The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคโนโลยีบล็อกเชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kajumstaf, 2021-10-22 12:43:18

เทคโนโลยีบล็อกเชน

เทคโนโลยีบล็อกเชน

เทคโนโลยีบล็อกเชน

ธีรนุช หลา้ แหล้ กลมุ่ ท่ี 22
รหสั นกั ศึกษา 116410905132-9

รายงานนีเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของการศึกษาวชิ าการคน้ ควา้ และการเขยี นรานงานเชงิ วิชาการ
สาขาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

2

คำนำ

รายงานฉบบั นจี้ ดั ทำขน้ึ เพอ่ื ปฏิบตั กิ ารเขียนรายงานการค้นคว้าท่ถี กู ต้องอยา่ ง
เป็นระบบ อนั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของรายวิชา 01-210-017 การค้นคว้าและการเขียนรายงาน
เชิงวิชาการ ซึง่ จะนำไปใชใ้ นการทำรายงานค้นควา้ สำหรับรายวิชาอ่ืนได้อีกตอ่ ไป การที่
ผจู้ ดั ทำเลอื กทำเรื่อง “เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน” เนื่องด้วยในปจั จบุ นั ผูค้ นมกี ารใชจ้ า่ ย
ออนไลนเ์ พิม่ มากขน้ึ มกี ารใช้สกลุ เงนิ ดิจิตอลแทนธนบัตร ดังนั้นการศกึ ษาเกย่ี วกบั
เทคโนโลยีบล็อกเชนจึงจำเปน็ อยา่ งมากเพือ่ ให้ไดท้ ราบถงึ ความสำคัญและขอ้ มูลของ
เทคโนโลยี

รายงานเล่มน้ีกลา่ วถึงเนือ้ หาเกยี่ วกบั ความหมาย ท่ีมา ความสำคัญ หลกั การ
ทำงาน องคป์ ระกอบ ประโยชน์ ความปลอดภยั และอนาคตการเติบโตของเทคโนโลยี
บลอ็ กเชน เหมาะสำหรบั ผทู้ ต่ี อ้ งการใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีบล็อกเชนจะไดเ้ ข้าใจ
เทคโนโลยบี ลอ็ กเชนได้อยา่ งถูกตอ้ ง

ขอขอบคณุ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พนดิ า สมประจบ ทก่ี รณุ าให้ความรแู้ ละ
คำแนะนำโดยตลอด และขอขอบคณุ ข้อมลู ในอินเทอรเ์ นต็ ทีใ่ ห้ความสะดวกในการคน้ หา
ข้อมูล รวมไปถึงท่านเจ้าของหนังสอื บทความทีผ่ ู้เขยี นใช้อา้ งองิ ทุกทา่ น หากมขี ้อบกพร่อง
ประการใด ผเู้ ขียนขอ้ น้อมรับไว้เพือ่ ปรับปรงุ ตอ่ ไป

ธีรนชุ หล้าแหล้

6 ตุลาคม 2564

3

สารบญั

หน้า
คำนำ..................................................................................................................................2
สารบญั ...............................................................................................................................3
บทท่ี

1 บทนำ........................................................................................................................5
1.1 ความหมายของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน...................................................................5
1.2 ทมี่ าและความสำคญั ของเทคโนโลยบี ล็อกเชน.................................................5-6
1.3 ความสำคญั ของเทคโนโลยบี ล็อกเชน..................................................................7
2 หลักการทำงานของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน..................................................................8
2.1 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยบี ล็อกเชน.............................................................8-9

2.1.1 Block....................................................................................................9
2.1.2 Chain....................................................................................................9
2.1.3 Consensus.........................................................................................10
2.1.4 Validation....................................................................................10-11
2.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน.................................................................11
2.2.1 ตวั อยา่ งการใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี..............................................1

4

2.2.2 ธรุ กจิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนข์ องเทคโนโลยี.................................................12-14

สารบญั (ตอ่ )

2.3 ความปลอดภยั ของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน...........................................................14
2.3.1 ความโปรง่ ใสของเทคโนโลยี.................................................................15
2.3.2 ปจั จยั เสยี่ งของเทคโนโลยี..............................................................15-17

2.4 อนาคตการเติบโตของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน......................................................17
2.4.1 อุตสาหกรรมท่ีจะขับเคล่อื นเทคโนโลยบี ล็อกเชน................................17
2.4.2 ปรากฎการณส์ กุลเงินดจิ ทิ ัลแห่งชาติ.............................................17-18

3 สรุป........................................................................................................................18
บรรณานุกรม..............................................................................................................19-21

5

บทที่ 1

บทนำ

ในโลกยคุ ปจั จบุ นั น้ปี ฏเิ สธไม่ได้วา่ เทคโนโลยีบล็อกเชน เปน็ นวตั กรรมท่ีเกิด
ขน้ึ มาและสรา้ งความเปลย่ี นแปลงในอุตสาหกรรมโลกเปน็ อยา่ งมาก เป็นท่ีรู้กันวา่ ผู้ที่สร้าง
Blockchain นข้ี ้นึ มาคอื บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ใี ช้นามแฝงวา่ ซาโตชิ นากาโมโตะ หรอื ผู้
ท่เี ปน็ บดิ าแห่งเหรยี ญคริปโตเคอรเ์ รนซีนามว่า บิทคอย ท่ีหลาย ๆ คนรจู้ กั กันดี
แต่ส่ิงทผ่ี คู้ นอยากรู้มากกวา่ วา่ ใครเปน็ คนสรา้ ง Blockchain ขึน้ มาก็คงจะเปน็ คำถามท่ีวา่
เทคโนโลยีบล็อกเชนน้ันคอื อะไร?

จะมาอธบิ ายให้เขา้ ใจกนั อย่างเหน็ ภาพงา่ ยๆเทคโนโลยบี ล็อกเชน หากอธิบาย
ใหเ้ ห็นภาพงา่ ย ๆ ลองนึกภาพวา่ มันเปน็ เสมือนโซ่ท่ีสรา้ งขนึ้ เพื่อกระจายขอ้ มลู เก็บไวใ้ น
ชิน้ ส่วนโซท่ ่ีต่อกัน แต่ข้อมูลเหลา่ น้นั จะไม่สามารถถกู เปลี่ยนแปลงได้ เรียกไดว้ า่ บล็อก
เชน เปน็ อนิ เตอร์เน็ตในรูปแบบใหม่โดยเริม่ แรกถูกสร้างขึ้นมาเพือ่ สร้างสกุลเงนิ ดจิ ิทลั
(Digital Currency) เช่น บทิ คอย อย่างไรก็ตามในตอนนีเ้ ทคโนโลยี บล็อกเชน ไม่ได้ถกู
สรา้ งขน้ึ เพ่ือรองรับสกลุ เงินดิจิทลั เพยี งอยา่ งเดยี วเทา่ น้ัน ณ ปัจจุบนั วงการอุตสาหกรรม
อน่ื ๆ ไดน้ ำศักยภาพของเทคโนโลยี Blockchain ไปใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื อำนวยความสะดวก
ใหก้ ับธรุ กจิ ของตนอยา่ งแพรห่ ลายมากยิ่งขึ้น

1.1 ความหมายของเทคโนโลยีบลอ็ กเชน
บล็อกเชน นั้นเปน็ เทคโนโลยีท่ที ำให้เราสามารถทำการส่งขอ้ มลู โดยไมต่ อ้ งอาศัยคน

กลางด้วยความปลอดภัยและน่าเช่อื ถอื สงู หลาย ๆ ครั้งทีเ่ ราไดย้ ินคำน้ี แต่สำหรับตวั
บล็อกเชนแล้วมนั คอื บล็อก(Block) ท่ีเกบ็ รวบรวมข้อมูลเอาไว้ แต่ละบลอ็ กจะเรียงรอ้ ย
เช่ือมต่อกนั เปน็ สายยาว(Chain) อย่างมลี ำดับเฉพาะเจาะจงจนกลายเป็นเครอื ขา่ ยขอ้ มูล
บล็อกท่นี ำมาเรยี งต่อกันเหมือนกบั ชอ่ื ทเ่ี ราเรียก บลอ็ กเชน(Blockchain)

6

1.2 ที่มาของเทคโนโลยีบล็อกเชน

งานวจิ ัยแรกทไี่ ดอ้ ธิบายโซบ่ ล็อกทีท่ ำใหป้ ลอดภยั ดว้ ยวทิ ยาการรหัสลับได้ตพี มิ พใ์ นปี
1991 (โดย Stuart Haber และ W. Scott Stornetta) ในปตี อ่ มา นกั วจิ ัยกลมุ่ เดียวกันได้
รวมตน้ ไมแ้ ฮช (Merkle tree) เข้าในแบบ ซ่ึงเพิม่ ประสิทธภิ าพเพราะสามารถรวมเอกสาร
หลายฉบับเข้าเป็นบลอ็ กเดยี วกัน

ในปี 2008 บุคคลหรือกลมุ่ บุคคลผใู้ ชน้ ามแฝง ซาโตชิ นากาโมโตะ ไดส้ รา้ งแนวคดิ
ในเร่อื งบลอ็ กเชนขนึ้ ซง่ึ นากาโมโตะนำไปทำใหเ้ กดิ ผลในปตี อ่ มา โดยเปน็ ส่วน
โปรแกรมหลกั ของเงนิ ครปิ โทคือบติ คอยน์ คอื ใชเ้ ป็นบญั ชแี ยกประเภทสาธารณะเพอื่
บนั ทกึ ธุรกรรมท้ังหมดภายในเครือข่าย[1] บลอ็ กเชนทำใหบ้ ติ คอยนเ์ ปน็ เงินดิจิทัลสกุลแรก
ทแ่ี ก้ปัญหาการใชจ้ า่ ยสินทรพั ยเ์ กินกว่าครง้ั เดียว (Double spending problem) ได้ โดย
ไม่จำเปน็ ตอ้ งมีบคุ คลท่ีสามซึง่ เชอ่ื ใจหรือคอมพวิ เตอรศ์ นู ย์กลาง และได้เปน็ แรงบันดาลใจ
ให้แก่โปรแกรมประยกุ ต์อีกมากมายหลายอย่าง

ในเดอื นสิงหาคม 2014 ไฟลบ์ ล็อกเชนของบติ คอยน์ ซงึ่ มรี ะเบยี นของธรุ กรรม
ทั้งหมดทไี่ ดเ้ กดิ ขึน้ ภายในเครือข่าย ได้ถงึ ขนาด 20 จิกะไบต์ (GB) ในเดอื นมกราคม 2015
ขนาดไดข้ ยายจนเกือบถึง 30 GB และจากเดือนมกราคม 2016 ถงึ มกราคม 2017 ขนาด
ได้เพมิ่ จาก 50 GB จนถึง 100 GB และโดยเดือนเมษายน 2018 น่ีได้ถงึ ขนาด 163 GB
แล้ว

เอกสารด้ังเดมิ ของนากาโมโตะไดใ้ ช้คำวา่ "บลอ็ ก" และ "เชน" ต่างหาก ๆ แตใ่ นทส่ี ุด
กเ็ ปลย่ี นไปตามความนยิ มเป็นคำเดียวคอื "บล็อกเชน" โดยปี 2016 สว่ นคำว่า บล็อกเชน
2.0 หมายถงึ โปรแกรมใหม่ ๆ ทใ่ี ชฐ้ านขอ้ มูลบล็อกเชนแบบกระจาย ซ่ึงเรมิ่ เกดิ ขน้ึ ในปี
2014นิตยสาร The Economist ได้กล่าวถึงการใชบ้ ลอ็ กเชนแบบรนุ่ สองนว้ี า่ มาพร้อมกับ
"ภาษาโปรแกรมทใ่ี ห้ผ้ใู ชเ้ ขียนสญั ญาสมารต์ทีซ่ ับซ้อนยง่ิ ขน้ึ เชน่ สร้างใบกำกบั สนิ ค้าที่
จา่ ยเองอย่างอตั โนมัตเิ ม่ือการขนสง่ เรียบร้อยแลว้ หรือสรา้ งใบหุ้นซึ่งสง่ เงินปันผลให้
เจา้ ของโดยอัตโนมัติเมื่อกำไรได้ถงึ ขดี หนึ่งแล้ว"เทคโนโลยบี ลอ็ กเชน 2.0 ไดก้ ้าวหนา้ เกิน
กวา่ การบนั ทกึ ธรุ กรรม และทำให้สามารถ "แลกเปลี่ยนมลู คา่ โดยไม่ตอ้ งมคี นกลางท่มี ี
อำนาจเป็นผ้ตู ัดสนิ ในเรื่องเงินและข้อมลู " เปน็ เทคโนโลยีทีค่ าดวา่ จะทำใหค้ นทอ่ี ย่นู อก
ระบบเขา้ ส่รู ะบบเศรษฐกิจโลกได้ ช่วยปอ้ งกันภาวะเฉพาะสว่ นตวั ของผเู้ ข้าร่วม ช่วยทำ

7

รายได้ใหเ้ จ้าของข้อมลู และชว่ ยให้ผู้คิดคน้ ได้คา่ ตอบแทนจากทรัพยส์ นิ ทาง
ปัญญา เทคโนโลยบี ลอ็ กเชนรุ่นสอง ทำให้สามารถเก็บ "บตั รประจำตวั และบคุ ลกิ ภาพ
อยา่ งถาวร" ของบคุ คล และอำนวยการแกป้ ัญหาความไม่เทา่ เทียมกนั ทางสงั คมโดยเปน็
โอกาสเปลยี่ นการกระจายความมัง่ มี โดยปี 2016 งานอมิ พลิเม้นตข์ องบล็อกเชน 2.0 ก็ยงั
ต้องใช้ระบบต่างหากที่จินตนาการได้วา่ เป็น "เครอื่ งออราเคลิ " เพอื่ เข้าถงึ "ขอ้ มลู หรือ
เหตกุ ารณ์ภายนอกท่ีข้ึนอยกู่ บั เวลาหรอื ภาวะการตลาดที่ (จำเปน็ ตอ้ ง) มปี ฏสิ ัมพันธก์ บั
บล็อกเชน"

ในปี 2016 องคก์ รรบั ฝากหลักทรัพยข์ องประเทศรสั เซยี (National Settlement
Depository) ได้ประกาศโครงการนำรอ่ งท่ีอาศัยแพลต็ ฟอร์ม Nxt blockchain 2.0 ซึ่งจะ
สำรวจการใชบ้ ลอ็ กเชนทำระบบลงคะแนนเสยี งอัตโนมัติในเดือนกรกฎาคม 2016 บริษัท
ไอบเี อ็มได้เปิดศูนยว์ ิจัยนวัตกรรมบล็อกเชนในประเทศสิงคโปร์ คณะทำงานของสภา
เศรษฐกิจโลกได้ประชมุ กันในเดอื นพฤศจกิ ายน 2016 เพ่ือหารือเรือ่ งการพัฒนาวิธกี าร
ปกครองทส่ี ัมพันธ์กับบลอ็ กเชน ตามบริษัทใหค้ ำปรกึ ษาการจัดการบริหาร Accenture
ทฤษฎกี ารแพร่นวัตกรรม (diffusion of innovations) ได้แสดงวา่ เพราะบล็อกเชนได้
อัตราการยอมรบั ที่ 13.5% ภายในอตุ สาหกรรมบริการทางการเงินในปี 2016 ดงั นน้ั จงึ ได้
เข้าสรู่ ะยะกลมุ่ นำสมัย (early adopter) แล้ว กลมุ่ การคา้ อตุ สหกรรมไดร้ ่วมกับจดั งาน
การประชมุ Global Blockchain Forum ในปี 2016 ซงึ่ เปน็ โครงการริเร่ิมขององคก์ ร
สนับสนนุ อเมริกัน Chamber of Digital Commerce

1.3 ความสำคญั ของเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน

บล็อกเชนประกอบด้วยองค์ประกอบพ้ืนฐาน 3 ส่วน บล็อกเชนจะมีการ
เข้ารหัสคีย์ส่วนตัว (Private Key Encryption) ด้วยเทคโนโลยีบัญชีแยกประเภท
แบบกระจาย (DLT) ซึ่งเป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงฐานบัญชีธุรกรรม (Ledger)
อิเล็กทรอนิกส์ของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเป็นระบบ
ฐานข้อมูลท่ีช่วยในการทำธุรกรรม การเก็บบันทึกและทำให้เชื่อมั่นว่าปลอดภัย
กระบวนการเข้ารหัสและเทคโนโลยีบัญชีแยกประเภทแบบกระจายรวมกันน้ี
เปลี่ยนเทคโนโลยีบล็อกเชนให้เป็นระบบท่ีกระจายอำนาจ โปร่งใสและเป็นระบบที่
ได้รับการป้องกันอย่างดี

8

บทที่ 2

หลักการทำงานของเทคโนโลยีบล็อกเชน

การทำงานของ Blockchain คอื เมอ่ื เกดิ การทำธรุ กรรมตา่ งๆ ขน้ึ ในระบบ ขอ้ มลู จะ
ถกู บันทึกแบบเข้ารหสั ไว้เปน็ บลอ็ กๆ และจะถกู เชอ่ื มโยงตอ่ ๆ กนั โดยท่ีจะไม่มีใครคนใด
คนหนง่ึ สามารถเข้าไปแก้ไขเปลย่ี นแปลงขอ้ มูลในบลอ็ กใดๆ ไดเ้ ลย สาเหตกุ เ็ พราะทุกคน
ตา่ งก็มสี ำเนาหรอื ประวัติการทำธุรกรรมท้ังหมดอยกู่ บั ตวั จงึ เป็นเรอื่ งที่ยากหรอื เปน็ ไป
ไมไ่ ดห้ ากจะมีใครซักคนเข้ามาแกไ้ ขหรือปลอมแปลงข้อมูลโดยปราศจากการรบั รจู้ ากคน
สว่ นใหญใ่ นระบบ โดยระบ บทส่ี ามารถตรวจสอบขอ้ มูลย้อนกลบั ได้ท้ังหมดน้ถี อื เปน็
เคร่ืองมอื สำคัญที่สร้างความนา่ เชือ่ ถือใหก้ บั เทคโนโลยี Blockchain น่ันเอง

ขอยกตวั อย่างเพอ่ื ใหท้ ุกคนเหน็ ภาพมากยง่ิ ขึ้น ในอดีตการทำธุรกรรมทางการเงนิ
จะตอ้ งอาศัยตวั กลางในการยืนยนั ความถูกตอ้ งของข้อมลู น้ันก็คอื “ธนาคาร” ในการทำ
ธรุ กรรมออนไลน์ ธนาคารกจ็ ะเป็นผูร้ ับผิดชอบเกบ็ ข้อมูลลกู คา้ และตรวจสอบการทำ
ธุรกรรมต่างๆ (เปน็ ผดู้ แู ลสัญญาน่นั เอง) แต่ระบบ Blockchain คอื คทู่ ที่ ำธุรกรรม
สามารถทำธุรกรรมกันเองได้โดยตรง ผ่านเทคโนโลยี Blockchain สัญญาทแี่ ตก่ อ่ น
ธนาคารเปน็ ผดู้ ูแลเพยี งคนเดยี ว กจ็ ะเปล่ียนเปน็ สญั ญาระหวา่ งคูค่ ้าท่จี ะถกู ถอื ไวโ้ ดยทุก
คนในระบบ เมือ่ มกี ารทำธรุ กรรมเกดิ ขน้ึ ทุกคนทอี่ ยู่ในระบบกจ็ ะรับรทู้ ันทวี า่ มกี าร
เปลยี่ นแปลงข้อมลู ทต่ี นถอื อยู่ เช่น นาย A จา่ ยเงินใหน้ าย B โดยมนี าย C เป็นผดู้ ูแล
สัญญา แตถ่ า้ เปน็ Blockchain ทุกคนท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การจา่ ยเงินนจี้ ะมีขอ้ มลู ของนาย A
และนาย B เม่อื นาย A จา่ ยเงินใหน้ าย B ทุกคนก็จะรบั รู้ไดท้ วั่ กนั

9

2.1 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยบี ล็อกเชน

บล็อกเชนเปน็ บัญชีแยกประเภทแบบสาธารณะ ไม่รวมศนู ย์ และกระจาย เพือ่
ใชบ้ นั ทกึ ธุรกรรมในระหวา่ งคอมพวิ เตอร์จำนวนมาก ทร่ี ะเบยี นจะไม่สามารถเปล่ียน
ย้อนหลงั โดยไมเ่ ปลี่ยนบลอ็ กท่ีสร้างตอ่ ๆ มา และไม่ไดร้ ับการรว่ มมือจากเครอื ข่าย
โดยมาก ซงึ่ ชว่ ยให้ผู้มสี ว่ นรว่ มสามารถยนื ยันและตรวจสอบธรุ กรรมไดโ้ ดยไมเ่ สียค่าใชจ้ า่ ย
มาก

ฐานข้อมูลบล็อกเชนจะจัดการอยา่ งเป็นอิสระโดยเครือขา่ ยเพยี ร์ทูเพยี รซ์ ง่ึ
ให้บริการการตราเวลาแบบกระจาย และยนื ยันพิสูจน์โดยการรว่ มมอื กันของคนจำนวน
มากที่ได้แรงจงู ใจจากผลประโยชนส์ ว่ นตัวรวม ๆ กันผลกค็ อื กระแสงานทที่ นทาน ทไ่ี ด้
ความมนั่ ใจสงู จากผู้มสี ว่ นรว่ ม

การใช้บล็อกเชนได้แก้ปัญหาการสามารถกอ๊ ปปซ้ี ้ำอย่างไมจ่ ำกัดซ่งึ สนิ ทรัพย์
ดิจิทัล เพราะมันสามารถยนื ยันไดว้ า่ สนิ ทรัพย์แต่ละหนว่ ยจะเปลี่ยนมอื เพยี งครั้งเดยี ว จงึ
เปน็ การแก้ปัญหาการใช้จา่ ยสินทรพั ยเ์ กนิ กว่าครงั้ เดยี ว (Double spending problem)
ทรี่ ู้จักกันมานานแลว้ จงึ ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เปน็ โพรโทคอลทช่ี ว่ ยใหแ้ ลกเปลย่ี นมลู ค่าทาง
เศรษฐกจิ ไดก้ ารแลกเปล่ยี นมลู คา่ โดยอาศยั บล็อกเชนสามารถเกดิ ข้นึ ได้เร็วกวา่ ปลอดภยั
กว่า และเสียค่าใชจ้ า่ ยนอ้ ยกว่าระบบธรรมดา

2.1.1 Block

Block คอื ชดุ บรรจุขอ้ มลู แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน คือ สว่ นของ Block Header
เพ่อื ใช้บอกใหค้ นอนื่ ทราบว่าภายในบรรจุขอ้ มูลอะไรไว้ และสว่ นของ Block Data เพื่อใช้
ในการบรรจขุ อ้ มลู ตา่ ง ๆ ยกตัวอยา่ งเช่น ขอ้ มูลจำนวนเงนิ ข้อมลู การโอนเงนิ ข้อมลู
ประวัติการรกั ษาพยาบาล หรอื ข้อมูลอนื่ ๆ โดยโครงสรา้ ง ของแตล่ ะ Block จะประกอบ
ไปดว้ ยข้อมูล 7 สว่ น

2.1.2 Chain

Chain คอื หลักการจดจำทุก ๆ ธรุ กรรมของทกุ ๆ คนในระบบและบนั ทกึ
ขอ้ มลู พร้อมจัดทำเปน็ สำเนาบญั ชี Ledger แจกจา่ ยใหก้ บั ทกุ คนในระบบ สำเนาบัญชี

10

Ledger ที่ว่านัน้ จะถกู กระจายส่งตอ่ ไปใหท้ ุกๆ Node ในระบบเพอ่ื ให้ ทกุ คนรบั ทราบว่ามี
ธรุ กรรมอะไรเกิดขึน้ มาบ้างต้ังแต่เปิดระบบ Blockchain นั้นข้ึนมา ถึงแมว้ า่ จะมี Node
ใด Node หน่งึ เสียหายไปก็สามารถยนื ยนั หรอื กู้ขอ้ มลู Ledger จาก Node อน่ื ๆ
กลบั มาอัปเดตใหท้ ั้งระบบไดเ้ หมือนเดิม

2.1.3 Consensus

Consensus คือ กระบวนการตรวจสอบรายการธรุ กรรมท่ีอย่ใู น เครอื ขา่ ย
Blockchain เพือ่ ยืนยันความถกู ตอ้ ง และความนา่ เช่อื ถอื ใหก้ บั ระบบ Blockchain นน้ั ๆ
ซึ่งกระบวนการทำ Consensus มีอยูห่ ลายวธิ ีด้วยกนั ยกตวั อย่างเชน่

Proof-of-Work คือ กระบวนการทำ Consensus โดยใช้การแกป้ ญั หา ทาง
คณิตศาสตร์ซ่ึงมคี วามซับซอ้ นและตอ้ งใชเ้ วลาในการแกป้ ญั หาน้นั ๆ จาก Nodes ตา่ ง ๆ
ท่ีอย่ใู นเครือขา่ ยหรอื เรียกวา่ “Miners” เพื่อยนื ยนั ความนา่ เชือ่ ถอื ของข้อมลู ทจี่ ะถูก
บนั ทกึ เขา้ มาในเครือขา่ ย โดย Miner จะไดร้ ับคา่ ตอบแทนจากการทำ Proof-of-Work
และดว้ ยวิธกี ารดังกล่าว ทำใหก้ ารแก้ไขข้อมูลท่ถี กู บนั ทกึ ลงในระบบ Blockchain แลว้ น้นั
ทำได้ ยากโดยท่ไี ม่แกไ้ ขขอ้ มลู ใน Block ถัด ๆ ไป ยกตวั อยา่ งเช่น Bitcoins ซ่งึ เป็น
Public Blockchain ใช้วิธกี ารยืนยนั รายการแบบ Proof-of-Work

Proof-of-Stake คอื กระบวนการทำ Consensus โดยใช้หลักการวาง
“สินทรพั ย”์ ของผตู้ รวจสอบ (Validator) ในการยนื ยันธรุ กรรม ผู้ตรวจสอบ ท่ที ำการวาง
สินทรพั ยจ์ ำนวนมากจึงมีโอกาสสูงท่ีจะไดร้ ับสิทธิใ์ น การเขยี นข้อมลู ธุรกรรมบน Block
ถัดไป โดยผทู้ ่ีทำการเขยี นขอ้ มูล บน Block ถดั ไปจะได้รับค่าธรรมเนยี มการดำเนนิ งาน
เปน็ รางวัล ตอบแทน ยกตวั อย่างเช่น Ethereum ซึ่งเป็น Public Blockchain ใชว้ ิธกี าร
ยืนยนั รายการแบบ Proof-of-Stake

Practical Byzantine Fault Tolerance (PBFT) คอื กระบวนการทำ
Consensus โดยใชห้ ลกั การเสยี งขา้ งมาก ซึง่ ต้องมจี ำนวนผูต้ รวจสอบ (Validator) ทัง้ สน้ิ
จำนวน 3f+1 node เพอ่ื รบั ประกนั ความถกู ต้อง ของระบบ โดย f คอื จำนวนผตู้ รวจสอบ

11

ท่ไี ม่สามารถทำงานได้ ในขณะนั้น ยกตวั อยา่ งเช่น HyperLedger ซง่ึ เป็น Private
Blockchain ใช้วธิ กี ารยนื ยนั รายการแบบ PBFT

Proof-of-Authority คอื กระบวนการ Consensus โดยใชก้ ารทำ ขอ้ ตกลง
รว่ มกนั ในการกำหนดสิทธผิ ใู้ ช้งานหรอื องค์กรที่เช่ือถือได้ สำหรบั การทำธุรกรรมดว้ ย
วธิ กี ารระบุชอื่ ผใู้ ชอ้ ยา่ งเปน็ ทางการใหก้ บั ผูม้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียแต่ละ Node บนเครือขา่ ย
Blockchain ในการทำ ธุรกรรมจะไดร้ บั การตรวจสอบสทิ ธจิ์ ากบัญชีท่ีไดร้ ับอนมุ ัตหิ รือ
เรยี กว่า ผู้ตรวจสอบ (Validator) ซึง่ ทำหน้าที่ในการรกั ษาความปลอดภยั โดยใช้รปู แบบ
การหมนุ เวยี นสทิ ธเิ พอื่ กระจายความรบั ผิดชอบ และ เปน็ การสร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
หนว่ ยงานอยา่ งเป็นธรรม

2.1.4 Validation

Validation คือ การตรวจสอบความถกู ต้องแบบทบทวนทง้ั ระบบและทกุ
Node ในระบบ Blockchain เพ่อื ใหแ้ นใ่ จว่าจะไม่มีข้อผดิ พลาดเกดิ ขนึ้ ไมว่ า่ จะมา จาก
สว่ นใดก็ตาม ซงึ่ กค็ อื ส่วนหนึง่ ของ Consensus ทเ่ี รยี กวา่ Proof-of-Work ซ่ึงในหลกั การ
แลว้ การทำ Validation น้นั มจี ดุ ประสงคอ์ ยู่ 3 ประการ

2.2 ประโยชน์ของเทคโนโลยบี ล็อกเชน

ในปัจจุบันเทคโนโลยีบลอ็ กเชนเข้ามาบทบาทสำคัญมากขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ ในภาร
รฐั หรือเอกชนกไ็ ด้มีการนำเทคโลโนยีบลอ็ กเชนเข้ามาใช้ โดยเฉพาะในหนา่ ยงานภาครัฐท่ี
มกี ารเร่ิมใชถ้ งึ 30เปอเซ็นต์ ซง่ึ มีแนวโนม้ ท่จี ะเพ่ิมมากขึ้นไปเรือ่ ยๆอีดว้ ย

12

2.2.1 ตัวอยา่ งการใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี

ถา้ จะยกตวั อยา่ งที่เห็นชัดๆก็เช่น บิทคอยน์ (Bitcoin) ที่เป็นสกุลเงินดจิ ิตอล
เนือ่ งดว้ ยบิทคอยนไ์ มม่ ีเงินจรงิ ๆให้เราจับดังนนั้ เวลาท่ีเราโอนเงนิ หากนั จงึ จำเปน็ ต้องใช้
เทคโนโลยี Blockchain เขา้ มาชว่ ยอยา่ งหลีกเล่ยี งไมไ่ ดเ้ พ่ือเพิ่มความปลอดภยั ให้กบั บิท
คอยน์ เพราะการโอนเงนิ ใหก้ ันกจ็ ำเปน็ ตอ้ งมีระบบที่นา่ ไว้ใจได้
ขณะที่ Blockchain ไม่เพยี งมีบทบาทอยแู่ คก่ ารทำธรุ กรรมทางการเงินเท่าน้นั หากแตย่ ัง
อาจถกู นำไปใชใ้ นงานอื่น ๆ เช่นการเกบ็ สถติ ิการเลือกต้งั ใหม้ ีความโปรง่ ใสมากขน้ึ การ
ให้ยมื Cloud Storage ระหว่างกัน, ระบบ Peer to Peer Lending และอ่ืน ๆ อีก
มากมาย ซง่ึ แม้แตเ่ หลา่ ธนาคารเองก็ตัดสินใจเข้าลงทุนในการทำ Blockchain มากขึน้
เรือ่ ย ๆ โดยลา่ สุด เหลา่ สถาบนั การเงินอย่างธนาคาร Citibank ตลาดหลกั ทรพั ย์
NASDAQ รวมไปถงึ บริษทั VISA กไ็ ดเ้ ข้าลงทนุ ในบริษัทบลอ็ กเชนช้ันนำอย่าง
Chain.com เพอ่ื แนวทางรกั ษาตลาดเทคโนโลยีนี้เชน่ กัน

2.2.2 ธุรกจิ ทีใ่ ชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี

ในปจั จุบันแตล่ ะธุรกิจก็เร่มิ มกี ารใช้เทคโนโลยีบลอ็ กเชนกันเพิ่มมากขนึ้ ทาง
เราจงึ ไดร้ วบรวมภาคธุรกจิ หลายๆ สว่ นทนี่ ำ บลอ็ กเชน มาใช้ใหผ้ ู้อา่ นไดเ้ หน็

1. การเงนิ ธนาคาร

แนน่ อนวา่ ธนาคารถอื เป็นกลุ่มแรกๆที่กระโดดลงมาลงทุนในตัวเทคโนโลยีน้ี
ธนาคารจากสวิสเซอแลนด์ UBS และธนาคารจากองั กฤษอยา่ ง Barclays เป็นรายท่ีตน่ื ตวั
มากทส่ี ดุ กลุ่มหนึ่งมกี ารนำเอาเทคโนโลยมี าใช้ในสว่ นของ Back Office และ การ
Settlement ธรุ กจิ บางรายในสายธนาคารถงึ กับบอกว่าสามารถตดั ค่าใชจ้ า่ ยของคนกลาง
ท่ีเกิดขนึ้ ได้ถงึ 20 ดอลล่าร์ ไดม้ ี R3CEV หน่วยท่มี ธี นาคารมารวมกวา่ 50 ธนาคาร
ร่วมกนั โฟกัสกันสรา้ งนวัตกรรมดา้ นเงินบนเทคโนโลยีบลอ็ กเชน

13

2. ระบบการชำระและโอนเงิน

The World Economic Forum ได้เผยว่า เทคโนโลยีจะเข้ามาเปลย่ี นแปลง
โครงสรา้ งธุรกจิ ของการโอนเงนิ ท่ีมีมากกว่า 100ปี ท้ังแบบภายในและข้ามประเทศ ซงึ่
ประโยชนจ์ ะตกที่ผู้ใช้งานก็คอื คา่ ธรรมเนยี มถกู ลง และแทบจะเรยี กวา่ รวดเรว็ ทนั ใจเกือบ
เรยี ลไทม์ ตัวอยา่ งน่าสนใจของธุรกจิ กลมุ่ นี้คือนำบล็อกเชนมาใช้เพอ่ื ใหบ้ ริการโอนเงิน

3. สถาบนั การศึกษา

Holbertson School ประกาศนำ บล็อกเชน มาใช้ในการ Authenticate
Academic Certificate ด้วยการเพม่ิ ความมันใจได้ว่านกั เรยี นไดผ้ ่านคอรส์ จากทน่ี ี่จรงิ ๆ
ทำใหใ้ บประกาศนียบตั ร ต่างๆท่ีใหก้ บั ผเู้ รียนน้ันโปร่งใส่ประหยดั เวลาในการตรวจสอบ
และลดคนงานด้านเอกสาร

4. ระบบการเช่าและซอื้ ขายรถ

Visa จับมือร่วมกับ DocuSign จับมือรว่ มกนั นำบลอ็ กเชน มาทำ Proof-of-
concept ในการปรับปรุงระบบการเชา่ รถให้ดีขน้ึ ลกู คา้ เพียงเลอื กรถทต่ี อ้ งการเช่า
ข้อมูลดังกลา่ วจะถูกนำข้นึ ไปจัดเกบ็ บน Blockchain Public Ledger ลกู คา้ ทำการ
เซน็ ต์เอกสารและกฎระเบยี บประกัน ขอ้ มลู ทงั้ หมดจะถูกจดั อพั เดตบน Blockchain
ในอนาคตเช่ือว่าจะถูกนำมาประยกุ ต์ใชก้ ับการขายและลงทะเบียนรถดว้ ยเชน่ กนั

และนอกจากนยี้ ังมธี ุรกิจทนี่ ำเทคโนโลยบี ลอ็ กเชนมาใช้อีกมากมาย ไมว่ า่ กำลงั
พฒั นาใช้หรอื เร่ิมใช้แล้ว

14

2.3 ความปลอดภยั ดา้ นเทคโนโลยีบลอ็ กเชน

ความปลอดภยั ของ Blockchain สว่ นหนึง่ คือจากการนำระบบ
Decentralized มาใชก้ ระจายอำนาจในการตรวจสอบ เป็นการจดั เกบ็ ขอ้ มูลรูปแบบใหม่
ข้อดีคือมีความโปรง่ ใสของข้อมลู เพราะทกุ คนสามารถเขา้ ถึงขอ้ มลู ได้ ระบบ
Decentralized จงึ ถอื เป็นอกี ทางเลอื กหนง่ึ ที่ Blockchain นำไปใชก้ บั การเกบ็ ขอ้ มูล
นอกจากนแี้ ต่ละชดุ ของขอ้ มลู Blockchain ยงั มกี ารเขา้ รหสั อยา่ งดเี พอ่ื ปอ้ งกนั ผไู้ มห่ วงั ดี

Blockchain มกี ารจัดเก็บขอ้ มลู เป็นชดุ ๆ โดยขอ้ มลู แต่ละชดุ จะถกู เขา้ รหสั เอาไว้ แตว่ า่ สิ่ง
ท่ีทำให้ Blockchain นน้ั มีความปลอดภยั ก็คอื เวลาทมี่ กี ารส่งขอ้ มลู หากนั ผ้สู ง่ จะตอ้ งมี
การส่งตวั ถอดรหัสพร้อมกบั ขอ้ มูลใหก้ ับผรู้ บั ก็คอื ตอ้ งมีตวั ถอดรหสั ถงึ จะสามารถแกไ้ ข
ข้อมลู ได้ โดยรหสั จะมกี ารเปลย่ี นแปลงทกุ ครงั้ ท่ีมกี ารแก้ไขข้อมลู นอกจากนี้ เวลาทมี่ กี าร
ส่งขอ้ มูลหากัน Blockchain กจ็ ะทำการบนั ทกึ รายการทกุ ๆ ครง้ั ทำใหร้ ้วู า่ ขอ้ มูลชุดนี้มา
จากใคร และถูกใครแกไ้ ขมากอ่ นหนา้ นี้ ซงึ่ ชว่ ยให้เราสามารถรู้ไดว้ า่ กวา่ ข้อมลู จะมาถงึ เรา
นนั้ มกี ารเปลย่ี นแปลงยงั ไงบา้ ง และมีใครเขา้ ไปแก้ไขบา้ งนน่ั เอง

15

2.3.1 ความโปรง่ ใสข่ องเทคโนโลยี
ความโปร่งใสเป็นความน่าสนใจที่สุดของเทคโนโลยีบล็อกเชน รวมถึง

การมีความเป็นส่วนตัวสูงด้วยเหมือนกัน ข้อมูลประจำตัวของผู้ใช้จะซ่อนอยู่หลัง
การเข้ารหัสท่ีซับซ้อนและสามารถระบุได้ด้วยการเข้าถึงแบบสาธารณะเท่านั้น ใน
ขณะเดียวกัน แม้ว่าข้อมูลประจำตัวของผู้ใช้จะเป็นความลับ แต่เรายังสามารถดู
ธุรกรรมท้ังหมดท่ีดำเนินการได้โดยใช้ท่ีอยู่สาธารณะ (Public Address) ได้ ความ
โปร่งใสระดับน้ีไม่มีอยู่ในระบบการเงินปัจจุบันซ่ึงเป็นสาเหตุที่เทคโนโลยีบล็อกเชน
กำลังเปล่ียนแปลงโลกทางการเงิน

2.3.2 ปัจจัยเสี่ยงของเทคโนโลยีบล็อกเชน

เทคโนโลยีใหมท่ กุ ประเภทมคี วามเส่ยี ง และบลอ็ คเชนกเ็ ชน่ กัน ย่งิ บล็อกเชน
มกี ารเตบิ โตและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ บล็อกเชนจะกลายเปน็ เปา้ หมายในการถูก
แทรกแซงทางไซเบอรม์ ากข้นึ
ในขั้นตน้ นี้ เราต้องระมัดระวังชอ่ งโหว่บลอ็ กเชนและ เทคโนโลยีการกระจายขอ้ มูลบัญชี
(Distributed Ledger Technology: DLT) ที่ใชอ้ ยเู่ ปน็ จำนวนมากในดา้ นต่างๆ ดงั นี:้

• การเข้ายึดครองความเป็นเอกฉนั ท์ (Consensus Hijack) ในเครอื ข่าย
ที่เป็นแบบกระจาย ไมม่ ตี วั กลาง และไมม่ ีระบบการอนญุ าตการเข้าถงึ ที่
แข็งแกรง่ ในเครือข่ายน้ี ผไู้ ม่หวังดีอาจแทรกแซงสามารถแก้ไขข้ันตอน
การตรวจสอบได้

• การโจมตโี ดยปฏเิ สธการใหบ้ ริการ (DDoS Attack) เนือ่ งจากลกั ษณะ
ของบัญชใี นบลอ็ คเชนน้ันกระจายกันออกไป จงึ อาจมคี วามเส่ยี งต่อการ
โจมตีแบบ Denial of Service (DDoS) แมว้ า่ การโจมตีเหลา่ นี้จะไม่
ถงึ กบั ปิดการเข้าถึงบล็อกเชนอยา่ งสมบรู ณ์ แตผ่ ทู้ ่ีไมป่ ระสงคด์ อี าจระดม
สง่ ทรานสเซ็คชั่นธรุ กรรมสแปมจำนวนมากไปยงั เครือขา่ ยทอี่ าจสร้างการ

16

ปฏิเสธบรกิ ารและเพิ่มเวลาในการประมวลผลได้ เนือ่ งจากโหนดนนั้ ตอ้ ง
ใชเ้ วลาตรวจสอบความถูกตอ้ งของธรุ กรรมปลอมนน้ั มาก

• ชอ่ งโหวใ่ นไซด์เชน (Sidechain Vulnerabilities) ปญั หานอ้ี าจมผี ล
ตอ่ เกตเวยท์ ใ่ี ช้ในการถา่ ยโอนเนอ้ื หาและข้อความระหวา่ งพาเรนต์
(Parent) และไซด์เชน (Sidechains) ที่ใช้วธิ รี บั รู้แบบสองทาง ทง้ั นี้ หาก
ธรุ กรรมแรกนน้ั ถูกมองวา่ “ไม่ถกู ตอ้ ง” แล้ว จะผลกระทบตอ่ ธรุ กรรมพ
ร็อกซีที่ตามมาดว้ ย

• สมาร์ทคอนแทร็ค (Smart Contract) ปัญหาอาจเกิดท่โี ปรแกรมการ
ทำธรุ กรรมแบบอตั โนมตั ทิ ีท่ ำงานบนบญั ชแี บบกระจายขึ้นอยกู่ ับประเภท
ของธุรกจิ ได้ เชน่ การออกนโยบายดา้ นประกันได้ด้วยตนเอง รวมถึง
สญั ญาซือ้ ขายทางการเงินลว่ งหน้า สง่ิ นอี้ าจทำใหเ้ กิดขอ้ ผิดพลาดในการ
เขยี นโค้ดซง่ึ มักเก่ยี วขอ้ งกบั ภาษาการเขยี นโปรแกรมพิเศษทีใ่ ชใ้ นการ
กำหนดสมารท์ คอนแทรค็ ต่างๆ และไดพ้ บเหตุการณ์นีม้ าแลว้ ในสมารท์
คอนแทรค็ Etherium blockchain ทีเ่ ขียนขึ้นโดยใช้ภาษา “Serpent”
หรือ “Solidity”

• ช่องโหว่ในบลอ็ คเชนส่วนตวั (Private Blockchain
Vulnerabilities) องคก์ รบางแห่งได้ติดตง้ั ระบบบล็อกเชนสว่ นตัวท่ี
สร้างเอาไว้ใชเ้ องแบบปิด โดยใชโ้ ครงสร้างเครอื ขา่ ยทีม่ ีอยบู่ นบริการ
คลาวดท์ ี่ใชอ้ ยู่ และวธิ กี ำหนดสิทธกิ์ ารเข้าถงึ ของผใู้ ชท้ ีม่ ีอยู่ แต่ผ้ไู ม่
ประสงค์ดกี ลับรูส้ ึกอยากคุกคามเขา้ มามากขนึ้ และเม่ือเข้ามาได้แลว้ เขา
จะมองหาสง่ิ ทีม่ ีค่า ดังน้ัน องค์กรจึงควรพจิ ารณาสร้างเกราะความ
ปลอดภัยเพอ่ื ปกปอ้ งส่งิ ท่มี คี า่ ต่างๆ

17

2.4 อนาคตการเติบโตของเทคโนโลยบี ล็อกเชน
เทคโนโลยบี ล็อกเชนกลายเป็นที่นยิ มท่ีสดุ ในตลอดปที ี่ผ่านมา เนือ่ งจากการใช้

งานอย่างแพรห่ ลายของครปิ โตเคอเรนซี่ เชน่ บิทคอยน์ ส่ิงทท่ี ำให้บทิ คอยน์นั้นโดดเดน่
เพราะว่ามนั ทำงานอย่บู นเครอื ขา่ ยบลอ็ กเชนโดยใช้ Distributed Ledger Technology
ในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ซึง่ ทุกคนสามารถตรวจสอบขอ้ มลู ได้ และขอ้ มูลเหลา่ นจ้ี ะไมส่ ามารถ
ถูกควบคมุ หรือแทรกแซงได้ ผเู้ ชี่ยวชาญหลายคนคาดการณว์ า่ เทคโนโลยี บลอ็ กเชน จะ
ถกู นำมาใชก้ ับอุตสาหกรรมตา่ งๆ และคาดวา่ ในอนาคต บลอ็ คเชนจะมาปฏวิ ัติ
กระบวนการทางธรุ กจิ แบบดัง้ เดิม อย่างไรกต็ าม ปจั จบุ นั บลอ็ กเชนยังอยู่ในชว่ งของการ
พัฒนา และไมใ่ ชเ่ รื่องง่ายทจ่ี ะนำมาใช้งานไดอ้ ย่างเตม็ รปู แบบ

2.4.1 อสุ าหกรรมทีจ่ ะขับเคลอื่ นเทคโนโลยีบลอ็ กเชน

อุสาหกรรมการเงินการธนาคารจะเปน็ ผนู้ ำขบั เคลอ่ื นเทคโนโลยีบล็อกเชน สงิ่
ทีธ่ รุ กิจธนาคารและการเงนิ แตกต่างจากธุรกิจแบบด้งั เดิมอืน่ ๆ คือ พวกเขาไมจ่ ำเป็นตอ้ ง
เปลีย่ นแปลงโครงสร้างพื้นฐานในกระบวนการทำงานมากสำหรบั การนำเทคโนโลยีบลอ็ ก
เชนเข้ามาใช้ เพราะว่าโครงสร้างเดิมทมี่ อี ยูส่ ามารถตอ่ ยอดได้ไม่ยาก โดยธนาคารหลาย
แหง่ มกี ารนำคริปโตเคอเรนซีมาใชใ้ นการทำธุรกรรมระหวา่ งธนาคารแลว้

2.4.2 ปรากฎการณส์ กลุ เงินดิจิทัลแหง่ ชาติ

ในอนาคต สิ่งทหี่ ลีกเล่ียงไม่ไดค้ ือ รฐั บาลจะต้องตระถงึ ประโยชน์ของสกลุ เงนิ
ดจิ ทิ ัลที่ทำงานอยู่บนระบบบลอ็ กเชน ตอนนี้กม็ ี ประธานาธบิ ดรี ัสเซีย วลาดมี ีร์ ปตู ิน ซ่ึง
เป็นคนแรกที่เสนอเรอ่ื งสกลุ เงนิ ดิจทิ ลั แหง่ ชาติ เน่อื งจากสกลุ เงนิ บิทคอยนไ์ ดเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั
ในหลายประเทศแล้ว รฐั บาลจึงตอ้ งศึกษาเกี่ยวกบั การประยกุ ต์ใช้สกุลเงนิ ดจิ ิทัล เพ่อื ทจ่ี ะ
ตามโลกของเทคโนโลยีใหมใ่ ห้ทัน อยา่ งไรกต็ าม รฐั บาลจะตอ้ งพฒั นาระบบการเงินของตน
เพราะวา่ บิทคอยน์ และ คริปโตเคอเรนซี ตวั อื่นๆ อาจกลายเปน็ สกุลเงนิ ทสี่ ามารถซ้อื
ขายไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ โดยทรี่ ฐั บาลไม่สามารถควบคมุ ไดเ้ ลย

18

บทที่ 3

สรุป

Blockchain ก็คือเทคโนโลยีทเี่ กดิ ขึ้นมาพร้อมๆ กบั Bitcoin
Cryptocurrency ช่ือดังและตามมาอกี หลายสกุลเงินดจิ ิทัล แต่ ในมุมมองของ
Techgnology Developer นนั้ กลับมองวา่ บลอ็ กเชนสามารถนำมาสรา้ งประโยชน์ใน
ภาคอุตสาหกรรมอื่นได้อกี มากมาย จนคดิ ไปไกลถึงขัน้ ว่าจะกลายเปน็ ถนนเสน้ ใหม่ท่ี
เชอื่ มต่อโลกดจิ ิทัลไว้ดว้ ยกัน ในแบบท่ที กุ คนบนโลกสามารถแชรข์ อ้ มูลกนั ไปมาหากนั ได้
โดยไม่ตอ้ งมศี นู ยก์ ลางข้อมูลอกี ตอ่ ไป

19

บรรณานกุ รม

Eart Nutchanon.(2562).เทคโนโลยี Blockchain คอื อะไร.[ออนไลน]์ . ได้จาก:
https://blockchain-review.co.th/blockchain-review/what-is-blockchain/
[สบื ค้นเม่ือวนั ที่ 22 สงิ หาคม 2564].

Jeerichuda.(2560).เทคโนโลยี blockchain คอื อะไร และมนั จะมาเปลยี่ นโลกอยา่ งไร.
[ออนไลน]์ . ไดจ้ าก: https://siamblockchain.com/2017/06/04/blockchain-
%e0%b8%84%e0%b8%b7%e0%b8%ad%e0%b8%ad%e0%b8%b0%e0%b9
%84%e0%b8%a3/ [สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 22 สงิ หาคม 2564].

Natanon Wichaikuldilok.(2561).มาทำความรู้จกั กบั blockchainกนั .[ออนไลน์]. ได้
จาก:
https://medium.com/teamappman/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%97
%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8
%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0

%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81-blockchain-
%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99-42ded68f90f2 [สืบค้นเม่อื วันที่ 22
สงิ หาคม 2564].

Oravee.(2559).เข้าใจblockchainภายใน 5 นาที.[ออนไลน]์ . ไดจ้ าก:
https://techsauce.co/tech-and-biz/understand-blockchain-in-5-minutes/
[สบื คน้ เมอื่ วันที่ 22 สิงหาคม 2564].

20

Veedvil.(2560).ทำความเขา้ ใจเทคโนโลยีBlockchain จดุ เปลยี่ นของหลายอุตสาหกรรม.
[ออนไลน]์ .ไดจ้ าก: http://www.veedvil.com/news/blockchain/ [สืบคน้ เม่อื วันที่ 22
สิงหาคม 2564].
“ปัจจัยเส่ยี งด้านความปลอดภยั ของเทคโนโลยี Blockchain”.[ออนไลน]์ . (ม.ป.ป). ได้
จาก: https://siamblockchain.com/bitcoin-
%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-
%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/
[สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 22 สิงหาคม 2564].
“Bitcoin คืออะไร.”[ออนไลน]์ .(ม.ป.ป). ได้จาก:
https://siamblockchain.com/bitcoin-
%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-
%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/
[สืบค้นเม่อื วันที่ 22 สิงหาคม 2564].

“Blockchain แมจ้ ะแขง็ แกรง่ แต่ก็ใช่ไม่มีปัจจยั เสี่ยงดา้ นความปลอดภัย”.[ออนไลน์].
(ม.ป.ป). ได้จาก: https://www.thaifintech.com/2019/05/15/secure-blockchain/
[สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 1 ตุลาคม 2564].

PeerPower Team.(2561).6อุตสาหกรรมที่ Blockchain จะเขา้ มา
เปลี่ยนแปลง.[ออนไลน์]. ได้จาก:
https://www.peerpower.co.th/blog/investor/blockchain-tech-2021/ [สืบค้น
เมือ่ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2564].

21

“ประโยชน์ 6 ข้อของเทคโนโลยีบล็อกเชน”.[ออนไลน์].(ม.ป.ป). ได้จาก: ประโยชน์ 6 ขอ้
ของเทคโนโลยีบลอ็ กเชน | เดลินิวส์ (dailynews.co.th) [สืบค้นเมอื่ วันที่ 1 ตลุ าคม
2564].

“4 อุตสาหกรรมทรี่ บั ประโยชน์เตม็ ๆจากเทคโนโลยบี ลอ็ กเชน”.[ออนไลน]์ .(ม.ป.ป). ได้
จาก: https://siamblockchain.com/2020/06/21/ooking-into-the-future-these-
industries-will-be-the-biggest-beneficiaries-of-blockchain-technology/ [สบื ค้น
เมอื่ วนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564].


Click to View FlipBook Version