้อตกลงว่า การวิจัยคร้ังน้ีจะละเว้นการหาประสิทธิภาพ เชิงประจักษ์ซ่ึง
ประกอบดว้ ย การหาค่าความเช่อื ม่นั ของเครือ่ งมือรวบรวมขอ้ มลู ทกุ ชนิด การหาคา่ ความยากง่าย และค่าอานาจ
การจาแนกซึ่งเฉพาะสาหรับแบบทดสอบ

3. การดาเนินการรวบรวมขอ้ มลู
1. ทาหนงั สอื ถงึ คณบดีคณะบดีคณะครุศาสตร์เพื่อร้องขอให้คณะครุศาสตร์ออกหนังสือราชการถึง

ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านหว้ ยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เพ่ือขออนุญาตท่ีจะทดลองใช้แผนการจัดการ
เรยี นร้แู บบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E) เรอ่ื ง พลงั งานกล กับนักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2

14

2. ประชุม ช้ีแจง และสร้างข้อตกลงกับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 เก่ียวกับการทดลองใช้
แผนการจัดการเรียนรแู้ บบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7E) เรอื่ ง พลงั งานกล จดั กิจกรรมการเรยี นรู้เรอื่ งพลงั งานกล

3. จดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ ร่ืองพลงั งานกล กบั นกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วย
ใต้ อาเภอลบั แล จงั หวดั อุตรดิตถ์ โดยทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) เร่ือง
พลังงานกล

4. ทาการวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้ขู องนักเรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้
อาเภอลบั แล จังหวัดอุตรดติ ถ์ ภายหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้เรื่องพลังงานกล โดยทดลองใช้แผนการจัดการ
เรียนรูแ้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7E) เรือ่ ง พลงั งานกล โดยทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการ
เรยี นรู้ 7 ขั้น (7E) เรอื่ ง พลงั งานกล

5. ให้นกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนบ้านห้วยใต้ อาเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ตอบ
แบบสอบถามวัดระดับความพงึ พอใจจากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้เรื่องพลงั งานกล

4. การวิเคราะห์ข้อมูล
4.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพอ่ื หาคุณภาพและประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองมือการวิจัย
1. ความเหมาะสมของนวัตกรรมท่ีสร้างหรือพัฒนาต่อยอด วิเคราะห์ด้วยค่าเฉล่ีย และ ส่วน

เบย่ี งเบนมาตรฐาน วิธกี ารวิเคราะหใ์ ช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรปู
2. ประสิทธิภาพเชิงประจักษ์ของนวัตกรรมที่สร้างหรือพัฒนาต่อยอด วิเคราะห์ด้วยเกณฑ์

ประสทิ ธิภาพ E1/E2 วิธกี ารวิเคราะห์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรปู
3. ความเทยี่ งตรงเชิงเน้อื หาของเครอ่ื งมอื รวบรวมขอ้ มลู แตล่ ะชนิด วิเคราะหด์ ว้ ยค่าดรรชนีความ

สอดคล้องหรือ IOC วธิ ีการวิเคราะห์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าเร็จรปู
4. ความเช่ือมั่นของเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลแต่ละชนิด วิเคราะห์ด้วยค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟา

ของครอนบาค วธิ ีการวเิ คราะห์ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรปู
5. ความยากง่ายของแบบทดสอบแต่ละข้อ วธิ ีการวิเคราะหใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเร็จรูป
6. ค่าอานาจการจาแนกของแบบทดสอบแต่ละข้อวิธีการวิเคราะห์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

สาเร็จรปู
4.2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจยั
1. ผลการเรียนร้ขู องนักเรยี น วิเคราะห์ดว้ ยคา่ คะแนนเฉล่ยี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2. ระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียน วิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบกับระดับผลการเรียนรู้ตาม

เกณฑข์ อง สพฐ.
3. ผลการทดลองใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7E) เรื่อง พลังงานกล

วเิ คราะหด์ ว้ ยวิธกี ารทางสถิติ Paired -Sample t Test ท่ีระดับนัยสาคัญทางสถิติท่ี α 0.05 หรือท่ีระดับความ
เช่ือม่นั 95% วิธกี ารวิเคราะหใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเรจ็ รูป

4. ระดับความพึงพอใจ วิเคราะห์ด้วยค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ใช้
โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเรจ็ รปู

15

5. เกณฑป์ ระเมินระดบั ความพงึ พอใจของนักเรียน วิเคราะหด์ ว้ ยช่วงระดับค่าเฉลี่ย การนาเสนอ
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตาราง พรอ้ มทัง้ บรรยายเปน็ ความเรียงประกอบ

ภาคผนวก

วิธีการทางสถิติและสูตรคานวณเพื่อวเิ คราะหค์ ุณภาพเครอ่ื งมอื การวิจยั
1. ระดบั ค่าเฉลีย่

เมอื่ = ระดบั คา่ เฉลย่ี ของคา่ ทท่ี าการวัด
= ผลรวมท้ังหมดจากค่าท่ีทาการวดั

= จานวนทง้ั หมดของตวั แปร(หน่วย)ท่ที าการวดั
การแปลความหมายระดับคา่ เฉลย่ี เมอื่ โดยใช้เกณฑข์ องบุญชม ศรสี ะอาด(2545) เป็นดังนี้

ค่าเฉลีย่ 4.51 - 5.00 หมายถึง สง่ิ ทตี่ อ้ งการวัดมรี ะดับมากสุด
ค่าเฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถงึ สิ่งที่ต้องการวัดมีระดบั มาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง สงิ่ ที่ต้องการวดั มีระดบั ปานกลาง
คา่ เฉล่ยี 1.51 - 2.50 หมายถึง สิง่ ที่ต้องการวัดมีระดับคอ่ นขา้ งน้อย
คา่ เฉลย่ี 1.00 - 1.50 หมายถงึ ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั มรี ะดับนอ้ ยสดุ
2. ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
ใชว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลควบคูก่ ับคา่ เฉลยี่ เพอ่ื ดูการกระจายตวั ของข้อมูลจากค่าเฉลยี่ หากตัวแปรแต่ละ
ตวั มคี ่าแตกต่างกันน้อยหรอื ใกลเ้ คยี งกับค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจะมีค่าน้อยหรือมีค่าเข้าใกล้ 0 แต่ถ้า
หากขอ้ มลู แต่ละตวั มีค่าแตกตา่ งกนั มากหรือแตกตา่ งจากคา่ เฉลี่ยมาก สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานจะมีค่ามากหรือมี
คา่ ห่างจาก 0 การเขียนอาจใชส้ ญั ลักษณ์ ± ควบคู่ค่าเฉล่ีย เช่น 4.86±0.07 หมายความว่า ประเด็นข้อมูลท่ีทา
การวิเคราะห์มีค่าเฉล่ีย 4.86 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล -0.07 หรือ +0.07 เป็นต้น การหาค่าเฉลี่ย
คานวณจากสตู ร ดังน้ี

หรือ

เมื่อ ค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
คา่ ตวั แปร(ข้อมูล)แต่ละตัวตง้ั แต่ ……………..
จานวนตัวแปร(ข้อมลู ) ทัง้ หมด

16

สูตรการคานวณหาคา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานดังกล่าวก่อนหน้า ใช้เม่ือข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถ่ีซ่ึง
ส่วนใหญ่งานวิจัยในช้ันเรียนใช้วิธีการน้ี แต่ถ้าข้อมูลมีการแจกแจงความถ่ี สูตรการคานวณหาค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานจะใช้สตู รอืน่ และไม่ขอนามากล่าวในทน่ี ี้

หมายเหตุ ท้ังระดับคา่ เฉลยี่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานนยิ มทาการวิเคราะห์โดยใช้โปแกรมสาเร็จรปู ดังนัน้
ใน การเขยี นโครงร่างงานวิจยั ในชั้นเรียนอาจเขยี นว่า วิเคราะหโ์ ดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเรจ็ รูป

3. ค่าดรรชนีความสอดคลอ้ ง (Item –Objective Congruence Index: IOC)

เม่ือ = ค่าดรรชนคี วามสอดคล้องของแตล่ ะข้อคาถามข้อท่ที าการประเมนิ
= จานวนคะแนนรวมของแตล่ ะข้อคาถามจากผปู้ ระเมนิ ทุกคน
= จานวนผ้ปู ระเมินท้งั หมดของแตล่ ะขอ้ คาถาม

แต่ละข้อคาถามของแบประเมินมีคะแนน 3 ระดับ คือ คะแนน - 1 แน่ใจว่า ข้อคาถามที่
ตอ้ งการวดั ไม่ตรงกับสิ่งทตี่ ้องการวดั คะแนน 0 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจวา่ ข้อคาถามทตี่ ้องการวัดตรงกับส่ิงที่ต้องการ
วัด และคะแนน + 1 แน่ใจว่าข้อคาถามท่ีต้องการวัดตรงกับสิ่งท่ีต้องการวัด ข้อคาถามแต่ละข้อต้องมีระดับ
คะแนนเฉล่ียตง้ั แต่ 0.50 จึงถอื ว่า ขอ้ คาถามนนั้ วดั ตรงกบั ส่งิ ที่ตอ้ งการวัด (กรมวชิ าการ. 2545)

4. ค่าสัมประสทิ ธิอ์ ัลฟา่ ของครอนบาช (Cronbach’s α Coefficent)

เม่ือ Cronbach’s α Coefficent
จานวนข้อคาถาม
ผลรวมความแปรปรวนของคะแนนแตล่ ะข้อ
ความแปรปรวนของคะแนนรวม

เกณฑก์ าหนดความเช่อื มน่ั ท่ยี อมรบั คอื ต้องมีคา่ สัมประสิทธิแ์ อลฟาอย่างนอ้ ย .70
5. เกณฑป์ ระสิทธภิ าพของนวัตกรรม (E1/E2)

เม่ือ E1 เป็นร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนท้ังหมดท่ีเก็บจากการทากิจกรรมต่าง ๆ
ระหวา่ งการทดลองใชน้ วัตกรรม ซ่งึ คานวณจากสูตร

เมื่อ
ประสทิ ธภิ าพของการจดั การเรยี นรู้ระหว่างการทดลองใช้นวตั กรรม
จานวนคะแนนเฉลี่ยระหว่างของผู้เรยี นจานวนทั้งหมดระหว่างการทดลองใช้นวัตกรรม
จานวนผู้เรียนทงั้ หมดท่ีใชท้ ดลองหาประสทิ ธิภาพ

และ E2 เปน็ รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนท้ังหมดจากการวัดผลผลการเรียนรู้ท้ังหมด
ภายหลังสิ้นสดุ การการทดลองใช่นวตั กรรม ซึ่งคานวณจากสูตร

17

เมอ่ื

ประสทิ ธิภาพการเรียนรู้ภายหลงั การทดลองใช้นวตั กรรม

จานวนคะแนนเฉลยี่ ของผเู้ รยี นจานวนทัง้ หมดภายหลังการทดลองใชน้ วัตกรรม

จานวนผเู้ รียนทั้งหมดท่ใี ชท้ ดลองหาประสทิ ธภิ าพนวัตกรรม
เกณฑก์ ารตดั สนิ ถ้าคา่ รอ้ ยละของคะแนนทีค่ านวณของ E1 สงู กวา่ หรือต่ากว่าเกณฑ์ท่ตี ั้ง ±2.5 แสดงว่า
ประสทิ ธิภาพของ E1 เป็นไปตามเกณฑ์ แตถ่ ้ามากกว่าหรือนอ้ ยกว่าเกณฑ์ท่ีตงั้ ±2.5 แสดงว่า ประสิทธิภาพของ
E1 สูงกว่า หรือ น้อยกว่าเกณฑ์ ต้องปรับนวัตกรรมให้เท่ากับเกณฑ์ที่ตั้ง การตัดสินประสิทธิภาพของ E2 ทา
เชน่ เดยี วกบั E1 (ฉลองชัย สุรวฒั นบรู ณ.์ 2528) และถา้ ร้อยละของคะแนนระหวา่ ง E1และ E2 ตา่ งกันมากกวา่ ร้อย
ละ 5 แสดงว่าประสิทธภิ าพของ.... (ระบชุ ื่อนวตั กรรม) ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ่กี าหนด
6. คา่ อานาจจาแนกของแบบทดสอบ ดาเนนิ ตามการลาดบั ข้ัน ดังน้ี

1. ตรวจใหค้ ะแนนแบบทดสอบทั้งหมดแล้วเรียงลาดับกระดาษคาตอบจากระดับคะแนนสูงสุดถึง
ระดบั คะแนนต่าสดุ

2. แบ่งกระดาษเป็น 2 กลมุ่ กลุ่มแรกเรยี กวา่ กลุ่มคะแนนสงู (Ph) โดยนับจากระดบั คะแนนสูงสุดลง
มารอ้ ยละ 27 ของจานวนกระดาษคาตอบทั้งหมด ส่วนกลมุ่ หลังเรยี กวา่ กลมุ่ คะแนนต่า (Pl) โดยนับจากระดับ
คะแนนต่าสดุ ข้ึนมาร้อยละ 27 ของจานวนกระดาษคาตอบทั้งหมด (จานวนอาจเป็นอยา่ งอน่ื

3. แตล่ ะข้อของแบบทดสอบ นบั จานวนคนท่ีตอบถกู ทง้ั กลุม่ คะแนนสูง และ กุลม่ คะแนนต่า
4. หาคา่ อานาจจาแนกของแบบทดสอบแต่ละข้อโดยใช้สูตรตามแนวคดิ ของบญุ ชม ศรีสะอาด
(2532)

เมื่อ
ค่าอานาจการจาแนกของแบบทดสอบแตล่ ะขอ้
กลุม่ คะแนนสูง
กลมุ่ คะแนนต่า

เกณฑ์การแปลความหมายคา่ อานาจการจาแนกของแบบทดสอบแต่ละข้อ

คา่ อานาจจาแนก (r) แปลความหมาย

0.60 – 1.00 อานาจจาแนกดมี าก

0.40 – 0.59 อานาจจาแนกดี

0.20 – 0.39 อานาจจาแนกพอใช้

0.10 – 0.19 อานาจจาแนกตา่ (ปรบั ปรุง/ตดั ท้งิ )

-1.00 -0.90 อานาจจาแนกตา่ มาก (ปรับปรุง/ตัดท้ิง)

18

ข้อแบบทดสอบแต่ละขอ้ ทดี่ คี วรมีอานาจอยา่ งน้อยตั้งแต่ 0.20
7. ค่าความยากง่าย

1. ดาเนินการเชน่ เดยี วกับการหาคา่ อานาจจาแนกแบบทดสอบแตล่ ะขอ้
2. คานวณหาความยากง่ายของแบบทดสอบแตล่ ะขอ้ จากสูตร

เมอ่ื
ความยากง่ายของแบบทดสอบแตล่ ะขอ้

จานวนผู้ทตี่ อบถูกในกลมุ่ คะแนนสูง
จานวนผูท้ ่ตี อบถกู ในกล่มุ คะแนนตา่
จานวนทงั้ หมดของผอู้ ยู่ในกลมุ่ คะแนนสงู และ กลุ่มคะแนนตา่

พวงรตั น์ ทวีรัตน.์ (2540) เสนอสตู รคานวณคา่ ความยากง่ายของแบบทดสอบแต่ละข้อ
ดงั น้ี

เมือ่

คา่ ความยาหงา่ ยของแบบทดสอบแต่ละข้อ

จานวนผูท้ ต่ี อบถูกของแบบทดสอบแต่ละข้อ

จานวนทง้ั หมดของผู้ทีต่ อบแบบทดสอบแตล่ ะขอ้

เกณฑ์การแปลความหมายคา่ ความยากง่ายของแบบทดสอบแต่ละขอ้

ความยาก-ง่ายของแบบทดสอบ (P) แปลความหมาย

0.81 - 1.00 งา่ ยมาก ควรปรบั ปรุง/ตดั ทิ้ง

0.60 – 0.80 คอ่ นขา้ งดี (ด)ี

0.40 – 0.59 ยากพอเหมาะ (ดมี าก)

0.20 – 0.39 คอ่ นข้างยาก(ด)ี

0.00 – 0.19 ยากมาก (ปรบั ปรุง/ตัดทงิ้ )

ข้อแบบทดสอบแตล่ ะข้อท่ีดีสาหรับที่มี 4 ตัวเลือกควรมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20 – 0.80 แต่ถ้า

เป็นแบบทดสอบแบบ ถูก – ผิด ควรมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.60 – 0.70

วิธกี ารทางสถิตแิ ละสตู รคานวณเพอื่ วเิ คราะหข์ อ้ มูลการวิจยั

1. การวเิ คราะหผ์ ลการพฒั นาดว้ ยระดับค่าเฉล่ียและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

วิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบผลการพัฒนาหรือแก้ปัญหาของผู้เรียนด้วยระดับ ค่าเฉลี่ยและส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐานระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชเ้ ทคนิคและวธิ ีการสอนแบบเดมิ (ของครพู ่เี ล้ยี ง) กบั ผล

การเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมที่จัดทาข้ึน ความแตกต่างของผลการเปรียบเทียบโดย

19

วิธีการดังกลา่ วระบุเฉพาะว่า กลุ่มตัวอย่างท้ัง 2 กลุ่มมีผลการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างไร แต่ไม่สามารถอ้างอิง
ประชากรได้ สูตรการคานวณหาค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานกลา่ วแล้วในหวั ข้อ วิธีการทางสถิติและสูตร
คานวณเพ่ือวิเคราะห์คณุ ภาพเคร่ืองมือการวิจัย

2. การวิเคราะหผ์ ลการพัฒนาด้วยวธิ กี ารทางสถติ ิแบบอ้างองิ
วิเคราะหโ์ ดยการเปรยี บเทยี บผลการพัฒนาหรือแก้ปัญหาของผู้เรียนด้วยโดยใช้สถิติอ้างอิงระหว่าง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคและวิธีการสอนแบบเดิม (ของครูพี่เล้ียง) กับ ผลการเรียนรู้จากการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้วยนวตั กรรมท่ีจดั ทาขึน้ ความแตกตา่ งของผลการเปรียบเทยี บโดยวธิ ีการดังกล่าวสามารถ
อา้ งอิงผลการเปรยี บเทียบมายงั ประชากร นัน่ คอื ผลการพัฒนาทเี่ กดิ ข้ึนกบั กลุม่ ตัวเป็นอยา่ งใด เม่อื นานวัตกรรม
ไปใช้กับประชากร ผลนน้ั ยอ่ งเกิดข้ึนกบั ประชากรดว้ ย

เน่ืองจากงานวิจยั ในชน้ั เรียนเปน็ การเปรียบเทียบผลการพฒั นาระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ดงั กลา่ วยอ่ หนา้ กอ่ น กลุม่ ตวั อย่างท้ัง 2 กล่มุ ตา่ งมาจากประชากรท่ีเปน็ อสิ ระตอ่ กนั ดงั นั้น วธิ ีการทางสถติ ิอ้างองิ
เพ่ือเปรยี บเทียบความแตกตา่ งผลการพัฒนาระหวา่ งตัวอยา่ งท้ังสองกลุม่ จงึ ใช้ Independent t-Test
ส่วนวิธีการวเิ คราะหข์ ้อมูลน้ัน แนะนาใหใ้ ชโ้ ปแกรมสาเร็จรูปจะสะดวกกวา่ ส่วนคา่ ระดับนัยสาคัญทางสถิติท่ีจะ
ยอมรับหรอื ปฏเิ สธความแตกตา่ งผลการพฒั นาหรอื การแกป้ ญั หาจากการใช้เทคนิคและวิธีการสอนแบบเดิม กับ
การใชน้ วตั กรรมนัน้ สว่ นใหญก่ าหนดท่ี α 0.05 หรอื ที่ระดับความเชื่อม่ัน 95%

20


Click to View FlipBook Version