The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายวิจิตร พลเศษ, 2021-03-31 07:32:59

แผนวิชาหลักเศรษฐศาสตร์

วิชาหลักเศรษฐศาสตร์

Keywords: วิชาหลักเศรษฐศาสตร์

แผนการสอน/การจดั การเรยี นรู้แบบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั วชิ า 30200-1001 วชิ าหลักเศรษฐศาสตร์
หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันสูง (ปวส.) พุทธศกั ราช 2563

ประเภทวชิ าบริหารธรุ กจิ

จดั ทาโดย

นายวิจิตร พลเศษ
ตาแหน่ง ครู

แผนกวิชาการบัญชี วทิ ยาลัยการอาชพี สวา่ งแดนดิน
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร

แบบคำขออนุมัติ
แผนกำรจัดกำรเรียนร้มู ่งุ เนน้ สมรรถนะ
รหัสวิชำ 30200-1001 รำยวิชำหลักเศรษฐศำสตร์
หลกั สูตรประกำศนียบัตรวิชำชพี ชน้ั สงู (ปวส.) พุทธศักรำช 2563

ผจู้ ัดทำ

ลงช่อื
(นำยวจิ ติ ร พลเศษ)
ตำแหน่ง ครู

ผู้ตรวจสอบแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้

ลงชื่อ ลงช่อื
(นำงประไพศรี วงศป์ รดี )ี (นำยคมุ ดวง พรมอนิ ทร์)
หวั หน้ำแผนกวชิ ำกำรบญั ชี หัวหนำ้ งำนพฒั นำหลักสตู รฯ

ควำมเห็นรองผู้อำนวยกำรฝำ่ ยวชิ ำกำร

ลงชือ่
(นำยทินกร พรหมอนิ ทร์)
รองผู้อำนวยกำรฝำ่ ยวชิ ำกำร

ควำมเหน็ ผอู้ ำนวยกำรวิทยำลัยกำรอำชีพสวำ่ งแดนดิน

 อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นุมตั ิ เพรำะ

ลงช่อื
(นำงวรรณภำ พว่ งกลุ )

ผ้อู ำนวยกำรวิทยำลยั กำรอำชพี สวำ่ งแดนดนิ



คานา

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ วิชำหลักเศรษฐศำสตร์ รหัสวิชำ 30200-1001 เลม่ น้ไี ด้จดั ทำขึ้นตรงตำม

มำตรฐำนรำยวชิ ำ ของหลักสูตรประกำศนียบัตรวิชำชพี ชั้นสงู พทุ ธศกั รำช 2563 ของสำนกั งำนคณะกรรมกำร
กำรอำชีวศึกษำ

กำรจดั แผนกำรเรยี นรู้ รำยวิชำดงั กล่ำว มุ่งเนน้ ให้ผ้เู รียนสำมำรถปฏิบัติไดจ้ ริง โดยแบ่งหน่วย กำรเรียน
ท้งั สน้ิ 14 หนว่ ยกำรเรยี น ซงึ่ แต่ละหน่วยกำรเรียนมกี ิจกรรมสง่ เสริมกำรเรียนรู้ แบบประเมนิ ตนเองเพ่ือให้
ผเู้ รียนไดม้ สี ่วนรว่ มในกำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ของตนเอง ตรงตำมกระบวนกำรเรียนกำรสอน

แผนกำรจัดกำรเรยี นรูเ้ ลม่ น้จี ะเป็นประโยชน์ต่อนักเรยี น นักศกึ ษำ ครู อำจำรยแ์ ละผ้ใู ชห้ ำกมขี ้อเสนอแนะ
ประกำรใด ผู้จัดทำยินดีรับไว้ด้วยควำมขอบคุณ และขอขอบพระคุณ คุณครู อำจำรย์ บิดำ มำรดำ ผู้อบรมสั่ง
สอน

ลงช่ือ...........................................
(นำยวิจติ ร พลเศษ)
ผู้จัดทำ

สารบัญ ค

คานา หนา้
สารบญั
ลกั ษณะรายวิชา ข
ตารางวิเคราะห์สมรรถนะการเรยี นรู้ ค
ตารางวิเคราะห์หลกั สูตร 1
ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวิชาโดยบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2
โครงการสอนหรอื โครงการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ 10
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 17
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 22
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 34
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 43
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 50
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 56
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 70
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8 77
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 9 85
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 91
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 11 97
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 103
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 13 109
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 14

1

ลักษณะรายวชิ า
ลกั ษณะรายวิชา

รหัสวชิ ำ 3200-1001 ช่อื วิชำหลักเศรษฐศำสตร์
หนว่ ยกติ ๓ ( 54 ชั่วโมง)
หลกั สูตรประกำศนียบตั รวชิ ำชีพชั้นสงู ประเภทวิชำ บริหำรธรุ กิจ
สำขำวิชำ กำรบญั ชี สำขำงำน กำรบัญชี

จดุ ประสงค์รำยวิชำ เพอ่ื ให้

1.เขำ้ ใจเกยี่ วกับหลกั เศรษฐศำสตร์
2.สำมำรถแนวทำงคิดทำงเศรษฐศำสตร์เพอื่ แก้ปัญหำในชีวติ ประจำวนั ตำมหลกั ปรชั ญำของ
เศรษฐกิจพอเพียง
3.เห็นคุณค่ำและควำมสำคญั ของหลกั เศรษฐศำสตร์

สมรรถนะรำยวชิ ำ

1. แสดงควำมร้คู วำมเขำ้ ใจเกยี่ วกับเศรษฐศำสตร์ที่สำคุญต่อกำรดำเนนิ ธุรกจิ
2. ประยุกตห์ ลกั เศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชพี และชวี ิตประจำวนั
3. ปฏบิ ตั ิงำนด้วยควำมมคี ุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลกั
ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

ศกึ ษำเก่ียวกับควำมร้ทู ่วั ไปทำงเศรษฐศำสตร์ อุปสงค์ อุปทำน และกำรเปล่ียนแปลงอปุ สงค์
อปุ ทำนและภำวะดุลยภำพของตลำด ควำมยืดหยุ่นของอปุ สงคแ์ ละอุปทำน ทฤษฎีพฤติกรรม
ผู้บรโิ ภค ทฤษฎีกำรผลิต ต้นทนุ รำยรับและกำไรจำกกำรผลิต กำรกำหนดรำคำสินค้ำในตลำด
ประเภทต่ำงๆรำยไดป้ ระชำชำติ กำรเงนิ กำรธนำคำร กำรคลังรฐั บำล กำรค้ำระหวำ่ งประเทศ เงนิ
เฟ้อ เงนิ ฝดื และกำรแกป้ ญั หำเศรษฐกิจมหภำค วฎั จักรเศรษฐกจิ กำรพฒั มนำเศรษฐกจิ และกำรบูร
ณำกำรหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง

2

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้

รหัสวชิ ำ 3200-1001 ชื่อวชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
จานวน 3 หน่วยกิต จานวนช่ัวโมง รวม 54 ชัว่ โมง

วิเคราะหห์ วั ข้อเรอ่ื ง

รหัสวชิ ำ 3200-1001 ชือ่ วิชำหลกั เศรษฐศำสตร์

หน่วยกติ ๓ ( 54 ชั่วโมง)

หลักสตู รประกำศนยี บัตรวิชำชีพชั้นสูง ประเภทวิชำ บริหำรธรุ กจิ

สำขำวชิ ำ กำรบญั ชี สำขำงำน กำรบญั ชี

หัวข้อเรอื่ ง (Topic) แหล่งข้อมูล E
ABCD /

บทท่ี 1 ควำมรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั หลกั เศรษฐศำสตร์ //// /
/
บทท่ี 2 อุปสงค์ อุปทำน และภำวะดลุ ยภำพของตลำด //// /
/
บทท่ี 3 ควำมยดื หยุน่ ของอุปสงค์ อปุ ทำน //// /
/
บทที่ 4 พฤติกรรมผ้บู รโิ ภค //// /

บทที่ 5 กำรผลิต //// /
/
บทท่ี 6 ตน้ ทนุ รำยรบั รำยจ่ำย กำไร //// /
/
บทที่ 7 ตลำดในระบบเศรษฐกิจ ////
/
บทที่ 8 รำยไดป้ ระชำชำติ //// /

บทที่ 9 กำรกำหนดรำยไดป้ ระชำชำติ ////
บทที่ 10 กำรเงนิ ธนำคำรและนโยบำยกำรเงิน ////
////
บทท่ี 11 นโยบำยกำรคลัง ////

บทท่ี 12 เงินเฟ้อ เงินฝืดกำรวำ่ งงำนและกำรแก้ไขปัญญำและกำรแก้ไข ////
ปญั หำเศรษฐกจิ มหำภำค ////
บทที่ 13 กำรค้ำระหว่ำงประเทศ

บทท่ี 14 กำรพัฒนำเศรษฐกิจและวฏั จักรเศรษฐกจิ

หมายเหตุ A : คำอธิบำยรำยวชิ ำ
B : ผูเ้ ช่ยี วชำญ
C : ผ้ชู ำนำญกำร
D : ประสบกำรณ์ของครผู ูส้ อน
E : เอกสำร/ตำรำ/คมู่ ือ

3

รายการวิเคราะห์ เน้ือหาวิชา จดุ ประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า
รหสั วิชำ 3200-1001 ช่อื วิชำหลักเศรษฐศำสตร์ หนว่ ยกิต 3 (3)
หลักสตู รประกำศนยี บัตรวิชำชพี ช้นั สงู ประเภทวชิ ำ บรหิ ำรธุรกจิ
สำขำวชิ ำ กำรบญั ชี สำขำงำน กำรบัญชี

หวั ขอ้ หลกั / เนื้อหาวิชา จุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า
หน่วยการ 1 2 34 1 2

เรยี นรู้

1 บทที่ 1 ควำมรทู้ วั่ ไปเก่ยี วกบั หลกั เศรษฐศำสตร์ / /

2 บทท่ี 2 อปุ สงค์ อปุ ทำน และภำวะดุลยภำพของ / /

ตลำด

3 บทที่ 3 ควำมยดื หยุ่นของอปุ สงค์ อุปทำน / /

4 บทที่ 4 พฤติกรรมผบู้ ริโภค / / //

5 บทท่ี 5 กำรผลติ //

6 บทท่ี 6 ตน้ ทุนรำยรบั รำยจ่ำย กำไร //

7 บทท่ี 7 ตลำดในระบบเศรษฐกิจ //

8 บทที่ 8 รำยได้ประชำชำติ //

9 บทที่ 9 กำรกำหนดรำยไดป้ ระชำชำติ //

10 บทท่ี 10 กำรเงนิ ธนำคำรและนโยบำยกำรเงนิ / /

11 บทท่ี 11 นโยบำยกำรคลัง //

12 บทท่ี 12 เงินเฟ้อ เงนิ ฝืดกำรว่ำงงำนและกำรแก้ไข
ปัญญำและกำรแก้ไขปญั หำเศรษฐกิจมหำภำค

13 บทท่ี 13 กำรค้ำระหวำ่ งประเทศ

14 บทที่ 14 กำรพฒั นำเศรษฐกิจและวัฏจักร
เศรษฐกิจ

4

ตารางวเิ คราะหร์ ะดับ พุทธิพสิ ัย ทักษะพิสัย จติ พิสัย

รหสั วชิ ำ 3200-1001 ชอื่ วิชำหลักเศรษฐศำสตร์ หนว่ ยกิต 3 (3)

หลกั สูตรประกำศนียบัตรวชิ ำชพี ช้นั สูง ประเภทวชิ ำ บรหิ ำรธรุ กิจ

สำขำวิชำ กำรบัญชี สำขำงำน กำรบญั ชี

หนว่ ย ระดับพฤติกรรมทีพ่ ึ่งประสงค์ เวลา
ที่ (ชม.)
ชือ่ หน่วย พุทธิพสิ ยั ทักษะพสิ ัย จิตพสิ ัย
23 4
1 23456 1 2345 1 5

1 บทท่ี 1 ควำมรู้ทวั่ ไป / / /// ///

เกยี่ วกับหลกั

เศรษฐศำสตร์

2 บทท่ี 2 อปุ สงค์ // /// ///

อปุ ทำน และภำวะดลุ ย

ภำพของตลำด

3 บทท่ี 3 ควำมยืดหยุน่ / / /// ///

ของอุปสงค์ อปุ ทำน

4 บทท่ี 4 พฤติกรรม / / /// ///

ผู้บริโภค

5 บทท่ี 5 กำรผลิต / / /// ///

6 บทที่ 6 ตน้ ทนุ รำยรบั / / /// ///

รำยจ่ำย กำไร

7 บทที่ 7 ตลำดในระบบ

เศรษฐกจิ

8 บทที่ 8 รำยได้

ประชำชำติ

พุทธพิ ิสัย ทักษะพิสัย จิตพสิ ยั
1= ควำมรู้ 1= เลยี นแบบ 1= รบั รู้
2= ควำมเข้ำใจ 2= ทำไดต้ ำมแบบ 2= ตอบสนอง
3= กำรนำไปใช้ 3= ทำได้ถูกตอ้ ง 3= เหน็ คณุ คำ่
4= กำรวเิ ครำะห์ แม่นยำ 4= จัดระบบ
5= กำรสงั เครำะห์ 4= ทำได้ตอ่ เน่ือง คณุ ค่ำ
6= กำรประเมินค่ำ ประสำนกนั 5= พฒั นำเป็น
5= ทำไดอ้ ยำ่ งเปน็ ลักษณะนสิ ยั
ธรรมชำติ

น้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงมำปฏบิ ัติ

5

ตารางวิเคราะห์ระดับ พุทธิพสิ ัย ทักษะพิสัย จติ พิสัย

รหสั วิชำ 3200-1001 ชื่อวชิ ำหลกั เศรษฐศำสตร์ หน่วยกติ 3 (3)

หลกั สตู รประกำศนียบัตรวชิ ำชพี ชั้นสงู ประเภทวชิ ำ บรหิ ำรธรุ กิจ

สำขำวชิ ำ กำรบัญชี สำขำงำน กำรบัญชี

หน่วย ระดบั พฤติกรรมท่ีพ่ึงประสงค์ เวลา
ท่ี (ชม.)
ชื่อหน่วย พทุ ธิพสิ ยั ทักษะพิสยั จิตพสิ ัย
23 4
1 23456 1 2345 1 5

9 บทที่ 9 กำรกำหนด / / /// ///

รำยได้ประชำชำติ

10 บทที่ 10 กำรเงิน / / /// ///

ธนำคำรและนโยบำย

กำรเงนิ

11 บทท่ี 11 นโยบำยกำร / / /// ///

คลงั

12 บทที่ 12 เงินเฟ้อ เงิน / / /// ///

ฝืดกำรวำ่ งงำนและกำร

แก้ไขปญั ญำและกำร

แก้ไขปัญหำเศรษฐกจิ

มหำภำค

13 บทที่ 13 กำรค้ำ / / /// ///

ระหวำ่ งประเทศ

14 บทที่ 14 กำรพัฒนำ / / /// ///

เศรษฐกิจและวฏั จักร

เศรษฐกิจ

พทุ ธิพิสัย ทกั ษะพสิ ยั จิตพสิ ยั

1= ควำมรู้ 1= เลยี นแบบ 1= รบั รู้

2= ควำมเข้ำใจ 2= ทำไดต้ ำมแบบ 2= ตอบสนอง

3= กำรนำไปใช้ 3= ทำได้ถูกตอ้ ง 3= เหน็ คณุ คำ่

4= กำรวิเครำะห์ แม่นยำ 4= จัดระบบ

5= กำรสงั เครำะห์ 4= ทำไดต้ อ่ เน่ือง คณุ ค่ำ

6= กำรประเมนิ ค่ำ ประสำนกนั 5= พฒั นำเป็น

5= ทำไดอ้ ย่ำงเป็น ลักษณะนสิ ยั

ธรรมชำติ

นอ้ มนำหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงมำปฏิบัติ

6

หน่วยการสอน/การเรียนรู้ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ

รหสั วิชำ 3200-1001 ชอื่ วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
ทฤษฎี คำบ/สัปดำห์ ปฏบิ ัตคิ ำบ/สัปดำห์

หนว่ ยที่ ช่อื หน่วย จานวนคาบทฤษฎี จานวนคาบปฏิบตั ิ

1 บทที่ 1 ควำมรทู้ ่ัวไปเก่ยี วกบั หลกั 21
เศรษฐศำสตร์
2 บทท่ี 2 อปุ สงค์ อุปทำน และภำวะดุลยภำพ 21
ของตลำด
3 บทท่ี 3 ควำมยดื หยนุ่ ของอปุ สงค์ อปุ ทำน 42
4 21
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บรโิ ภค

5 บทท่ี 5 กำรผลติ 21

6 บทท่ี 6 ตน้ ทุนรำยรบั รำยจำ่ ย กำไร 2 1

7 บทที่ 7 ตลำดในระบบเศรษฐกจิ 42

8 บทที่ 8 รำยได้ประชำชำติ 42

9 บทที่ 9 กำรกำหนดรำยไดป้ ระชำชำติ 2 1

10 บทที่ 10 กำรเงนิ ธนำคำรและนโยบำย 2 1
กำรเงนิ 2 1

11 บทที่ 11 นโยบำยกำรคลงั

12 บทที่ 12 เงนิ เฟ้อ เงนิ ฝดื กำรวำ่ งงำนและกำร 2 1
แก้ไขปัญญำและกำรแก้ไขปญั หำเศรษฐกจิ 2 1
มหำภำค

13 บทที่ 13 กำรคำ้ ระหว่ำงประเทศ

14 บทที่ 14 กำรพฒั นำเศรษฐกิจและวัฏจกั ร 4 2
เศรษฐกจิ

7

กาหนดการเรยี นรู้

รหสั วชิ ำ 30200-1001 ช่ือวิชำหลักเศรษฐศำสตร์

หลกั สูตรประกำศนยี บตั รวชิ ำชพี ชัน้ สงู ประเภทวชิ ำ

สำขำวชิ ำ สำขำงำน

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ สปั ดาห์ที่ ชว่ั โมง

1 บทที่ 1 ควำมร้ทู ั่วไปเก่ยี วกับหลกั เศรษฐศำสตร์ 1 3
2 3
2 บทท่ี 2 อุปสงค์ อุปทำน และภำวะดลุ ยภำพของตลำด 3-4 6
5 3
3 บทท่ี 3 ควำมยดื หยุ่นของอปุ สงค์ อปุ ทำน 6 3
7 3
4 บทที่ 4 พฤติกรรมผูบ้ ริโภค 8-9 6
10-11 6
5 บทท่ี 5 กำรผลติ 12 3
13 3
6 บทท่ี 6 ต้นทนุ รำยรบั รำยจำ่ ย กำไร 14 3
15 3
7 บทที่ 7 ตลำดในระบบเศรษฐกจิ
16 3
8 บทท่ี 8 รำยไดป้ ระชำชำติ 17-18 6

9 บทท่ี 9 กำรกำหนดรำยไดป้ ระชำชำติ

10 บทท่ี 10 กำรเงินธนำคำรและนโยบำยกำรเงนิ

11 บทท่ี 11 นโยบำยกำรคลัง

12 บทที่ 12 เงินเฟ้อ เงนิ ฝดื กำรว่ำงงำนและกำรแก้ไขปัญญำ

และกำรแกไ้ ขปญั หำเศรษฐกจิ มหำภำค

13 บทที่ 13 กำรคำ้ ระหวำ่ งประเทศ

14 บทท่ี 14 กำรพัฒนำเศรษฐกิจและวัฏจกั รเศรษฐกจิ

รวม 18 54

8

ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู ร

รหสั วชิ ำ 30200-1001 ชอ่ื วชิ ำหลกั เศรษฐศำสตร์

จานวน 3 หน่วยกิต จานวนชัว่ โมง รวม 54 ช่วั โมง

ด้านพุทธพิ ิสัย
ความรู้ (5)
พฤตกิ รรม ความ ้ขาใจ(5)
นาไปใ ้ช(5)
การเรยี นรู้ ิวเคราะ ์ห(5)
ัสงเคราะห์(5)
ชื่อหน่วยการสอน/การเรยี นรู้ ประเ ิมนค่า(5)
บทที่ 1 ควำมรทู้ ่ัวไปเกีย่ วกบั หลัก ้ดานทักษะ ิพ ัสย(5)
เศรษฐศำสตร์ ด้าน ิจตพิ ัสย(5)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทำน และภำวะดลุ ยภำพ รวม(40)
ของตลำด ลา ัดบความสาคัญ
บทท่ี 3 ควำมยดื หยนุ่ ของอปุ สงค์ อปุ ทำน จานวน ่ัชวโมง
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
บทท่ี 5 กำรผลิต

บทที่ 6 ตน้ ทนุ รำยรบั รำยจ่ำย กำไร
บทที่ 7 ตลำดในระบบเศรษฐกจิ
บทที่ 8 รำยไดป้ ระชำชำติ
บทท่ี 9 กำรกำหนดรำยไดป้ ระชำชำติ
บทท่ี 10 กำรเงนิ ธนำคำรและนโยบำย
กำรเงนิ
บทท่ี 11 นโยบำยกำรคลงั
บทท่ี 12 เงินเฟ้อ เงนิ ฝืดกำรว่ำงงำนและกำร
แกไ้ ขปัญญำและกำรแก้ไขปญั หำเศรษฐกจิ
มหำภำค
บทท่ี 13 กำรคำ้ ระหวำ่ งประเทศ
บทที่ 14 กำรพฒั นำเศรษฐกิจและวัฏจกั ร
เศรษฐกจิ

รวมคะแนน
ลาดับความสาคัญ

คาอธบิ าย 5 หมำยถงึ ระดบั ควำมสำคัญของแต่ละรำยกำรมี 5 ระดบั คือ 1, 2, 3, 4, 5

9

ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะรายวชิ า

โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัสวชิ ำ 30200-1001 ชอื่ วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์

จานวน 3 หน่วยกิต จานวนชว่ั โมง รวม 54 ช่ัวโมง

ระดับช้นั ................ สาขาวชิ า ............................................................................................................................

ทางสายกลาง

3หว่ ง 2 เงื่อนไข
ความรู้ คณุ ธรรม
ชอื่ หนว่ ยการสอน/
พอประมาณ(5)
สมรรถนะรายวิชา ีมเหตุผล(5)
ีมภู ิมคุ้ม ักน(5)
รอบรู้(5)
รอบคอบ(5)
ระ ัมดระ ัวง(5)
ซ่ือ ัสตย์ ุสจริต(5)
ข ัยนอดทน(5)
ีมส ิตปัญญา(5)
แบ่งปัน(5)
รวม(50)
ลา ัดบความสาคัญ

หน่วยการสอนที่
ชื่อหน่วยการสอน
บทที่ 1 ควำมรทู้ ่วั ไปเกีย่ วกับหลกั
เศรษฐศำสตร์
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทำน และภำวะดลุ ย
ภำพของตลำด
บทที่ 3 ควำมยืดหย่นุ ของอุปสงค์ อปุ ทำน
บทที่ 4 พฤติกรรมผูบ้ ริโภค
บทท่ี 5 กำรผลติ
บทท่ี 6 ตน้ ทนุ รำยรับรำยจำ่ ย กำไร
บทที่ 7 ตลำดในระบบเศรษฐกจิ
บทที่ 8 รำยได้ประชำชำติ
บทท่ี 9 กำรกำหนดรำยได้ประชำชำติ
บทที่ 10 กำรเงินธนำคำรและนโยบำย
กำรเงนิ
บทที่ 11 นโยบำยกำรคลงั
บทที่ 12 เงินเฟ้อ เงินฝืดกำรว่ำงงำนและ
กำรแก้ไขปญั ญำและกำรแก้ไขปัญหำ
เศรษฐกจิ มหำภำค
บทที่ 13 กำรคำ้ ระหว่ำงประเทศ
บทที่ 14 กำรพฒั นำเศรษฐกิจและวฏั จกั ร
เศรษฐกจิ

รวม

ลาดบั ความสาคัญ

10

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 1 หนว่ ยที่ 1
รหสั 3200-1001 วชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3
ชอ่ื หน่วย/เรือ่ ง ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ สอนครั้งที่ 1 (1-3)
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ

เศรษฐศำสตร์ เป็นกำรศึกษำถงึ แนวทำงกำรใชท้ รัพยำกรท่ีมีอยู่อยำ่ งจำกัดใหม้ ปี ระสทิ ธิภำพสงู สุด

เศรษฐศำสตรจ์ ึงมีควำมสมั พันธแ์ ละเชอ่ื มโยงกบั หลำยสำขำวชิ ำ กำรศึกษำวชิ ำเศรษฐศำสตร์จะทำให้เข้ำใจ และทรำบ

ถึงปัจจยั ทก่ี ำหนดกิจกรรมทำงเศรษฐกิจท้ังกำรผลติ กำรบริโภค และกำรลงทนุ โดยจะตอ้ งใช้เครอ่ื งมือหลำยๆ

ประเภทในกำรศกึ ษำและทำควำมเขำ้ ใจกิจกรรมทำงเศรษฐกิจเหล่ำนั้น เช่น คณติ ศำสตร์ สถิติ กรำฟ เปน็ ต้น

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1 อธิบำยควำมหมำยของเศรษฐศำสตร์ เขำ้ ใจประวตั แิ ละแขนงของวิชำเศรษฐศำสตร์รวมทง้ั ควำมสัมพนั ธ์

ระหวำ่ งเศรษฐศำสตร์กับวชิ ำอนื่ ๆ ได้

2 อธิบำยวตั ถุประสงคแ์ ละวิธีกำรศึกษำทำงเศรษฐศำสตรไ์ ด้

3 อธิบำยหนว่ ยเศรษฐกิจและวงจรในระบบเศรษฐกิจได้

4 อธิบำยปญั หำพืน้ ฐำนทำงเศรษฐกจิ และระบบเศรษฐกจิ แบบตำ่ งๆ รวมทงั้ แก้ปัญหำพื้นฐำนทำงเศรษฐกจิ ได้

5 อธบิ ำยเครอ่ื งมือประกอบกำรศึกษำวิชำเศรษฐศำสตร์ได้

6 อธบิ ำยประโยชนข์ องวิชำเศรษฐศำสตรไ์ ด้

7.มกี ำรพัฒนำคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำ สำนักงำน

คณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ ทคี่ รูสำมำรถสงั เกตได้ขณะทำกำรสอนในเร่ือง

7.1 ควำมมีมนุษยสัมพนั ธ์ 7.8 กำรละเว้นสง่ิ เสพติดและกำรพนัน

7.2ควำมมวี ินยั 7.9 ควำมรักสำมัคคี

7.3ควำมรบั ผิดชอบ 7.10 ควำมกตญั ญูกตเวที

7.4ควำมซื่อสัตยส์ ุจรติ

7.5 ควำมเชื่อมั่นในตนเอง

7.6 กำรประหยดั

7.7 ควำมสนใจใฝ่รู้

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเศรษฐศำสตร์ทีส่ ำคัญต่อกำรดำเนินธรุ กจิ

2.ประยุกต์หลักเศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชวี ิตประจำวัน

3.ปฏิบตั ิงำนดว้ ยควำมมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลกั ปรัชญำของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

เนอื้ หาสาระ
1 ควำมหมำยและประวตั ิของวชิ ำเศรษฐศำสตร์
2 แขนงของวชิ ำเศรษฐศำสตร์ และควำมสัมพันธร์ ะหวำ่ งเศรษฐศำสตรก์ ับวิชำอน่ื ๆ
3 วตั ถุประสงคแ์ ละวิธีกำรศึกษำทำงเศรษฐศำสตร์

11

4 หนว่ ยเศรษฐกิจและวงจรในระบบเศรษฐกิจ
5 ปัญหำพ้นื ฐำนทำงเศรษฐกิจ
6 ระบบเศรษฐกจิ แบบตำ่ งๆ กับกำรแกป้ ัญหำพ้นื ฐำนทำงเศรษฐกจิ
7 เครอ่ื งมือประกอบกำรศึกษำวชิ ำเศรษฐศำสตร์
8 ประโยชน์ของวิชำเศรษฐศำสตร์

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรยี น
1.ผเู้ รียนรบั ฟังจดุ ประสงค์รำยวชิ ำ สมรรถนะรำยวิชำ และคำอธิบำยรำยวิชำ ตำมหลกั สูตรประกำศนยี บัตร

วชิ ำชพี ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ แนวทำงวัดผลและกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ พรอ้ มทง้ั ซักถำม
และแสดงควำมคิดเห็นเกย่ี วกับกำรเรยี น

2.ครูอภิปรำยว่ำเศรษฐศำสตรเ์ ปน็ วชิ ำกำรแขนงหนึง่ ของสังคมศำสตร์ ผู้ที่ได้รบั กำรยกย่องใหเ้ ป็นบดิ ำแหง่
วชิ ำเศรษฐศำสตร์ คือ อดมั สมิธ (Adam Smith) ได้เขยี นตำรำเศรษฐศำสตร์เล่มแรกของโลก ชื่อ An Inquiry into
the Nature and Causes of the Wealth of Nations ตพี ิมพค์ รั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1776 สงั คมหน่ึงๆ ประกอบดว้ ย
หน่วยเศรษฐกจิ ทที่ ำหน้ำท่ีแตกตำ่ งกนั ไป และมจี ำรีตประเพณที ่ีแตกต่ำงกันด้วย จึงจำเป็นตอ้ งมีกฎเกณฑ์และนโยบำย
ทเ่ี ปน็ แบบแผน เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรดำเนินกิจกรรมทำงเศรษฐกจิ และใช้แกป้ ญั หำทำงเศรษฐกจิ ไม่วำ่ ระบบ
เศรษฐกิจของประเทศตำ่ งๆ ในโลกจะเปน็ แบบใดก็ตำม ต่ำงกม็ ีจุดมุ่งหมำยทจ่ี ะแกป้ ้ญหำพื้นฐำนทำงเศรษฐกิจ คอื
ปญั หำว่ำ จะผลิต อะไร (what to produce?) ปัญหำวำ่ จะใชว้ ิธีกำรผลติ อยำ่ งไร (how to produce?) และปัญหำว่ำ
จะผลิตเพ่ือใคร (for whom to produce?)

ขัน้ สอน
3.ครูใชเ้ ทคนคิ วิธีสอนแบบใช้โสตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วธิ ีสอน
ทีน่ ำอุปกรณ์โสตทัศนว์ สั ดุมำชว่ ยพัฒนำคณุ ภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทศั น์วัสดุดังกลำ่ ว ได้แก่ VDO และ Power
Point เพ่ือแสดงใหผ้ ้เู รียนได้เรยี นรู้ควำมหมำยและประวัติของวชิ ำเศรษฐศำสตร์ และแขนงของวิชำเศรษฐศำสตร์ และ
ควำมสมั พันธ์ระหว่ำงเศรษฐศำสตร์กบั วิชำอ่นื ๆ
4.ครูใช้เทคนคิ วิธสี อนแบบบรรยำย (Lecture Method) ดว้ ยกำรเลำ่ อธิบำยให้ผเู้ รยี นเป็นผ้ฟู งั และเปิด
โอกำสให้ผเู้ รยี นซักถำมปัญหำไดใ้ นตอนท้ำยของกำรบรรยำยเรื่องวัตถุประสงคแ์ ละวิธีกำรศึกษำทำงเศรษฐศำสตร์
หนว่ ยเศรษฐกิจและวงจรในระบบเศรษฐกจิ
5.ครใู ช้เทคนคิ วธิ ีสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวธิ สี อนที่
นำอุปกรณโ์ สตทัศนว์ สั ดมุ ำชว่ ยพัฒนำคณุ ภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทัศน์วัสดุดงั กล่ำว ได้แก่ VDO และ Power
Point เพ่ือแสดงใหผ้ ้เู รยี นได้เรยี นรู้ปัญหำพ้นื ฐำนทำงเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่
5.1 ผลิตอะไร (what) เมอ่ื ทรัพยำกรท่ีมอี ยู่ในโลกมจี ำนวนจำกัดและไม่สำมำรถสนองควำม
ตอ้ งกำรทง้ั หมดของทกุ คนในสังคมมนุษย์ได้ จงึ ตอ้ งมีกำรคำนวณและวำงแผนเพือ่ ใหร้ วู้ ำ่ สง่ิ ใดควรจะผลติ และสิง่ ใดไม่
ควรผลิต และส่งิ ทค่ี วรผลิตนนั้ ควรจะผลติ ในปริมำณเทำ่ ใด จึงจะเพยี งพอกบั ควำมตอ้ งกำรและควำมจำเป็นเพ่ือให้กำร
จัดสรรทรพั ยำกรอันจำกดั นัน้ เกิดประโยชนม์ ำกทสี่ ดุ เพื่อใหไ้ ดส้ ิ่งทมี่ ีคนต้องกำรมำกทีส่ ุด กลำ่ วโดยสรุป ปญั หำ
พน้ื ฐำนทำงเศรษฐกิจข้อแรกก็คอื จะผลิตสนิ คำ้ หรือบรกิ ำรอะไร(what to produce?)
5.2 ผลิตอยำ่ งไร (how) เมอื่ ได้กำหนดหรือตดั สนิ ใจแน่วำ่ จะเลอื กผลติ สินค้ำหรอื บริกำรอะไร และผลติ ใน
จำนวนเทำ่ ไร เพือ่ ใหเ้ พยี งพอตอ่ ควำมต้องกำรของทุกคนในสังคมแลว้ ปัญหำพ้นื ฐำนทำงเศรษฐกจิ ข้อต่อไปก็คือ จะ
ผลิตสนิ ค้ำหรือบริกำรท่ีเลือกน้ันดว้ ยวิธีใด จึงจะได้ประสิทธิภำพที่ดที ส่ี ุด ในแง่ทวี่ ่ำเสยี ต้นทนุ กำรผลิตตอ่ หนว่ ยต่ำที่สดุ

12

หรอื ใช้จำนวนปัจจยั กำรผลิตเทำ่ เดมิ แตผ่ ลิตสินคำ้ หรือบริกำรไดเ้ พ่ิมข้ึน ย่อมก่อให้เกดิ ผลดีแก่หนว่ ยเศรษฐกจิ ทุก

หน่วยทเี่ กยี่ วข้อง หรอื กลำ่ วอีกนยั หนึ่ง จะผลติ สินคำ้ หรือบริกำรอย่ำงไร(how to produce?)

5.3 ผลิตเพ่อื ใคร (for whom) เมอื่ ไดก้ ำหนดหรือตดั สนิ ใจว่ำจะเลือกผลติ สนิ คำ้ หรือบริกำรอะไร

ผลติ ในจำนวนเท่ำไร และผลิตด้วยกรรมวธิ ใี ดที่จะเสยี ต้นทนุ กำรผลิตตำ่ ทีส่ ุด ปญั หำพื้นฐำนทำงเศรษฐกิจ

ข้อที่สำมก็คือสินค้ำหรือบริกำรทผ่ี ลิตขึ้นนนั้ จะผลิตเพ่ือใคร (for whom to produce?) จงึ จะเปน็ กำร

แบ่งสนิ ค้ำและบรกิ ำรท่ีผลติ ไดด้ ้วยทรพั ยำกรอันจำกดั นัน้ ไปยังบคุ คลต่ำงๆ อย่ำงเหมำะสม เสมอภำคและยตุ ิธรรม

6.ครแู ละผเู้ รียนใชเ้ ทคนคิ กำรสอนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรียนร้แู บบอภิปรำย คอื กระบวนกำร

ทีผ่ ู้สอนมุ่งใหผ้ ู้เรียนมโี อกำสสนทนำแลกเปลี่ยนควำมคดิ เห็นหรือระดมควำมคิดในเรอื่ งใดเรอื่ งหนึง่ โดยมี

จดุ มุ่งหมำยเพือ่ หำคำตอบ แนวทำงหรอื แกป้ ญั หำร่วมกนั กำรจัดกำรเรยี นรู้แบบนมี้ ่งุ เน้นใหผ้ ู้เรยี นมีสว่ นร่วมใน

กำรเรียนรู้ คือ ร่วมคิด รว่ มวำงแผน ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏบิ ตั งิ ำนและชื่นชมผลงำนร่วมกันในเรอ่ื งระบบ

เศรษฐกิจแบบต่ำงๆ กบั กำรแก้ปัญหำพ้นื ฐำนทำงเศรษฐกจิ

7.ครแู ละผู้เรียนใชเ้ ทคนิคกำรสอนแบบ Small Group Discussion กำรจัดกำรเรียนร้โู ดยใชก้ ำรอภปิ รำยกลุ่ม

ยอ่ ย คอื กระบวนกำรเรียนรทู้ ี่ผ้สู อนจดั กลุ่มผ้เู รียนออกเป็นกลมุ่ ยอ่ ยประมำณ 4 – 8 คน ให้ผเู้ รยี นในกลมุ่ มี

โอกำสสนทนำแลกเปล่ียนขอ้ มลู ควำมคดิ เห็น ประสบกำรณ์ในเร่ืองเครือ่ งมือประกอบกำรศึกษำวิชำ

เศรษฐศำสตร์ และประโยชนข์ องวิชำเศรษฐศำสตร์ และสรุปผลกำรอภิปรำยออกมำเป็นข้อสรุปของกลุ่ม

8.ผู้เรียนแสดงควำมคิดเหน็ ว่ำ “เรำไม่ถอื วำ่ แรงงำนสตั วเ์ ป็นปัจจยั กำรผลติ ประเภทแรงงำน แต่อนโุ ลมใหเ้ ป็น

ปัจจัยทนุ ” ผู้เรยี นเหน็ ด้วยหรอื ไม่ เพรำะเหตุใด

9.ผ้เู รียนแสดงควำมคดิ เห็นว่ำในบรรดำปจั จยั กำรผลติ ทัง้ 4 ประเภท ผเู้ รยี นเห็นวำ่ “ปจั จยั กำรผลติ ใดมี

ควำมสำคัญทสี่ ดุ ในกำรสร้ำงควำมเจริญเตบิ โตทำงเศรษฐกจิ ” เพรำะเหตใุ ด อธิบำยเหตุผล

10.ผู้เรียนแสดงควำมคิดเหน็ วำ่ “ประเทศไทยมรี ะบบเศรษฐกจิ แบบใด” อธบิ ำยและยกประเดน็ สำคัญใหเ้ หน็

ชดั เจน

11.ครูให้ควำมรเู้ ก่ยี วกบั เง่ือนไขตำมหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง ในกำรตัดสินใจและกำรปฏิบัติกจิ กรรมต่ำง ๆ ให้

อย่ใู นระดบั พอเพยี งนนั้ ต้องอำศยั ทั้งควำมรู้ และคุณธรรมเป็นพนื้ ฐำน กล่ำวคือ

(1) เง่อื นไขควำมรู้ เปน็ ควำมรอบรเู้ กย่ี วกบั วิชำกำรต่ำง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ควำมรอบคอบที่จะนำควำมรูเ้ หล่ำน้ัน

มำพจิ ำรณำใหเ้ ช่ือมโยงกัน เพื่อกำรวำงแผน และควำมระมัดระวังในข้ันปฏบิ ัติ

(2) เง่อื นไขคุณธรรม เปน็ สงิ่ ทต่ี อ้ งเสรมิ สรำ้ งให้มีควำมตระหนักในคุณธรรม มีควำมซ่ือสัตย์สุจรติ และมีควำม

อดทน มีควำมเพียร ใช้สติปัญญำในกำรดำเนินชีวติ

12.ครใู หค้ วำมร้เู กีย่ วกบั กำรทำบญั ชรี ำยรบั -รำยจ่ำย หมำยถงึ กำรจดบันทึกเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ เก่ียวกบั กำรเงนิ

หรือบำงสว่ นเก่ยี วข้องกับกำรเงิน โดยผ่ำนกำรวิเครำะห์ จดั ประเภทและบนั ทกึ ไวใ้ นแบบฟอรม์ ที่กำหนด เพ่ือแสดง

ฐำนะกำรเงินและผลกำรดำเนินงำนของตนเองหรอื ครอบครัวในชว่ งระยะเวลำหน่ึง

ตัวอยา่ งแบบบนั ทกึ บญั ชีรายรับ-รายจ่าย

ว.ด.ป. รายรับ จานวนเงิน ว.ด.ป. รายรับ จานวนเงนิ
บาท สต. บาท สต.

ผ้เู รียนบันทึกรำยรับ-รำยจ่ำยในครวั เรือนของตนเองในภำคเรียนน้ตี ำมแบบฟอร์มท่ีกำหนดให้
สมดุ บนั ทึก รายรบั -รายจา่ ย ในครวั เรือน

ของนำย/นำง/นำงสำว.......................................................

13

ประจำภำคเรียนท.่ี ../........ระหวำ่ งเดือน..................ถงึ เดอื น................พ.ศ ...........

วัน รายการ รายรบั รายจา่ ย คงเหลือ
เดือน ปี

หมายเหตุ ถ้ำไม่พอให้ใชก้ ระดำษ A-4 ตแี บบฟอรม์ เพ่ิมเติมได้

สรปุ และการประยุกต์
13.ครูและผู้เรยี นสรุปว่ำวิชำเศรษฐศำสตร์ คือ วิชำที่ศึกษำถึงกำรเลือกทรัพยำกรกำรผลติ ท่ีมีอยู่อยำ่ งจำกัดมำ

ใชใ้ นกำรผลติ สินคำ้ และบริกำรอย่ำงประหยดั และมีประสิทธิภำพมำกทีส่ ดุ และหำทำงแจกจ่ำยหรือกระจำยสินคำ้ และ
บริกำรออกไปเพ่ือสนองควำมต้องกำรของมนุษย์ท่ีมีควำมตอ้ งกำรไม่จำกัดให้ได้รับควำมพอใจสูงสุดและมี
ประสิทธิภำพมำกที่สุด บิดำของวิชำเศรษฐศำสตร์ คือ อดัม สมิธ วิชำเศรษฐศำสตร์แบ่งกำรศึกษำออกเป็น
เศรษฐศำสตร์จุลภำคและเศรษฐศำสตร์มหภำค โดยเศรษฐศำสตร์จุลภำคเป็นกำรศึกษำพฤติกรรมทำงเศรษฐกิจใน
ส่วนย่อยของระบบเศรษฐกิจ แต่เศรษฐศำสตร์มหภำคเป็นกำรศึกษำเศรษฐกิจในภำพรวมทั้งระบบ ในกำรวิเครำะห์
ทำงเศรษฐศำสตร์มีเครื่องมือที่นิยมนำมำใช้อธิบำยทฤษฎีทำงด้ำนเศรษฐศำสตร์ ได้แก่ ข้อควำมบรรยำย ฟังก์ชัน
สมกำร และกรำฟ

14.ครูและผู้เรียนสรุปโดยกำรถำมตอบ และแสดงวิธีทำเรื่ององค์ประกอบของเวกเตอร์ กำรบวกเวกเตอร์กำร
คูณเวกเตอร์

15.ผู้เรียนวำงแผนนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันท่ีจำเป็นโดยทั่วไป และทำแบบ
ประเมินผลกำรเรยี นรู้

สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
2. สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์, VDO และ Power Power
3. กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
4. รปู ภำพประกอบ
5. เครื่องมือและอปุ กรณ์

หลักฐาน
1. บนั ทกึ กำรสอน
2. ผลงำน
3. แผนจดั กำรเรียนรู้
4. ใบเชค็ ชือ่ เขำ้ ห้องเรียน

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธวี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. ตรวจใบงำน

14

3. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
4 ประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
5 สังเกตพฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
6 กำรสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

เครือ่ งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกล่มุ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน)
4. ใบงำน
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มกนั
ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ
2. เกณฑ์ผ่ำนกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปำนกลำง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑ์ผำ่ นกำรสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกล่มุ คือ ปำนกลำง (50% ข้นึ ไป)
4. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้ มีเกณฑ์ผำ่ น 50%
5 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กับกำร

ประเมนิ ตำมสภำพจริง

15

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทบทวนบทเรียนควำมรทู้ ั่วไปเกย่ี วกบั เศรษฐศำสตร์
2..บันทึกกำรรับ-จำ่ ย
คาชแี้ จง : ให้บันทกึ บัญชรี ำยรบั -รำยจ่ำย ตำมควำมเปน็ จรงิ

1. จำกกำรลงบันทึกมีเงนิ เหลือเก็บหรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขึ้นถ้ำมีรำยจ่ำยมำกกวำ่ รำยรบั ………………………..…………….………………….…

16

บนั ทกึ หลังการสอน
ขอ้ สรุปหลงั การสอน
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
.................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................
......................................................................................................... ..........................................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
.................................................................................................................................................. .

ปัญหาท่ีพบ
............................................................................................................................. ......................
................................................................................................. ..................................................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
.............................................................................................................................................. .....
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................

แนวทางแกป้ ญั หา
.................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................
................................................................................................. ..................................................

17

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการท่ี 1 หนว่ ยท่ี 2
รหัส 3200-1001 วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3
ชอื่ หน่วย/เรื่อง อุปสงค์ อุปทำน และภำวะดุลยภำพของตลำด สอนครั้งท่ี 2 (4-6)
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ
ในระบบเศรษฐกิจท่ีมีกำรแข่งขนั กลไกรำคำหรือระบบตลำดจะมบี ทบำทสำคัญในกำรกำหนดรำคำและปริมำณ

กำรซื้อขำยสนิ ค้ำและบรกิ ำร ซ่ึงเกิดขึน้ จำกควำมตอ้ งกำรซ้ือของผู้บรโิ ภคหรืออุปสงค์ และกำรเสนอขำยจำกผผู้ ลิต
หรอื อุปทำน โดยท้ังอปุ สงค์และอปุ ทำนมีกำรเปล่ยี นแปลงไปตำมปัจจัยทีก่ ำหนด และมีกำรปรบั ตัวเข้ำหำจดุ สมดลุ
หรือจุดดลุ ยภำพในทส่ี ุด

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1 อธบิ ำยควำมหมำย ชนดิ ของอุปสงค์ ตัวกำหนดอุปสงค์ และกฎของอุปสงคแ์ ละเส้นอปุ สงค์ได้
2 อธบิ ำยกำรเปลยี่ นแปลงปริมำณซื้อและกำรเปลย่ี นแปลงอุปสงค์ได้
3 อธิบำยควำมหมำยของอปุ ทำน ตวั กำหนดอุปทำน และกฎของอุปทำนและเสน้ อปุ ทำน
4 อธบิ ำยกำรเปล่ียนแปลงปริมำณขำยและกำรเปลย่ี นแปลงอปุ ทำนได้
5 อธบิ ำยดุลยภำพของตลำดและกำรเปลี่ยนแปลงของดลุ ยภำพตลำดได้
6.มีกำรพัฒนำคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผสู้ ำเรจ็ กำรศกึ ษำสำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ ทค่ี รูสำมำรถสังเกตไดข้ ณะทำกำรสอนในเรอ่ื ง
6.1 ควำมมีมนุษยสมั พนั ธ์
6.2 ควำมมวี ินัย
6.3 ควำมรบั ผิดชอบ
6.4 ควำมซ่ือสตั ยส์ ุจรติ
6.5 ควำมเชอื่ มนั่ ในตนเอง
6.6 กำรประหยัด
6.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
6.8 กำรละเว้นสิ่งเสพติดและกำรพนนั
6.9 ควำมรักสำมัคคี
6.10 ควำมกตัญญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเศรษฐศำสตร์ท่สี ำคัญต่อกำรดำเนินธรุ กิจ
2.ประยุกตห์ ลักเศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชีวติ ประจำวัน
3.ปฏบิ ัติงำนดว้ ยควำมมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลักปรัชญำของ

เศรษฐกิจพอเพียง

18

เนอื้ หาสาระ
1 อปุ สงค์
2 กำรเปลี่ยนแปลงปรมิ ำณซ้ือและกำรเปล่ยี นแปลงอุปสงค์
3 อุปทำน
4 กำรเปล่ยี นแปลงปริมำณขำยและกำรเปลี่ยนแปลงอปุ ทำน
5 ดลุ ยภำพของตลำดและกำร

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน
1.ครสู นทนำกับผู้เรียนว่ำ โดยทัว่ ไปผซู้ ื้อและผขู้ ำยแต่ละฝ่ำยจะตดั สนิ ใจโดยคำนึงถึงประโยชนส์ ูงสุดของตน
กำรตัดสินใจของทั้งผู้ซ้ือและผู้ขำยนเี่ องท่รี ว่ มกนั กำหนดรำคำสินคำ้ และบริกำรในตลำด กำรตัดสินใจของผู้ซือ้ จะ
เกีย่ วขอ้ งกบั อปุ สงค์ (Demand) สว่ นกำรตัดสนิ ใจของผูข้ ำยจะเกี่ยวข้องกบั อุปทำน (Supply) ดังนัน้ รำคำสินคำ้ และ
บริกำรในตลำด จึงถูกกำหนดจำกอุปสงค์และอุปทำนร่วมกัน
2.ครูและผ้เู รียนสนทนำ และยกตัวอย่ำงอปุ สงค์ อุปทำน และภำวะดุลยภำพของตลำด เพื่อเชื่อมโยงเข้ำสู่
เนอื้ หำต่อไป

ขนั้ สอน
3.ครใู ช้เทคนิควิธสี อนแบบใช้โสตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วธิ ีสอน
ที่นำอปุ กรณโ์ สตทศั นว์ ัสดุมำช่วยพฒั นำคุณภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทศั น์วัสดดุ ังกล่ำว ไดแ้ ก่ Power Point โดย
แสดงรปู ภำพจำกส่ือ Power Point เพ่อื อธิบำยอุปสงค์ กำรเปล่ยี นแปลงปรมิ ำณซื้อและกำรเปลีย่ นแปลงอุปสงค์
4.ครูและผู้เรียนใช้เทคนิคกำรสอนแบบ Demonstration Method กำรจดั กำรเรียนร้แู บบสำธติ อุปสงค์ กำร
เปลี่ยนแปลงปรมิ ำณซ้ือและกำรเปลย่ี นแปลงอุปสงค์
5.ครใู ช้เทคนคิ วธิ สี อนแบบใช้โสตทศั นวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวธิ ีสอน
ที่นำอุปกรณโ์ สตทศั น์วสั ดมุ ำชว่ ยพัฒนำคณุ ภำพกำรเรียนกำรสอน โสตทศั น์วสั ดุดังกลำ่ ว ไดแ้ ก่ Power Point โดย
แสดงรปู ภำพจำกสื่อ Power Point เพือ่ อธิบำยอุปทำน กำรเปลย่ี นแปลงปริมำณขำยและกำรเปลย่ี นแปลงอุปทำน
ดุลยภำพของตลำดและกำรเปลย่ี นแปลงของดลุ ยภำพตลำด
6.ครูใช้เทคนคิ กำรจดั กำรเรียนรู้แบบสำธติ (Demonstration Method) คอื กระบวนกำรทผ่ี ู้สอน หรือบุคคล
ใดบุคคลหน่งึ ใชใ้ นกำรชว่ ยให้ผเู้ รียนไดเ้ กิดกำรเรยี นรู้ตำมวัตถุประสงค์ โดยกำรแสดงหรือกระทำใหด้ ูเป็นตวั อย่ำง
พรอ้ ม ๆ กบั กำรบอก อธิบำย ให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ ผเู้ รยี นจะเกิดกำรเรียนรจู้ ำกกำรสงั เกต กระบวนกำรข้นั ตอนกำร
สำธิตนน้ั ๆ แลว้ ใหผ้ ู้เรียนซกั ถำม อภิปรำย และสรปุ กำรเรียนรูท้ ีไ่ ด้จำกกำรสำธติ ในเร่ืองอปุ ทำน กำรเปลี่ยนแปลง
ปรมิ ำณขำยและกำรเปล่ยี นแปลงอปุ ทำน ดลุ ยภำพของตลำดและกำรเปล่ยี นแปลงของดุลยภำพตลำด
7.ผเู้ รยี นตำมกฎของอุปสงคร์ ะบุวำ่ "ปริมำณสนิ ค้ำและบริกำรชนดิ ใดชนดิ หนึ่งทผ่ี ้บู ริโภคต้องกำรซ้ือย่อม
แปรผกผันกบั รำคำสินค้ำและบริกำรชนดิ นนั้ เสมอ" ควำมสัมพนั ธด์ ังกล่ำวมีสำเหตุมำจำกอะไร อธิบำย
8.ผเู้ รียนอธบิ ำยนยิ ำมของอปุ สงค์ตอ่ รำคำ ควำมตอ้ งกำรซื้อและควำมต้องกำรธรรมดำแตกต่ำงกันอย่ำงไร
9.ผเู้ รยี นเปรยี บเทยี บกำรเปล่ยี นแปลงอุปสงค์และกำรเปล่ียนแปลงปริมำณซื้อมีสำเหตุแตกต่ำงกนั อยำ่ งไร
10.ครูให้ควำมร้เู กี่ยวกบั ความรู้ ความคดิ และการปฏิบัติ คอื ควรนำแนวปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซ่ึงใน
กระบวนกำรทำงำนทุกประเภทนั้น จะเน้นสัจจะซึ่งเป็นตวั คุณธรรม จรยิ ธรรม เนน้ ควำมซือ่ สัตยส์ จุ ริต เนน้ ให้ชว่ ยกนั
คิด ชว่ ยกนั ทำ เน้นใหร้ ู้จกั ควำมพอดี พอประมำณ มีเหตุผล ทงั้ หมดนคี้ ือ หลักปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพียง และสำมำรถ
นำไปประยุกต์ใช้กบั กำรดำเนินชวี ิตของทุกคนได้

19

ขัน้ สรปุ และการประยุกต์
9.ครแู ละผู้เรยี นสรปุ เนื้อหำแรงและชนิดของแรง กำรแยกแรงไปในแนวแกนตงั้ ฉำก โดยกำรถำม-ตอบ และ
แสดงกำรคำนวณประกอบ
10.ผู้เรยี นตอบคำถำมเป็นรำยบุคคลหรือกลุม่ แล้วแตค่ วำมสะดวกในสภำพจริงของกำรเรียนกำรสอน
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สือเรียน วิชำหลักเศรษฐศำสตร์
2.รูปภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน
4.ส่ืออิกเลก็ ทรอนิกส์ , VDO และPower Point
5.เคร่ืองมือและอุปกรณป์ ฏิบัตงิ ำน
หลักฐาน
1.บนั ทึกกำรสอน
2.ใบเชค็ รำยชอ่ื
3.แผนจัดกำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมินผลงำน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
3. ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบฝึกหัดท้ำยหน่วยกำรเรยี นรู้
5. กำรสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุม่
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนร่วมกนั

ประเมิน

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ่ำนกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่ำนกำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลุ่ม คอื ปำนกลำง (50 % ขนึ้ ไป)
3. เกณฑ์ผำ่ นกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปำนกลำง (50% ข้นึ ไป)
4. ใบงำน มีเกณฑผ์ ่ำน 50%
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ ำ่ น 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึน้ อยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจรงิ

20

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทบทวนบทเรียนโดยกำรศึกษำเพ่ิมเติม และฝึกทักษะกำรคำนวณเรอ่ื งอปุ สงค์ อปุ ทำน และภำวะดลุ ยภำพ

ของตลำด
2.บนั ทกึ บัญชีรำยรบั -รำยจ่ำย
คาชี้แจง : ใหบ้ ันทึกบัญชรี ำยรับ-รำยจำ่ ย ตำมควำมเปน็ จรงิ

1. จำกกำรลงบันทึกมเี งนิ เหลอื เก็บหรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขนึ้ ถำ้ มรี ำยจำ่ ยมำกกว่ำรำยรบั ………………………..…………….………………….…

21

บนั ทึกหลังการสอน
ขอ้ สรปุ หลังการสอน

............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................ ......................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

ปญั หาที่พบ
............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................. .....................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................

แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. .....................
.............................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. ....................

22

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 3 หน่วยท่ี 3
รหัส 30200-1001 วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนคร้ังท่ี 3 (7-9)
ชือ่ หน่วย/เรื่อง ความยดื หยนุ่ ของอุปสงค์และอปุ ทาน
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ

จำกกำรศึกษำเรือ่ งอปุ สงค์และอุปทำนทำให้ทรำบว่ำเมื่อรำคำสินค้ำและบริกำร และปัจจัยอนื่ ๆ ที่กำหนดอปุ

สงค์และอปุ ทำนเปลี่ยนแปลงไปจะทำใหป้ รมิ ำณเสนอซ้ือหรอื ปรมิ ำณเสนอขำยเปลยี่ นแปลงไป เมอื่ รำคำสินคำ้ และ

บรกิ ำร รำยไดข้ องผบู้ ริโภค รำคำสนิ ค้ำและบริกำรชนดิ อนื่ ท่ใี ชท้ ดแทนกนั หรือประกอบกนั เปลยี่ นแปลงไป ทำใหเ้ กิด

กำรเปลยี่ นแปลงในอปุ สงคแ์ ละอปุ ทำน แตก่ ำรเปลีย่ นแปลงจะมำกน้อยเพยี งใดขน้ึ อยู่กับประเภทของสนิ ค้ำและ

บริกำรนั้นๆ เชน่ สินคำ้ และบริกำรที่ต้องใชบ้ รโิ ภคประจำ สนิ ค้ำฟมุ่ เฟือย สินค้ำเกษตรกรรม สินคำ้ อตุ สำหกรรม เป็น

ตน้ ซึ่งค่ำที่คำนวณออกมำได้ของสัดส่วนกำรเปลยี่ นแปลงของปรมิ ำณเสนอซื้อหรือปริมำณเสนอขำยทีต่ อบสนองต่อ

กำรเปลีย่ นแปลงของรำคำและปจั จัยอืน่ ๆ คอื คำ่ ควำมยดื หยุ่น
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1 อธิบำยควำมหมำยของควำมยืดหยุน่ ได้

2 บอกควำมยดื หยุน่ ของอปุ สงคต์ ่อรำคำ ควำมยืดหยุ่นของอปุ สงคต์ ่อรำยได้และควำมยืดหยุ่นของอุปสงคต์ ่อ

รำคำของสินคำ้ อื่นทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้

3 ระบปุ จั จยั ที่กำหนดค่ำควำมยดื หยุ่นของอุปสงคไ์ ด้

4 อธิบำยควำมยืดหยุ่นของอุปทำนได้

5 ระบคุ ำ่ ควำมยืดหย่นุ ของอุปทำน และอธิบำยลกั ษณะของเส้นอปุ ทำนได้

6 ระบปุ ัจจยั ท่กี ำหนดคำ่ ควำมยืดหยนุ่ ของอปุ ทำนได้

7.มกี ำรพฒั นำคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำสำนักงำน

คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ ที่ครสู ำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเรือ่ ง

7.1 ควำมมีมนุษยสมั พนั ธ์ 7.6 กำรประหยัด

7.2 ควำมมีวนิ ยั 7.7 ควำมสนใจใฝ่รู

7.3 ควำมรบั ผิดชอบ 7.8 กำรละเว้นสง่ิ เสพติดและกำรพนัน

7.4 ควำมซือ่ สตั ยส์ จุ รติ 7.9 ควำมรักสำมัคคี

7.5 ควำมเช่อื มน่ั ในตนเอง 7.10 ควำมกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกบั เศรษฐศำสตร์ทส่ี ำคญั ต่อกำรดำเนนิ ธุรกิจ
2.ประยุกตห์ ลกั เศรษฐศำสตร์ไปใช้ในงำนอำชีพและชีวติ ประจำวนั
3.ปฏบิ ัตงิ ำนด้วยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลกั ปรชั ญำของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

23

เนอื้ หาสาระ
1 ควำมหมำยของควำมยดื หยุ่น
2 ควำมยดื หยนุ่ ของอุปสงค์
3 ปัจจัยท่ีกำหนดค่ำควำมยืดหยุน่ ของอุปสงค์
4 ควำมยืดหยนุ่ ของอปุ ทำน
5 ปจั จยั ท่กี ำหนดคำ่ ควำมยดื หยุ่นของอุปทำน

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครแู ละผูเ้ รียนสนทนำกันวำ่ จำกกำรศึกษำอุปสงคแ์ ละอุปทำนในหนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ่ี 2 ทำใหท้ รำบว่ำ
ปรมิ ำณซ้ือและปริมำณเสนอขำยจะเปลีย่ นแปลงไปเม่ือปจั จัยหรือตัวกำหนดอุปสงคแ์ ละอุปทำนเปล่ียนแปลงไป กำร
เปลี่ยนแปลงจะมีมำกน้อยเพียงใดขน้ึ อยู่กบั ค่ำควำมยืดหยุ่น ซึ่งเปน็ เคร่ืองมือทนี่ กั เศรษฐศำสตรส์ รำ้ งขนึ้ เพ่ือใช้วัดดู
ปฏกิ ริ ิยำตอบสนองของปริมำณซอ้ื หรือปรมิ ำณเสนอขำยท่ีมีต่อกำรเปลย่ี นแปลงของตวั กำหนดต่ำงๆ ว่ำมคี วำมไวมำก
น้อยเพียงใด
2.ครแู ละผ้เู รยี นบอกควำมจำเปน็ ในกำรเรียนรู้กำรศกึ ษำอปุ สงคแ์ ละอุปทำน

ขั้นสอน
3.ครูใชเ้ ทคนคิ วิธีสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วิธีสอน
ท่นี ำอปุ กรณ์โสตทัศนว์ ัสดมุ ำชว่ ยพฒั นำคุณภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทศั น์วสั ดดุ ังกล่ำว ไดแ้ ก่ Power Point เพอื่
แสดงใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้ควำมหมำยของควำมยืดหยนุ่ และใชเ้ ทคนคิ Demonstration Method กำรจดั กำรเรยี นรู้
แบบสำธิตเพื่อควำมยดื หยนุ่ ของอปุ สงค์
4.ครอู ธิบำย และสำธติ สมดุลของแรง กำรศึกษำในเรอ่ื งของปจั จัยทก่ี ำหนดคำ่ ควำมยดื หย่นุ ของอปุ สงค์ควำม
ยดื หยนุ่ ของอปุ ทำน และปัจจัยทก่ี ำหนดค่ำควำมยืดหยุ่นของอปุ ทำน
5.ผู้เรยี นกำหนดให้สมกำรอุปสงค์และอปุ ทำนของตลำดปำลม์ นำ้ มนั ในจงั หวดั สรุ ำษฎรธ์ ำนีเป็นดังน้ี

(ก) สร้ำงตำรำงอปุ สงค์ และตำรำงอุปทำน
(ข) หำรำคำและปริมำณดุลยภำพของตลำด
(ค) ณ รำคำดุลยภำพ หำค่ำควำมยดื หย่นุ ของอุปสงคแ์ ละอุปทำน
6.ผู้เรยี นอธบิ ำย “เสน้ อุปทำนทเี่ ปน็ เส้นตรงจะมีค่ำควำมชันคงที่ ดงั น้ันจงึ มคี ำ่ ควำมยดื หยุ่นคงท่ีดว้ ย”
ขอ้ ควำมนีถ้ ูกตอ้ งหรือไม่
7.ครเู นน้ ผเู้ รยี นใหม้ ีความละเอยี ดรอบคอบ มีความอดทน มีควาเขม้ แข็ง มีความเพียรพยายามให้มี
ควำมสำมำรถฝึกปฏิบตั ิไดจ้ ริง นอกจำกนั้นยังให้ระมดั ระวังควำมปลอดภยั ในกำรฝึกปฏบิ ัติงำนท่ีอำจเกิดขน้ึ ได้โดย
ไม่ได้ตัง้ ใจ เพรำะในกำรประกอบอำชีพจรงิ ๆ ดงั น้นั ผเู้ รยี นต้องฝึกทักษะควำมชำนำญเหลำ่ น้ใี ห้มปี ระสิทธิภำพ เพื่อ
สรำ้ งรำยไดท้ ่ดี ีในอนำคตต่อไป และพร้อมรบั ผลกระทบและควำมเปลยี่ นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขึ้นในอนำคต คือ ทำให้
เขม้ แข็ง กจ็ ะทำให้ครอบครวั มีเงนิ ออมอนั เกิดจำกกำรทำงำนของเรำได้ ถือเป็นเง่ือนไขสำคญั คือเรอื่ งคุณธรรม
ลักษณะดงั กลำ่ วน้ีกจ็ ะเป็นการสรา้ งภมู คิ ้มุ กันทด่ี ใี นตัวเอง รวมทั้งมีความอดทน มคี วามเพียรพยายามในกำรทำงำน
ในชีวติ ประจำวนั ไดใ้ นอนำคตต่อไปเปน็ อย่ำงดี
ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์
8.ครแู ละผเู้ รยี นสรุปควำมยดื หยนุ่ ของอุปสงคต์ ่อรำคำ เป็นกำรวดั กำรตอบสนองของปริมำณซอ้ื

24

ต่อกำรเปลยี่ นแปลงของรำคำสินค้ำ ควำมยดื หยุ่นของอปุ สงคต์ อ่ รำคำแบ่งออกเปน็ 5 ลักษณะ คอื
1) อุปสงค์ที่มคี วำมยืดหยุ่นมำก 2) อุปสงค์ทมี่ ีควำมยดื หยุ่นน้อย 3) อปุ สงค์ทมี่ ีควำมยืดหยุ่นเทำ่ กบั
หนงึ่ 4) อุปสงคท์ ่ีไม่มีควำมยืดหยนุ่ เลย และ 5) อปุ สงค์ที่มคี วำมยดื หยุ่นอยำ่ งสมบูรณ์ อุปสงค์ต่อรำคำของสินค้ำแต่
ละชนิดมคี ำ่ ไมเ่ ท่ำกนั เพรำะผลของควำมสำมำรถในกำรใช้ทดแทนกันของสนิ ค้ำ มลู คำ่ สนิ ค้ำคิดเปน็ สัดส่วนของรำยได้
ควำมสำคัญก่อนกำรตอบสนองควำมต้องกำรสินค้ำขน้ั พื้นฐำน และระยะเวลำนับตัง้ แตร่ ำคำสินคำ้ เปลี่ยนแปลง

9.ครูและผูเ้ รยี นสรุปเน้ือหำท่ีเรียนอย่ำงคร่ำวๆ และถำมตอบเพ่ือทดสอบควำมรผู้ ู้เรยี น
10.ผู้เรียนทำใบงำน และแบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสอื เรยี น วิชำหลกั เศรษฐศำสตร์
2.รปู ภำพ
3.กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
4.ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ , Power Point
5.เคร่อื งมือและอปุ กรณ์

หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ กำรสอน
2.ใบเช็ครำยช่ือ
3.แผนจดั กำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. ประเมินพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
5. กำรสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

เครือ่ งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลมุ่
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รียนรว่ มกัน

ประเมนิ

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล ต้องไม่มีช่องปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ ่ำนกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุม่ คอื ปำนกลำง (50 % ขึน้ ไป)

25

3. เกณฑ์ผ่ำนกำรสงั เกตพฤตกิ รรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุม่ คือ ปำนกลำง (50% ข้ึนไป)
4. ใบงำน มีเกณฑผ์ ่ำน 50%
5. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้ มีเกณฑ์ผำ่ น 50%
7 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทบทวนบทเรยี นควำมยดื หยุ่นของอปุ สงคแ์ ละอปุ ทำน
2. บันทกึ รำยรบั รำยจ่ำย

คาชี้แจง : ใหบ้ ันทกึ บัญชีรำยรับ-รำยจำ่ ย ตำมควำมเป็นจรงิ

1. จำกกำรลงบนั ทึกมเี งนิ เหลือเก็บหรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกิดอะไรขึ้นถำ้ มรี ำยจำ่ ยมำกกวำ่ รำยรับ………………………..…………….………………….…

26

บนั ทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
........................................................................................................ .......................................
ปญั หาท่ีพบ
............................................................................................................................. ..................
..................................................................................................... ..........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
...................................................................................................... .........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................

27

แผนการจัดการเรยี นร้แู บบบูรณาการที่ 4 หนว่ ยที่ 3
รหัส 30200-1001 วชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครง้ั ที่ 4 (10-12)
ช่ือหน่วย/เรื่อง ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอปุ ทาน
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั
จำกกำรศึกษำเรอื่ งอุปสงค์และอุปทำนทำให้ทรำบวำ่ เมื่อรำคำสินคำ้ และบริกำร และปัจจัยอน่ื ๆ ทีก่ ำหนดอุป

สงค์และอุปทำนเปลย่ี นแปลงไปจะทำใหป้ ริมำณเสนอซื้อหรือปรมิ ำณเสนอขำยเปลี่ยนแปลงไป เมอ่ื รำคำสินคำ้ และ
บรกิ ำร รำยได้ของผบู้ รโิ ภค รำคำสนิ ค้ำและบริกำรชนดิ อ่ืนที่ใชท้ ดแทนกนั หรือประกอบกนั เปล่ยี นแปลงไป ทำใหเ้ กิด
กำรเปลย่ี นแปลงในอุปสงคแ์ ละอุปทำน แต่กำรเปลยี่ นแปลงจะมำกน้อยเพยี งใดข้นึ อยู่กบั ประเภทของสนิ ค้ำและ
บริกำรนัน้ ๆ เช่น สินคำ้ และบริกำรที่ต้องใช้บริโภคประจำ สินคำ้ ฟุม่ เฟือย สินค้ำเกษตรกรรม สนิ ค้ำอุตสำหกรรม เป็น
ตน้ ซ่งึ ค่ำท่ีคำนวณออกมำได้ของสดั ส่วนกำรเปลย่ี นแปลงของปรมิ ำณเสนอซื้อหรือปรมิ ำณเสนอขำยทตี่ อบสนองต่อ
กำรเปลย่ี นแปลงของรำคำและปัจจยั อ่ืนๆ คอื ค่ำควำมยืดหยุน่

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

4 อธิบำยควำมยืดหยุน่ ของอุปทำนได้

5 ระบคุ ำ่ ควำมยดื หยุน่ ของอุปทำน และอธบิ ำยลักษณะของเสน้ อปุ ทำนได้

6 ระบปุ จั จยั ทก่ี ำหนดค่ำควำมยืดหยุน่ ของอุปทำนได้

7 บอกประโยชน์ของควำมยืดหยุน่ ของอุปสงค์และอุปทำน และวิเครำะหป์ ัญหำทำงเศรษฐกจิ ได้

8 สำมำรถยกตวั อยำ่ งกำรประยกุ ตเ์ กี่ยวกบั อปุ สงค์และอุปทำนได้

9. มีกำรพฒั นำคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผูส้ ำเร็จกำรศกึ ษำ

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ ท่คี รูสำมำรถสงั เกตไดข้ ณะทำกำรสอนในเรอื่ ง

9.1 ควำมมมี นุษยสมั พนั ธ์ 9.6 กำรประหยดั

9.2 ควำมมีวินยั 9.7 ควำมสนใจใฝร่ ู้

9.3 ควำมรับผดิ ชอบ 9.8 กำรละเว้นสิ่งเสพติดและกำรพนัน

9.4 ควำมซ่อื สัตยส์ จุ รติ 9.9 ควำมรักสำมัคคี

9.5 ควำมเชอ่ื มน่ั ในตนเอง 9.10 ควำมกตัญญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกบั เศรษฐศำสตร์ที่สำคัญต่อกำรดำเนินธรุ กิจ
2.ประยุกต์หลักเศรษฐศำสตร์ไปใช้ในงำนอำชีพและชีวิตประจำวนั
3.ปฏิบตั ิงำนดว้ ยควำมมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลักปรชั ญำของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

เนือ้ หาสาระ
6 ประโยชนข์ องควำมยดื หยุ่นของอปุ สงค์และอุปทำน
7 กำรวิเครำะหป์ ัญหำทำงเศรษฐกจิ โดยใชค้ วำมยืดหยนุ่ ของอปุ สงคแ์ ละอปุ ทำน
8 ตัวอย่ำงกำรประยุกต์เกี่ยวกบั อปุ สงค์และอปุทำน

28

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครูสนทนำกับผู้เรยี นถึงควำมยดื หยุ่นนใี้ ชว้ ดั ไดท้ ง้ั อุปสงค์และอุปทำน เนอ่ื งจำกแบ่งอปุ สงคอ์ อกเป็น 3 ชนดิ

คือ อปุ สงคต์ ่อรำคำ อปุ สงค์ต่อรำยได้ และอุปสงค์ต่อรำคำสนิ คำ้ ชนดิ อ่ืน ส่วนควำมยดื หยนุ่ ของอุปทำนมีควำมหมำย
เชน่ เดียวกับควำมยดื หยุน่ ของอุปสงค์ตำ่ งกนั ท่ีต้องเปล่ยี นปรมิ ำณซื้อเป็นปรมิ ำณเสนอขำยเทำ่ นนั้ ควำมร้เู ก่ยี วกับควำม
ยดื หยนุ่ ในหน่วยกำรเรยี นร้นู ส้ี ำมำถนำไปใชเ้ ปน็ เคร่ืองมืออธิบำยและวิเครำะห์เศรษฐกิจท่เี กดิ ขน้ึ ได้ ได้แก่ กำร
แทรกแซงรำคำโดยรัฐบำล และกำรเก็บภำษสี ินคำ้

2.ครูและผ้เู รยี นยกตวั อยำ่ งเก่ียวกบั อุปสงค์และอปุทำน

ขัน้ สอน
3.ครใู ชเ้ ทคนคิ วิธสี อนแบบใช้โสตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วธิ ีสอนท่ี
นำอุปกรณโ์ สตทศั น์วัสดุมำช่วยพัฒนำคณุ ภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทัศน์วัสดุดงั กล่ำว ไดแ้ ก่ Power Point เพ่ือ
อธิบำยเรอ่ื งประโยชน์ของควำมยดื หยุ่นของอุปสงค์และอุปทำน
4.ครแู ละผ้เู รยี นแสดงกำรวิเครำะห์ปัญหำทำงเศรษฐกิจโดยใชค้ วำมยดื หยนุ่ ของอปุ สงค์และอปุ ทำน
5 ครูและผูเ้ รียนยกตัวอย่ำงกำรประยกุ ตเ์ กีย่ วกับอปุ สงคแ์ ละอปุทำน เชน่ กำรกำหนดรำคำขัน้ สงู หรอื กำร
ควบคุมรำคำ (Maximum Price Control) ได้แก่ สินคำ้ และบรกิ ำรที่มคี วำมจำเป็นตอ่ กำรครองชีพ เช่น ขำ้ วสำร นำ้
ตำลทรำย นำ้ มนั เช้ือเพลงิ แกส๊ หงุ ต้ม ค่ำเล่ำเรยี น ค่ำโดยสำรประจำทำง คำ่ สำธำรณปู โภคตำ่ งๆ เป็นต้น

ตัวอยำ่ งกำรกำหนดรำคำข้ันสูงในรูปของสมกำรอุปสงค์และอุปทำน สมมตสิ มกำรอปุ สงค์และอปุ ทำนของตลำด
มีดงั น้ี

ถ้ำรัฐบำลเขำ้ มำกำหนดรำคำสนิ ค้ำเทำ่ กับ 1 บำทต่อหน่วย รำคำนีเ้ รยี กว่ำรำคำอะไร และจะมี
ผลอย่ำงไรต่ออปุ สงค์และอปุ ทำนของตลำด กำรทจ่ี ะทรำบว่ำรำคำที่รฐั บำลกำหนดเท่ำกับ 1 บำทตอ่ หน่วยเปน็ รำคำ
อะไรก็จะต้องหำรำคำและปริมำณดุลยภำพของตลำดก่อน

29

สรุปไดว้ ่ำ รำคำดุลยภำพ = 2 บำทต่อหน่วย และปริมำณดุลยภำพ = 20 หน่วย เม่อื รฐั บำลเข้ำมำกำหนด
รำคำสินค้ำเทำ่ กับ 1 บำทตอ่ หนว่ ย จึงเปน็ กำรกำหนดรำคำขนั้ สงู ณ รำคำทีก่ ำหนดน้ีจะทำใหอ้ ุปสงค์และอปุ ทำนของ
สนิ คำ้ เป็นดังนี้

แสดงวำ่ อปุ ทำนน้อยกว่ำอุปสงค์ หรอื กล่ำวอกี นยั หนึ่งเกดิ อุปสงค์ส่วนเกนิ (Excess demand)
อปุ สงคส์ ว่ นเกิน = QD - QS = 25 – 18 = 7 หนว่ ย เพ่อื แกป้ ัญหำของอปุ สงคส์ ว่ นเกนิ รัฐบำลอำจต้องส่งั สนิ คำ้
นำเข้ำจำกต่ำงประเทศ เพอื่ ให้สนิ ค้ำมเี พยี งพอต่อควำมต้องกำรของประชำชน

6.ครูและผเู้ รยี นตวั อยำ่ งกำรกำหนดรำคำขัน้ ต่ำ (Minimum Price control)

ตวั อย่ำงกำรกำหนดรำคำข้ันต่ำด้วยสมกำรอุปสงคแ์ ละอุปทำน สมมติสมกำรอปุ สงค์และอปุ ทำนของตลำดมี
ดังน้ี

ถำ้ รฐั บำลเขำ้ มำกำหนดรำคำสินคำ้ เท่ำกบั 5 บำทต่อหนว่ ย รำคำนเ้ี รียกวำ่ รำคำอะไร และจะมผี ล
อยำ่ งไรตอ่ อุปสงค์และอุปทำนของตลำด กำรที่จะทรำบวำ่ รำคำท่ีรัฐบำลกำหนดเท่ำกบั 1 บำทตอ่ หนว่ ยเปน็ รำคำ
อะไรก็จะต้องหำรำคำและปริมำณดุลยภำพของตลำดก่อนเนื่องจำกท่จี ดุ ดุลยภำพ

30

สรุปไดว้ ่ำ รำคำดุลยภำพ = 4 บำทต่อหนว่ ย และปริมำณดุลยภำพ = 40 หนว่ ย ถำ้ รฐั บำลเขำ้ มำกำหนดรำคำ
สินคำ้ เท่ำกับ 5 บำทต่อหน่วย ซงึ่ เป็นกำรกำหนดรำคำขนั้ ต่ำ ณ รำคำ ทีก่ ำหนดนี้ จะทำให้อปุ สงค์และอุปทำนของ
สินคำ้ เปน็ ดังนี้

9.ผู้เรยี นวิเครำะห์วำ่ ถ้ำรำคำเน้ือหมูกิโลกรัมละ 60 บำท แมบ่ ำ้ นต้องกำรซื้อเน้ือหมู 3 กิโลกรมั ตอ่ 1 เดอื น
แต่ถำ้ รำคำเนื้อหมลู ดลงเปน็ กิโลกรมั ละ 58 บำท แมบ่ ำ้ นจะซือ้ เน้ือหมูเพิม่ ข้นึ เปน็ 4 กโิ ลกรมั ต่อ 1 เดือน จงหำค่ำ
ควำมยืดหยุ่นของอุปสงคแ์ บบจดุ ของเน้ือหมู

10.ผู้เรียนกำหนดให้เส้นอปุ สงคข์ องสนิ คำ้ ชนดิ หน่งึ มลี ักษณะดงั ต่อไปน้ี

จำกรปู จงหำค่ำควำมยืดหยนุ่ ของเส้นอปุ สงคร์ ะหวำ่ งจดุ A กบั B วำ่ คำ่ ควำมยดื หยุ่นที่ได้เปน็ อย่ำงไร
11.ผู้เรยี นวิเครำะหว์ ำ่ เดมิ ผบู้ รโิ ภคมรี ำยไดเ้ ดือนละ 3,000 บำท เขำจะซ้ือเน้ือไก่บริโภคเดอื นละ 7 กโิ ลกรัม
แต่ถ้ำรำยได้ของเขำเพ่ิมขนึ้ เป็นเดือนละ 5,500 บำท เขำจะซอื้ เน้ือไกบ่ รโิ ภคเดือนละ 10 กโิ ลกรมั จงหำค่ำควำม
ยืดหยนุ่ ของอปุ สงค์ต่อรำยได้
12.ผ้เู รยี นวิเครำะห์วำ่ ถำ้ รำคำกำแฟเพิ่มขนึ้ จำกขวดละ 150 บำท เป็นขวดละ 155 บำท โดยท่รี ำคำชำคงท่ี
ผู้บรโิ ภคจะซอ้ื ชำมำบรโิ ภคเพิ่มข้ึนจำกเดือนละ 1 ขวด เป็น 2 ขวด จงหำค่ำควำมยืดหยุ่นไขว้ของกำแฟ
13.ผู้เรียนวเิ ครำะหผ์ ลกระทบของกำรเกบ็ ภำษนี ำเข้ำจำกประเทศผนู้ ำเขำ้ สินคำ้ แต่กรณนี เ้ี ก็บในอัตรำไม่สงู นัก
14.ครเู นน้ กำรทำงำนแบบประหยัดพลงั งำน และเน้นควำมรอบคอบ ควำมอดทน ควำมเพยี รพยายามในกำร
ทำงำน และสรำ้ งความเข้มแข็งให้กับตนเองในทุกสภำวะ และสรา้ งภูมิคุ้มกนั ให้กับตนเอง

ขั้นสรปุ และการประยกุ ต์
15.ครแู ละผเู้ รยี นรว่ มกนั สรปุ ควำมยืดหยนุ่ ของอุปทำน เป็นกำรวัดกำรตอบสนองของปริมำณเสนอขำยต่อ

กำรเปลยี่ นแปลงของรำคำสนิ ค้ำ ควำมยืดหยนุ่ ของอปุ ทำนแบง่ เป็น 5 ลกั ษณะ คอื 1) อุปทำนทม่ี ีควำมยดื หยุ่นมำก
2) อุปทำนท่ีมีควำมยืดหย่นุ น้อย 3) อุปทำนทม่ี ีควำมยดื หยุ่นเทำ่ กบั หน่ึง 4) อุปทำนที่ไม่มีควำมยดื หยนุ่ เลย 5)
อุปทำนท่ีมคี วำมยืดหยนุ่ อยำ่ งสมบรู ณ์ ปจั จัยทท่ี ำให้อปุ ทำนมคี วำมยดื หย่นุ ต่อรำคำแตกต่ำงกนั คือ ระยะเวลำ ควำม
เปน็ ไปได้ในกำรผลติ ควำมเป็นไปได้ในกำรเก็บรกั ษำผลผลติ และต้นทุนกำรผลติ

16.ครแู ละผู้เรียนสรุปโดยกำรถำมตอบ และกำรคำนวณหำ

31

17.ผู้เรียนทำใบงำน และแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.หนงั สอื เรยี น วชิ ำหลกั เศรษฐศำสตร์
2.รูปภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน
4.สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ , PowerPoint
5.แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
6.เครือ่ งมือและอปุ กรณ์

หลักฐาน
1.บันทกึ กำรสอน
2.ใบเช็ครำยชอ่ื
3.แผนจัดกำรเรยี นรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. ประเมินพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
5. กำรสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
เครือ่ งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกล่มุ
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผ้เู รียนรว่ มกนั
ประเมนิ

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑ์ผ่ำนกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑ์ผำ่ นกำรประเมินพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปำนกลำง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสงั เกตพฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปำนกลำง (50% ข้ึนไป)
4. ใบงำน มีเกณฑผ์ ่ำน 50%
5. แบบผระเมินผลกำรเรยี นรู้ มเี กณฑ์ผำ่ น 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับกำร
ประเมินตำมสภำพจรงิ

32

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.บันทึกรำยรบั -รำยจำ่ ย

2.ศึกษำข้อมลู เพมิ่ เติมเกีย่ วกับตัวอยำ่ งกำรประยุกต์เกีย่ วกับอปุ สงคแ์ ละอปทุ ำน

คาชีแ้ จง : ใหบ้ ันทึกบญั ชีรำยรับ-รำยจ่ำย ตำมควำมเป็นจรงิ

1. จำกกำรลงบันทึกมีเงนิ เหลอื เก็บหรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกิดอะไรข้ึนถ้ำมีรำยจำ่ ยมำกกวำ่ รำยรับ………………………..…………….………………….…

33

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ..................
....................................................................................................................................... ........
.......................................................................................................................... .....................
............................................................................................................................. ..................
.......................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ..................
..................................................................................................... ..........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
...................................................................................................... .........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................

34

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการท่ี 5 หนว่ ยท่ี 4
รหสั 30200-1001 วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครั้งที่ 5 (13-15)
ชือ่ หน่วย/เร่ือง ทฤษฎพี ฤติกรรมผบู้ ริโภค
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั
ผู้บรโิ ภคเป็นผดู้ ำเนนิ กิจกรรมทำงเศรษฐกจิ ด้ำนกำรบรโิ ภค โดยต้องมหี ลกั กำรในกำรเลือกซอ้ื สินค้ำและบริกำร

เพ่ือใหเ้ กิดควำมพอใจหรือไดร้ ับอรรถประโยชน์สงู สุด ภำยใต้งบประมำณที่มีอยู่อย่ำงจำกัด เป็นกำรเข้ำสดู่ ลุ ยภำพของ
ผบู้ ริโภคท่จี ะเปลย่ี นแปลงไปได้เมือ่ รำคำสนิ คำ้ และบรกิ ำรหรอื รำยได้ของผบู้ รโิ ภคเปลยี่ นไป

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1 อธบิ ำยควำมหมำยและลักษณะทวั่ ไปของผบู้ ริโภคได้
2 อธิบำยทฤษฎีอรรถประโยชน์ได้
3 อธบิ ำยทฤษฎีควำมพอใจเทำ่ กนั ได้
4 อธิบำยเสน้ งบประมำณและกำรเปลีย่ นแปลงของเส้นงบประมำณได้
5 อธบิ ำยดุลยภำพของผู้บรโิ ภคและกำรเปล่ยี นแปลงดุลยภำพได้
6.มกี ำรพัฒนำคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ ำเรจ็ กำรศกึ ษำ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ ท่คี รูสำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเรื่อง
6.1 ควำมมีมนุษยสัมพันธ์
6.2 ควำมมวี ินยั
6.3 ควำมรับผิดชอบ
6.4 ควำมซือ่ สัตย์สุจริต
6.5 ควำมเชื่อม่ันในตนเอง
6.6 กำรประหยัด
6.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
6.8 กำรละเว้นสิ่งเสพติดและกำรพนัน
6.9 ควำมรักสำมัคคี
6.10 ควำมกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกบั เศรษฐศำสตร์ทีส่ ำคญั ต่อกำรดำเนนิ ธุรกิจ
2.ประยุกต์หลกั เศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชพี และชีวิตประจำวนั
3.ปฏิบตั ิงำนด้วยควำมมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลกั ปรัชญำของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

เน้อื หาสาระ
1 ควำมหมำยและลักษณะท่วั ไปของผู้บรโิ ภค
2 ทฤษฎีอรรถประโยชน์
3 ทฤษฎคี วำมพอใจเทำ่ กนั
4 เสน้ งบประมำณหรอื เสน้ รำคำ

35

5 ดุลยภำพของผ้บู รโิ ภค

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
1.ครใู ชเ้ ทคนิคกำรสอนแบบซิปปำโมเดล (CIPPA MODEL) โดยกำรทบทวนควำมรู้เดิมจำกสัปดำห์ท่ผี ำ่ นมำ

โดยดงึ ควำมร้เู ดมิ ของผเู้ รยี นในเรือ่ งทจ่ี ะเรยี น เพ่ือช่วยใหผ้ ู้เรยี นมคี วำมพร้อมในกำรเชื่อมโยงควำมรูใ้ หม่กับควำมรูเ้ ดิม
ของตน ผ้สู อนใชก้ ำรสนทนำซักถำมให้ผู้เรียนเล่ำประสบกำรณ์เดมิ

2.ครูสนทนำกับผูเ้ รยี นเกย่ี วกับกำรศกึ ษำทฤษฎพี ฤติกรรมผบู้ รโิ ภค จะทำให้ทรำบถึงพฤตกิ รรมตำ่ งๆ ของ
ผู้บรโิ ภค ทฤษฎที ี่นยิ มนำมำศึกษำมีสองทฤษฎี คอื ทฤษฎอี รรถประโยชน์ (utility theory) และทฤษฎคี วำมพอใจ
เทำ่ กัน (indifference preference theory) เปน็ กำรวเิ ครำะห์ด้วยเสน้ ควำมพอใจเทำ่ กัน (indifference curve
analysis) ทฤษฎีอรรถประโยชน์เปน็ กำรวิเครำะห์ภำยใต้ข้อสมมติทวี่ ่ำ ควำมพอใจของผู้บรโิ ภคสำมำรถวดั เป็นหนว่ ย
ได้ สว่ นทฤษฎคี วำมพอใจเทำ่ กนั สำมำรถจัดอันดบั ควำมพอใจได้ แตไ่ มจ่ ำเป็นต้องวัดออกมำเปน็ หนว่ ย

ขัน้ สอน
3.ครแู ละผเู้ รียนใชร้ ูปแบบกำรเรยี นแบบ Lecture Method กำรจดั กำรเรียนรู้แบบบรรยำย เพือ่ ใหเ้ กดิ ควำม
เขำ้ ใจและนำทักษะกำรเรยี นรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นเรื่องควำมหมำยและลกั ษณะทว่ั ไปของผูบ้ รโิ ภค
4.ครแู ละผ้เู รียนใชร้ ปู แบบกำรจัดกำรเรียนร้แู บบอภิปรำย คือกระบวนกำรท่ีผ้สู อนมุ่งให้ผเู้ รยี นมีโอกำส
สนทนำแลกเปลีย่ นควำมคิดเห็นหรือระดมควำมคิดในเรื่องใดเร่ืองทฤษฎีอรรถประโยชน์ และทฤษฎีควำมพอใจเทำ่ กนั
5.ครูและผเู้ รียนใชเ้ ทคนิครูปแบบกำรเรยี นแบบ Demonstration Method กำรจัดกำรเรยี นรู้แบบสำธติ เส้น
งบประมำณหรือเสน้ รำคำ โดยเส้นงบประมาณหรอื เสน้ ราคา (budget line or price line) หมำยถงึ เส้นทแี่ สดง
ถึงสว่ นผสมของสินค้ำ 2 ชนิดในจำนวนตำ่ งๆ ซ่ึงสำมำรถซื้อไดด้ ว้ ยเงินจำนวนหนึง่ ที่เท่ำกัน ไม่วำ่ ผู้บรโิ ภคจะเลอื กซ้ือ
สนิ ค้ำทง้ั สองชนิด ณ ส่วนผสมใดๆ บนเสน้ งบประมำณเดยี วกัน ผู้บริโภคจะจ่ำยเงนิ ใหจ้ ำนวนทเี่ ทำ่ กันตลอดท้งั เส้น
พจิ ำรณำ ณ รำคำตลำดในขณะน้นั เส้นงบประมำณจะมีลักษณะเป็นเส้นตรง มคี วำมชนั เปน็ ลบเสมอ

จำกตำรำง กำหนดใหม้ ีสินค้ำ 2 ชนดิ ใหเ้ ลือกซื้อ ไดแ้ ก่ สนิ คำ้ X และสนิ ค้ำ Y โดยสินคำ้ X รำคำ
หน่วยละ 10 บำท และสนิ ค้ำ Y รำคำหน่วยละ 20 บำท โดยทผี่ ู้บริโภคมีงบประมำณ 500 บำท สว่ นผสมA - F
แสดงถึงสว่ นผสมของปจั จัย X และปจั จัย Y ในจำนวนตำ่ งๆ สำมำรถซื้อด้วยงบประมำณ 500 บำทหำกนำ
ควำมสมั พันธร์ ะหวำ่ งรำคำสินค้ำและจำนวนสินค้ำทง้ั หมดท่ีซื้อดว้ ยงบประมำณที่มีอยู่ สำมำรถเขียนเป็นสมกำรได้
ดงั นี้

36

6.ครูและผเู้ รียนใชเ้ ทคนคิ กำรสอนแบบ Demonstration Method กำรจัดกำรเรียนร้แู บบสำธติ เร่ืองกำร
เปล่ยี นแปลงของเสน้ งบประมำณ โดยเส้นงบประมำณมีกำรเปล่ียนแปลง 2 ลักษณะ คือ กำรเปล่ยี นแปลงเสน้
งบประมำณเม่ือรำยได้ทีแ่ ทจ้ ริงเปล่ยี นแปลงไป และกำรเปล่ียนแปลงเส้นงบประมำณเม่ือรำคำสนิ ค้ำเปลย่ี นแปลงไป
ดังนี้

6.1 กำรเปลี่ยนแปลงเสน้ งบประมำณเม่อื รำยได้ที่แท้จริงเปล่ียนแปลงไป

6.2 กำรเปลย่ี นแปลงเส้นงบประมำณเมื่อรำคำสนิ คำ้ เปลี่ยนแปลงไป

37

5 .ครแู ละผเู้ รียนใชเ้ ทคนิกำรสอนแบบ Demonstration Method กำรจัดกำรเรียนรู้แบบสำธติ เร่อื งดุลยภำพ
ของผูบ้ รโิ ภค เรำทรำบแล้ววำ่ จุดตำ่ งๆ บนเส้น IC เส้นเดียวกนั จะให้ควำมพอใจเท่ำกนั แต่ทงั้ นไี้ มไ่ ดห้ มำยควำม
ว่ำผู้บรโิ ภคจะสำมำรถเลอื กบรโิ ภคหรอื เลือกซื้อสนิ ค้ำและบริกำร ณ จุดใดๆ บนเสน้ IC ได้ตำมใจชอบกำรจะ
เลอื กซ้ือสินค้ำและบริกำร ณ จุดใดๆ ตอ้ งคำนึงถงึ รำยได้ท่ตี นเองมีอยูด่ ว้ ย และเน่ืองจำกแผนภำพเสน้ ควำม
พอใจเท่ำกัน (indifference map) จะมีเส้นควำมพอใจเท่ำกันอยหู่ ลำยเสน้ ดงั น้นั เมอื่ นำเส้นงบประมำณไป
วำงลงในแผนภำพนจี้ ะต้องมี IC เส้นใดเสน้ หน่ึงสัมผัสกับเส้นงบประมำณพอดี ณ จุดสมั ผสั นเี้ องแสดงให้เห็นวำ่
จำนวนของสินคำ้ ท้ัง 2 ชนดิ ซง่ึ ซอ้ื ดว้ ยเงนิ จำนวนท่ีกำหนดใหจ้ ะทำใหผ้ บู้ รโิ ภคไดร้ ับควำมพอใจสงู สดุ เรำเรียก
จดุ นว้ี ่ำ “จุดดลุ ยภำพของผูบ้ รโิ ภค” (Consumer's Equilibrium) ดังรูป

6.ครูและผเู้ รยี นใช้เทคนิกำรสอนแบบ Demonstration Method กำรจดั กำรเรยี นรูแ้ บบสำธิตเรอ่ื งกำร
เปลี่ยนแปลงดุลยภำพของผบู้ ริโภค โดยดลุ ยภำพของผบู้ รโิ ภคจะเปลยี่ นแปลงไป ถำ้ รำคำสนิ คำ้ และบริกำรชนดิ ใดชนิด
หน่งึ หรอื รำยได้ของผู้บรโิ ภคเปลี่ยนแปลง ที่เปน็ เชน่ นี้เนื่องจำกกำรเปล่ียนแปลงของรำคำสินค้ำและบริกำรและรำยได้
ของผูบ้ รโิ ภค ทำใหเ้ ส้นงบประมำณย้ำยจำกทีเ่ ดมิ ไปสัมผสั กับจดุ ใดจดุ หน่ึงบนเสน้ IC เสน้ อ่นื เพ่ือใหเ้ ขำ้ ใจงำ่ ยข้นึ จะ
แยกพิจำรณำเป็น 2 กรณี ดงั น้ี

6.1 ดลุ ยภำพเปลย่ี นแปลงเมื่อรำคำสินค้ำและบริกำรชนดิ หนึ่งเปลยี่ นแปลง

38

6.2 ดลุ ยภำพเปล่ยี นแปลงเมือ่ รำยไดข้ องผ้บู รโิ ภคเปลีย่ นแปลง

7.ผ้เู รยี นวเิ ครำะห์โดยกำหนดใหผ้ บู้ รโิ ภคมีรำยได้ 5,000 บำทต่อเดือน เพือ่ นำไปซ้ือสินคำ้ 2 ชนดิ คอื สนิ คำ้
X และสนิ คำ้ Y กำหนดให้ PX = 100 บำท และ PY = 200 บำท

(ก) ถำ้ รำยได้และรำคำสินคำ้ X ลดลงจำกเดิมครึง่ หนึ่ง แต่ PY เพมิ่ ขึน้ เป็น 400 บำท จงคำนวณ
หำเงินงบประมำณของผู้บรโิ ภคว่ำจะเปลี่ยนแปลงไปจำกเดิมเท่ำไร

(ข) เม่ือรำยได้เทำ่ กบั 5,000 บำท รำคำสนิ คำ้ X และสนิ ค้ำ Y เพ่มิ เป็น 200 บำท และ 400 บำท
ตำมลำดบั จงคำนวณหำเงินงบประมำณของผูบ้ รโิ ภควำ่ เปลี่ยนแปลงไปอย่ำงไร

8.ผู้เรียนหำข่ำวจำกหนงั สือพิมพ์หรืออินเทอรเ์ น็ตเกยี่ วกับพฤติกรรมผู้บรโิ ภค โดยยกตวั อยำ่ งสินคำ้ มำ 1 ชนิด
ท่ีเกี่ยวข้อง จำกนั้นวิเครำะห์ทฤษฎที ี่ศกึ ษำมำแล้ว (15 – 20 บรรทดั )

9.ผู้เรยี นวิเครำะห์ว่ำผู้บรโิ ภครำยหนงึ่ ใชจ้ ำ่ ยภำยในวงเงนิ ท่ีกำหนดไว้เพอ่ื กำรบันเทิงสองอยำ่ งทุกๆ เดือน คือ
คำ่ บัตรชมภำพยนตรร์ อบละ 80 บำท และคำ่ บตั รชมกำรแข่งขนั กีฬำรอบละ 120 บำท หำกเขำใชบ้ ริกำรทั้ง 2
อย่ำง โดยทอ่ี รรถประโยชน์หนว่ ยสดุ ท้ำยของกำรชมภำพยนตรร์ อบสุดทำ้ ยของเขำเทำ่ กับ 40 ยูทิล และ
อรรถประโยชน์หน่วยสุดทำ้ ยของกำรชมกีฬำรอบสุดท้ำยเท่ำกบั 30 ยทู ิล อยำกทรำบว่ำผู้บริโภครำยนจี้ ะได้รบั ควำม
พึงพอใจสูงสุดจำกกำรบริโภคดังกล่ำวหรอื ไม่

10.ครเู นน้ ใหผ้ ้เู รยี นน้อมนำหลักเศรษฐกจิ พอเพียง ไปประยกุ ต์ใชใ้ นกำรฝึกปฏบิ ตั ิในเร่ืองของควำมรับผดิ ชอบ
ควำมอดทน ควำมเพียรพยำยำม ควำมมีสติ ควำมมปี ญั ญำในกำรนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั เพ่ือใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ
นอกจำกนีย้ ังสำมำรถนำควำมรูท้ ีไ่ ดร้ ับกลบั ไปประกอบอำชีพได้อยำ่ งพอเพียงอีกดว้ ย

39

ข้ันสรปุ และการประยุกต์
12.สรปุ ทฤษฎีอรรถประโยชน์เป็นทฤษฎที ่นี ำมำใช้อธบิ ำยพฤติกรรมผบู้ รโิ ภคซ่งึ ใชใ้ นกำรวิเครำะห์แบบนับ

จำนวนได้ โดยมีข้อสมมตทิ ีส่ ำคญั คือ อรรถประโยชน์ทผ่ี ูบ้ ริโภคไดร้ ับจำกกำรบริโภคสินคำ้ และบรกิ ำรสำมำรถวดั คำ่
ออกมำเปน็ หน่วยได้ อรรถประโยชน์ หมำยถงึ ควำมพอใจท่ผี ้บู ริโภคไดร้ับจำกกำรบริโภคสินคำ้ และบริกำรชนิดใดชนิด
หนึ่ง หรืออรรถประโยชน์ คือ ส่ิงท่ีมีอยู่ในตัวสินค้ำและบริกำรซ่ึงสำมำรถบำบดั ควำมต้องกำรหรอื สรำ้ งควำมพอใจ
ใหแ้ ก่ผ้บู ริโภคไดด้ ลุ ยภำพของผูบ้ รโิ ภค คือ สภำวะท่ีผูบ้ รโิ ภคตดั สินใจเลอื กบรโิ ภคสนิ คำ้ ชนดิ ตำ่ งๆ ทที่ ำใหไ้ ดร้ บั
อรรถประโยชนร์ วมสูงสดุ

ทฤษฎีควำมพอใจเท่ำกนั เปน็ อีกทฤษฎหี น่ึงทน่ี ำมำใช้อธบิ ำยพฤติกรรมผ้บู ริโภคซึ่งใชก้ ำรวิเครำะหแ์ บบนบั
ลำดับทไ่ี ด้ โดยมขี อ้ สมมติท่สี ำคญั คือ ผู้บริโภคเป็นผู้ท่มี เี หตุผลและมีควำมสำมำรถในกำรเปรยี บเทยี บและจดั อันดับ
ควำมพอใจของกำรบริโภคสนิ คำ้ และบริกำรได้ ทฤษฎนี ตี้ ้องอำศยั เส้นควำมพอใจเท่ำกนั และเสน้ งบประมำณมำชว่ ยใน
กำรวเิ ครำะห์ เสน้ ควำมพอใจเทำ่ กนั เป็นเสน้ ที่แสดงส่วนผสมของกำรบรโิ ภคสินค้ำสองชนดิ ในจำนวนต่ำงๆ ซงึ่ ทำให้
ผูบ้ รโิ ภคไดร้ ับควำมพอใจเท่ำกนั สว่ นเสน้ งบประมำณเป็นเสน้ ที่แสดงถึงสว่ นผสมของสินค้ำสองชนิดในจำนวนต่ำงๆ
ซึง่ สำมำรถซ้ือได้ด้วยงบประมำณหนงึ่ ที่เท่ำกนั ดุลยภำพของผู้บรโิ ภคคอื สภำวะทผ่ี ู้บรโิ ภคตัดสนิ ใจซือ้ สนิ ค้ำและ
บรกิ ำรสองชนิดในส่วนผสมที่ทำใหไ้ ดร้ บั ควำมพอใจสงู สดุ ด้วยงบประมำณทีม่ ีอยู่

13.สรุปโดยกำรถำมตอบ และกำรคำนวณหำ
14.ทำใบงำน และแบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้

สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสือเรียน วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
2.รปู ภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน
4.สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ , Power Point
5.แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
6.เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์

หลักฐาน
1.บันทกึ กำรสอน
2.ใบเชค็ รำยชือ่
3.แผนจัดกำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวัดผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
5. กำรสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

40

เครื่องมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. ใบงำน
4. แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รยี นร่วมกนั

ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสงั เกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล ต้องไม่มีชอ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ ่ำนกำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปำนกลำง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑ์ผำ่ นกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุม่ คือ ปำนกลำง (50% ขึน้ ไป)
4. ใบงำน มเี กณฑ์ผ่ำน 50%
5. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้ มีเกณฑ์ผ่ำน 50%
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับกำร
ประเมินตำมสภำพจรงิ

41

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทำใบงำน และแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
2.บันทกึ รำยรบั -รำยจ่ำย

คาชแี้ จง : ใหบ้ นั ทึกบญั ชีรำยรบั -รำยจำ่ ย ตำมควำมเป็นจริง

1. จำกกำรลงบันทึกมีเงนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกิดอะไรขนึ้ ถ้ำมีรำยจ่ำยมำกกวำ่ รำยรับ………………………..…………….………………….…

42

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรปุ หลังการสอน
....................................................................................... ........................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ..................
..................................................................................................... ..........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
...................................................................................................... .........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................

43

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 6 หนว่ ยท่ี 5
รหัส 30200-1001 วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครัง้ ท่ี 6 (16-18)
ช่ือหน่วย/เร่อื ง ทฤษฎกี ารผลิต
จานวน 4 ช.ม.

สาระสาคญั
กำรผลติ คือ กำรสร้ำงอรรถประโยชน์หรือควำมพอใจของปัจจัยกำรผลิตชนดิ ต่ำงๆ ขึน้ มำใหม่ เพ่ือก่อให้เกิด

สินค้ำและบริกำรชนดิ ตำ่ งๆ ขึ้น เพ่ือนำไปตอบสนองควำมต้องกำรของมนุษย์ได้อย่ำงเตม็ ที่ กำรผลิตท่ีดตี ้องใชต้ ้นทุน
กำรผลิตตำ่ สดุ หรอื ใช้ตน้ ทนุ เทำ่ เดมิ แตผ่ ลิตได้ปริมำณมำกท่ีสดุ กำรผลติ ทม่ี ีประสิทธิภำพทำได้ทง้ั ในระยะส้ันและ
ระยะยำว กำรวเิ ครำะห์กำรผลิตจะใชฟ้ ังก์ชนั กำรผลติ เสน้ ผลผลิตเทำ่ กนั และเสน้ ตน้ ทนุ เท่ำกัน (Isoquant - Isocost
Approach) เปน็ กำรวิเครำะหค์ วำมสมั พนั ธ์ของจำนวนผลผลติ และปัจจัยกำรผลติ และศกึ ษำดลุ ยภำพของกำรผลติ ณ
จุดทเ่ี สน้ ผลผลติ เท่ำกันสมั ผสั กบั เส้นต้นทนุ เท่ำกนั พอดี

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1 อธบิ ำยควำมหมำย ลกั ษณะของกำรผลิต และฟงั กช์ นั กำรผลติ ได้

2 วิเครำะหก์ ำรผลิตในระยะส้ันได้

3 วิเครำะหก์ ำรผลิตในระยะยำวได้
4.มกี ำรพัฒนำคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สำเร็จกำรศกึ ษำสำนักงำน

คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ ทค่ี รูสำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเรอื่ ง

4.1 ควำมมมี นุษยสัมพนั ธ์ 4.7 ควำมสนใจใฝร่ ู้

4.2 ควำมมวี ินัย 4.8 กำรละเว้นสิ่งเสพติดและกำรพนนั

4.3 ควำมรบั ผิดชอบ 4.9 ควำมรักสำมัคคี

4.4 ควำมซ่อื สัตย์สุจริต 4.10 ควำมกตัญญูกตเวที

4.5 ควำมเชือ่ มน่ั ในตนเอง

4.6 กำรประหยัด

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกบั เศรษฐศำสตร์ท่ีสำคญั ต่อกำรดำเนนิ ธุรกิจ
2.ประยุกต์หลักเศรษฐศำสตร์ไปใช้ในงำนอำชีพและชีวิตประจำวัน
3.ปฏิบตั งิ ำนด้วยควำมมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลักปรชั ญำของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เนือ้ หาสาระ
1 ควำมหมำยและลกั ษณะของกำรผลิต
2 กำรวิเครำะห์กำรผลติ ในระยะส้นั
3 กำรวิเครำะห์กำรผลิตในระยะยำว
4 ดุลยภำพของกำรผลิต

44

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรียน
1.ครพู ูดคยุ กบั ผ้เู รียนถงึ ทฤษฎีกำรผลติ เป็นกำรศึกษำทำงด้ำนอปุ ทำนหรือผ้ผู ลติ โดยศกึ ษำพฤตกิ รรมของ

ผูผ้ ลิตในกำรผลติ สนิ คำ้ และบริกำรออกมำจำหน่ำย ณ ระดับรำคำตำ่ งๆ ว่ำผู้ผลิตควรเลือกใชป้ จั จัยกำรผลิตแตล่ ะชนดิ
อยำ่ งไร จงึ จะทำใหเ้ สยี ตน้ ทนุ กำรผลติ ต่ำท่ีสดุ หรือกำรทำให้ไดผ้ ลผลิตสงู ทส่ี ดุ ภำยใตเ้ งินทุนทเี่ ขำมีอยู่อย่ำงจำกัด
ทฤษฎกี ำรผลติ จะศึกษำควำมสมั พนั ธ์ของปจั จัยกำรผลิตต่ำงๆ ทีใ่ ชใ้ นกำรผลิตทเ่ี รียกว่ำ Input และจำนวนผลผลติ ที่
ได้รบั เรียกวำ่ Output

2.ครแู สดงรูปภำพ ให้ผ้เู รยี นดพู ร้อมใหแ้ สดงควำมคดิ เหน็ เพ่ือเช่ือมโยงเข้ำเน้ือหำ

ขนั้ สอน
3.ครใู ชเ้ ทคนิควิธสี อนแบบใช้โสตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวธิ ีสอน
ที่นำอปุ กรณโ์ สตทัศน์วสั ดมุ ำช่วยพัฒนำคุณภำพกำรเรียนกำรสอน โสตทัศนว์ ัสดดุ ังกลำ่ ว ได้แก่ Power Point เพือ่
อธิบำยเรื่องควำมหมำยและลักษณะของกำรผลติ
4.ครูอธิบำย และสำธติ กำรวเิ ครำะห์กำรผลิตในระยะส้ัน โดยกำรผลิตในระยะสน้ั เป็นกำรศกึ ษำ
ควำมสมั พันธร์ ะหวำ่ งจำนวนผลผลิตกบั ปจั จัยกำรผลติ ซึง่ ปัจจยั กำรผลติ ในระยะส้ันประกอบดว้ ยปัจจยั คงท่ีและปัจจยั
ผันแปร ถ้ำกำรกำหนดใหป้ จั จัยกำรผลติ 2 ชนดิ คอื ปัจจัยทุน (K) ซ่งึ เป็นปจั จัยคงที่ และแรงงำน (L) เปน็ ปัจจยั ผนั
แปร สำมำรถนำควำมสมั พนั ธ์ของปจั จัยกำรผลิตและจำนวนผลผลติ มำเขียนเป็นฟังก์ชันกำรผลิตในระยะสนั้ ไดด้ ังน้ี

เนือ่ งจำกในระยะสัน้ ปัจจยั ทุน (K) ไมส่ ำมำรถเปลี่ยนแปลงจำนวนได้ กำรเพ่ิมจำนวนผลผลติ จงึ ตอ้ งทำโดยกำร
เปลี่ยนแปลงแรงงำน (L) ให้เพิม่ ข้นึ เพียงอย่ำงเดียว จึงเขียนฟังกช์ นั กำรผลิตใหม่ไดว้ ำ่

กำรวิเครำะห์กำรผลติ ในระยะสั้นจะอธบิ ำยถึงกฏวำ่ ด้วยกำรใช้ปัจจัยกำรผลิตท่มี ีสดั สว่ นไมค่ งท่ี (law of
variable proportions) ซง่ึ อธิบำยถึงลักษณะและควำมสัมพนั ธข์ องผลผลิตแต่ละชนดิ และอธบิ ำยถงึ กฎกำรลดน้อย
ถอยลงของผลได้ (Law of Diminishing Returns) รวมทงั้ กำรแบ่งชว่ งของกำรผลิต

45

5.ครูและผูเ้ รยี นช่วยกันวเิ ครำะหก์ ำรผลิตในระยะยำว โดยกำรวิเครำะหก์ ำรผลิตในระยะยำว จะใชท้ ฤษฎีเสน้
ผลผลติ เทำ่ กนั (Isoquant Curve) และเส้นตน้ ทนุ เทำ่ กัน (Isocost Curve) เนอื่ งจำกกำรผลติ ในระยะยำว ผู้ผลิต
สำมำรถเปลย่ี นแปลงปัจจยั กำรผลติ ทุกชนดิ ไดต้ ำมต้องกำร และมีปัจจยั ผันแปรเพียงชนดิ เดยี ว ผผู้ ลิตที่ตอ้ งกำรกำไร
สูงสดู จะเลือกสว่ นผสมของปัจจัยกำรผลิตทส่ี ำมำรถผลิตสินค้ำได้จำนวนมำกทส่ี ดุ ภำยใตง้ บประมำณหรอื ตน้ ทนุ ท่ีมีอยู่

6 ครแู ละผเู้ รยี นอธบิ ำยและสำธติ ดุลยภำพของกำรผลิต โดยดลุ ยภำพของกำรผลติ (Production's
Equilibrium) คอื จุดทมี่ กี ำรใช้ปัจจยั กำรผลิตท่ีเหมำะสมที่สุด ผู้ผลิตเสียต้นทนุ กำรผลิตต่ำทสี่ ุด ได้รับผลผลติ
มำกทส่ี ุด กล่ำวคอื กำรใช้ปัจจัยกำรผลิตทีเ่ หมำะสมที่สดุ โดยเสยี ตน้ ทุนกำรผลติ ต่ำสุดอยู่ ณ จดุ ทเ่ี ส้นผลผลิต
เทำ่ กนั สัมผสั กับเส้นต้นทุนเท่ำกันพอดี และค่ำควำมชันของจดุ นีจ้ ะเท่ำกัน คอื

6.ผเู้ รยี นวิเคระห์หนว่ ยผลติ แห่งหนง่ึ ทำกำรผลติ สินค้ำชนดิ หนงึ่ โดยใชเ้ งนิ ลงทุน 1,000 บำท สำหรบั ซ้ือ
ปัจจัยกำรผลติ L และ K ทง้ั นี้รำคำของปัจจัยกำรผลติ L และ K หน่วยละ 10 บำท และ 20 บำท ตำมลำดบั และ
ลักษณะกำรใช้ส่วนผสมระหว่ำงปจั จยั กำรผลิตท้ัง 2 ชนิด เป็นดงั รูปขำ้ งลำ่ ง

7.ผู้เรียนอธบิ ำยควำมหมำยของคำต่อไปนี้ กำรผลิต หน่วยผลติ อตุ สำหกรรม ทใี่ ชใ้ นหนังสอื หลกั
เศรษฐศำสตร์

8.ผเู้ รยี นวเิ ครำะห์เกษตรกรรำยหนงึ่ ต้องกำรผลิตรงั ไหมน้ำหนัก 1 ตนั ภำยใน 1 ปี ด้วยต้นทุนต่ำสุด โดยใช้
ปัจจยั กำรผลติ 2 ชนดิ คือ แรงงำน และตน้ หม่อน สมมตวิ ำ่ ไมม่ ีต้นทนุ อืน่ และสมมตวิ ่ำปัจจยั ท้ัง 2 ชนดิ น้ีมีรำคำคงที่

46

พบวำ่ เขำจะตอ้ งใชต้ น้ หม่อน 20 ตนั และแรงงำน 80 คน ต้นหม่อนรำคำตนั ละ 1,000 บำท MP ของตน้ หม่อนและ
แรงงำนเทำ่ กบั 2.5 และ 10 ตำมลำดับ จงแสดงกำรคำนวณหำคำ่ จำ้ งต่อปีที่ตอ้ งจ่ำยให้คนงำนและตน้ ทุนรวม

9.ครูให้ควำมรู้แนวทำงในกำรนำควำมรไู้ ปประกอบอำชพี เพื่อสร้ำงงำนให้เกิดกับตนเอง และสำมำรถช่วย
พฒั นำควำมเป็นอยูข่ องประชำชนในชนบทได้ โดยนำปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง อันเปน็ ปรัชญำที่ชถ้ี งึ แนวทำงกำร
ปฏบิ ัติตนของประชำชนในทกุ ระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดบั ชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในกำรพัฒนำและบรหิ ำร
ประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ฟ้งุ เฟ้อ มเี หตุผลในกำรใช้จำ่ ยเพ่ือกำรดำรงชีวิตอย่ำงมีสติ

10.ผเู้ รยี นยกตัวอย่ำงบุคคลที่ประสบควำมสำเรจ็ ในดำ้ นกำรประกอบอำชีพงำนต่ำง ๆ ที่มีชื่อเสียงสำมำรถ
นำมำเปน็ ตัวอย่ำงทด่ี ีได้ โดยมีความพอเพียงคือ รู้จกั พอประมำณ พออยู่ พอมี พอกนิ พอใช้ ประหยัด และ
ไม่เบียดเบียนผู้อืน่ มำคนละ 1 ตวั อย่ำง และเขยี นบรรยำยส่งิ ที่ทำให้ไดเ้ รยี นรูถ้ งึ ควำมรู้และคณุ ธรรมทจ่ี ะ
ไดร้ ับจำกกำรเรยี นและนำไปประกอบอำชีพ รวมถงึ กำรปฏบิ ตั ติ นอยำ่ งพอเพียงของบคุ คลนั้น

ขั้นสรุปและการประยกุ ต์
11.ครแู ละผเู้ รียนสรุปวำ่ กำรผลิต (Production) หมำยถึง กำรนำทรัพยำกรหรือปัจจัยกำรผลติ ตำ่ งๆ อนั ได้แก่
ที่ดิน ทนุ แรงงำน และผูป้ ระกอบกำร มำผ่ำนกระบวนกำรแปรสภำพให้กลำยเป็นสินค้ำและบริกำรเพ่ือตอบสนอง
ควำมต้องกำรของมนุษย์ ผผู้ ลติ มีจดุ ม่งุ หมำย คือ แสวงหำกำไรสงู สุด (profit maximization) กำรผลติ ในระยะส้ัน เป็น
กำรผลติ ในช่วงระยะเวลำทีผ่ ู้ผลติ ไมส่ ำมำรถเปลีย่ นแปลงกำรใช้ปัจจัยกำรผลติ บำงชนดิ ไดต้ ำมควำมต้องกำร ดงั นน้ั
กำรผลติ ในระยะส้ันประกอบดว้ ยปัจจัยคงทแ่ี ละปจั จัยผนั แปร เม่อื เพ่ิมปจั จยั ผันแปรทลี ะหน่ึงหนว่ ยในช่วงแรก ผลผลิต
หน่วยสดุ ทำ้ ยจะมีค่ำเพิ่มขึ้นมีคำ่ สงู สดุ และหลังจำกน้ันจะมคี ่ำลดลงเร่อื ยๆ ซ่งึ เป็นไปตำมกฎกำรลดน้อยถอยลงของ
ผลผลิตหนว่ ยสดุ ท้ำย
กำรผลติ ในระยะยำว เปน็ กำรผลิตในชว่ งระยะเวลำทผ่ี ู้ผลติ สำมำรถเปลย่ี นแปลงกำรใชป้ ัจจัยกำรผลติ ทุกชนิด
ไดต้ ำมควำมต้องกำร ดังนนั้ กำรผลิตในระยะยำว ปัจจัยกำรผลติ จะมปี ระเภทเดยี วคอื ปัจจัยผนั แปร ปจั จยั ที่เคยเป็น
ปัจจยั คงทีใ่ นระยะสน้ั เช่น ทด่ี นิ เครือ่ งจักร อำคำร โรงงำน เป็นต้น สำมำรถเปล่ียนแปลงได้เม่ือจำนวนผลผลติ
เปลย่ี นแปลงไปในระยะยำวซ่ึงหมำยควำมว่ำในระยะยำว ปจั จยั เหล่ำนจ้ี ะกลำยเป็นปัจจยั ผันแปรท้ังส้ิน
12.ครแู ละผเู้ รียนสรุปควำมรทู้ ี่เรยี นมำทง้ั หมดในสปั ดำหน์ ี้ โดยกำรถำมตอบเปน็ รำยบุคคล
13.ผู้เรียนทำใบงำน และทำแบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
1.หนังสือเรียน วิชำหลกั เศรษฐศำสตร์
2.รูปภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน
4.ส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ , Power Point
5.แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
6.เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์

หลักฐาน
1.บนั ทกึ กำรสอน
2.ใบเชค็ รำยชือ่
3.แผนจัดกำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน


Click to View FlipBook Version