The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 64 สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 64 สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา

รายงานประจำปี 64 สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท

Keywords: รายงานประจำปี 64,กรม,ทางหลวงชนบท,สำนัก,วิจัยและพัฒ,วิเคราะห์,ทดสอบ

“งานราชการน้นั เป็นงานที่เกยี่ วขอ้ งโดยตรงกับวิถชี วี ติ ของประชาชน
ซึง่ มคี วามเปลีย่ นแปลงอยู่เปน็ ปรกติ ตามสถานการณแ์ ละกาลเวลาทเี่ ปลีย่ นแปลงไป
ข้าราชการทกุ คนจงึ ต้องทำ� ความเขา้ ใจ งานในหน้าทีข่ องตนใหก้ ระจ่างชัด และรู้เทา่ ทันความ

เปลยี่ นแปลงที่เกิดข้ึน แล้วปฏบิ ัตหิ น้าท่ใี ห้สอดคลอ้ งเหมาะสม
โดยยึดมน่ั แนว่ แน่อยใู่ นเปา้ หมายของการปฏบิ ตั ิราชการ คือประโยชนส์ ขุ ของประชาชน และ

ความเจริญม่นั คงของประเทศชาติ”

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว พระราชทานพระบรมราโชวาท
เนอื่ งในวันขา้ ราชการพลเรือน ประจ�ำปี 2564
พระท่นี ัง่ อมั พรสถาน พระราชวงั ดุสิต

ทรงพระเจรญิ

ข้าพระพุทธเจ้า ขา้ ราชการ ลกู จ้างประจำ� พนกั งานราชการ ลกู จา้ งชว่ั คราว
สำ� นักวเิ คราะห์ วิจัยและพัฒนา กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม

“ Change Theme to professional”
“ พวกเราพรอ้ มปรบั เปลี่ยนสู่ความเป็นมืออาชพี

ความหมาย Q-SPEC LOGO

Q มาจาก QCS: Quality Control System (ระบบควบคุมคุณภาพ)
SPEC มาจาก Standard Product Engineering Cooperation
ลกู ศร หมายถงึ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งการร่วมกันท�ำงานวิศวกรรมทีก่ ่อใหเ้ กดิ

ผลผลติ ท่มี ีมาตรฐานและมาตรฐานตอ้ งไดร้ ับความร่วมมอื จาก
ผู้เกีย่ วขอ้ งด้านวิศวกรรม
สดี �ำ หมายถึง ถนนลาดยาง
สีส้ม หมายถึง สีของถนนลูกรงั และเป็นสีทเ่ี ห็นไดอ้ ย่างชดั เจนขณะอยู่บน
ทอ้ งถนนทสี่ รา้ งความปลอดภยั ให้แก่ผู้ปฏบิ ตั ิงานและผ้ใู ช้ทาง
สีเทา หมายถึง ถนนคอนกรีต

เปล่ยี นเพอ่ื ความสำ� เร็จทเี่ หนอื กวา่ ”

ค�ำคนำ� ำ�น�ำ

PRPERFEAFCAECE

สำ� นกั วเิ คราะห์ วจิ ยั และพฒั นา : สวว. ( Bureau of Testing , Research and De-
velopment ) เปน็ หน่วยงานในสังกัดกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม มหี นา้ ท่ีในการศึกษาและ
พัฒนาเก่ยี วกบั งานทางหลวงชนบทและทางหลวงท้องถ่นิ การจัดท�ำข้อกำ� หนดเกยี่ วกับคุณสมบตั ิวัสดุ วิธี
การทดสอบวสั ดแุ ละการปฏบิ ตั งิ านกอ่ สรา้ ง บำ� รงุ รกั ษาทางและสะพาน การกำ� หนดมาตรฐานและจดั ทำ� ขอ้
กำ� หนดเกยี่ วกบั งานทางหลวงชนบท ตลอดจนการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ เกย่ี วกบั การพฒั นาดา้ นงานทางแก่
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

นโยบาย หลกั วชิ าการและหลักธรรมาภิบาลเป็นสิง่ ทบ่ี ุคลากรของ สวว.ใหค้ วามสำ� คญั
ในการปฏิบัติหน้าท่ีเป็นอย่างย่ิง ทั้งน้ีก็เพื่อให้ผลงานของกรมทางหลวงชนบทมีคุณภาพได้มาตรฐาน
มคี วามปลอดภยั และมอี ายกุ ารใช้งานทยี่ าวนาน คมุ้ ค่าเกิดประโยชนส์ งู สุดแก่ประชาชนและประเทศชาติ

รายงานประจำ� ปี 2564 ฉบบั นี้ สวว.จดั ทำ� ขนึ้ โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พอื่ เผยแพรผ่ ลการดำ� เนนิ งาน
ภาพรวมในความรับผิดชอบของ สวว. ในปีงบประมาณที่ผ่านมาตลอดจนการบริหารจัดการ โครงสร้าง
องค์กร อตั รากำ� ลัง และหวงั เป็นอย่างยงิ่ วา่ รายงานประจำ� ปขี องส�ำนกั วเิ คราะห์ วิจยั และพัฒนา จะเปน็
ประโยชนแ์ กห่ นว่ ยงานอนื่ ทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื สนใจสามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นางานควบคมุ คณุ ภาพ
งานก่อสรา้ งไดต้ ามสมควร

สำ� นักวเิ คราะห์ วิจัยและพัฒนา
กรมทางหลวงชนบท
Bureau of Testing , Research and Development
Department of RuRal Roads

CHIEF ENGINEER TALK

ตลอดระยะเวลาทผ่ี มไดเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของสำ� นกั วิเคราะห์

วิจัยและพัฒนาจนได้มีโอกาสมาเป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนักผมมีความต้ังใจ
และมุ่งม่ันที่จะสร้างการเติบโตให้กับงานวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา

ควบคู่ไปกับการให้ความส�ำคัญในการพัฒนาองค์กรโดยเน้นการพัฒนา
ระบบทรัพยากรบุคคลขององค์กรให้แข็งแกร่งและด้วยการบริหาร
งานอย่างมีประสิทธิภาพของทมี ผบู้ รหิ ารใน สวว.ทกุ คน กบั การ

ท่ี สวว.มบี คุ ลากรทมี่ คี วามเชยี่ วชาญและมคี วามชำ� นาญในงาน
ทตี่ นเองปฏบิ ตั ทิ ำ� ให้ สวว. มกี ารพฒั นาระบบการทำ� งานมาอยา่ ง
ตอ่ เน่ืองสง่ ผลใหง้ านท่ี สวว.ดำ� เนนิ การสำ� เรจ็ ลลุ ว่ งเปน็ ไปตาม
เปา้ หมายทวี่ างไว้
ผมยังคงเชื่อม่ันว่าเมื่อ สวว. มีการด�ำเนินงานที่อยู่บน
รากฐานที่แข็งแกร่งต้ังอยู่บนหลักธรรมาภิบาลและยงั คงใหค้ วาม
สำ� คญั ในการทำ� งานทเ่ี ปน็ เสมอื นครอบครวั เดยี วกนั สวว.จะสรา้ ง

ความม่นั คงในงานด้านวเิ คราะห์ วจิ ยั และพฒั นาให้กบั ประเทศชาติ
สง่ มอบความคมุ้ คา่ และสรา้ งการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยนื ใหแ้ กส่ งั คมและ
ประเทศชาตโิ ดยรวมไดเ้ ป็นอยา่ งดี ในรอบปที ผี่ า่ นมาท่ามกลางสถานการณ์
ทม่ี คี วามทา้ ยตลอดทงั้ ปแี ละสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โควดิ -19 (COVID-19) ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจโดยรวมท�ำให้การปฏิบัติงานตรวจสอบ ทดสอบและควบคุมคุณภาพของภาครัฐเป็นไปด้วย
ความเส่ยี งท่ี สวว.ไม่อาจหลีกเลีย่ งได้ เพ่อื ให้การดำ� เนินงานก่อสร้างและการพฒั นาประเทศเป็นไปอย่างต่อ
เน่ือง การปรบั กลยทุ ธใ์ นการด�ำเนินงานจงึ เป็นส่งิ หน่ึงท่ี สวว. ด�ำเนนิ การ เพอื่ สรา้ งความปลอดภยั ใหก้ บั
ทมี งานและไมห่ ยดุ ทจี่ ะสนบั สนนุ การพฒั นาทจี่ ะสรา้ งการเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ งใหก้ บั ประเทศชาตติ อ่ ไป
ผมในฐานะวิศวกรใหญแ่ ละอดีตผ้อู ำ� นวยการส�ำนกั ฯ ขอเปน็ ตวั แทนของคณะผ้บู รหิ ารขอบคณุ
ทีมงาน สวว.ทุกคนด้วยใจจริงทท่ี ุกคนมุง่ ม่ัน ตงั้ ใจและทุ่มเทพลังกาย - ใจ จนท�ำให้การด�ำเนนิ งานของ
สวว.และกรมเป็นไปอย่างราบรื่น และยังคงให้ความส�ำคัญในการท�ำงานท่ีเป็นเสมือนครอบครัวเดียวกัน
ปลกู ฝงั กันต่อๆ มาอยา่ งเหนยี วแนน่ ขอให้คณะผ้บู รหิ ารและเจา้ หนา้ ทใ่ี น สวว.ทุกคน ทมุ่ เททจี่ ะสร้างให้
สวว.เป็นต้นแบบ( MODEL )ในการควบคุมงานท่ีสร้างการเติบโตที่มั่นคงและยั่งยืนให้กับงานก่อสร้างของ
กรม โดยคำ� นงึ ถงึ การสรา้ งความถกู ตอ้ ง คมุ้ คา่ และประโยชนส์ ขุ ใหก้ บั ประชาชนควบคไู่ ปกบั การยดึ มนั่ ในหลกั
จรรยาบรรณและการบริหารงานอย่างมีธรรมาภิบาล เพื่อเป็นผู้น�ำในงานวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาที่ย่ังยืน
สืบไป

ทวี แสงสวุ รรณโณ
วิศวกรใหญ่ด้านสำ� รวจและออกแบบ
ANNUAL REPORT 2021 7

Bureau of testing, Research and Development

DIRECTOR’S TALK

ชว่ งปลายปีงบประมาณ 2564 ผมได้รับโอกาส

มาปฏิบัติหน้าท่ีผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา
พบว่าผู้อ�ำนวยการส�ำนักท่านก่อนได้สร้างสรรค์ไม่ว่าจะเป็น
เรื่องความสามัคคีที่สร้างความรู้สึกให้ทุกคนเสมือนเป็นคนใน
ครอบครัวเดียวกันและการสร้างนวัตกรรมหรือน�ำเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยมาใช้อ�ำนวยความสะดวกในการก�ำกับ ตรวจสอบ
ติดตามการควบคุมคุณภาพงานทางของกรม ท�ำให้ส�ำนัก
วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา มีการพัฒนาไปอย่างทันใจและ
ทันโลก ซึ่งผมคงจะท�ำอย่างอื่นไปไม่ได้นอกจากผลักดันส่ิง
ที่ดีอยู่แล้วให้ดีมากย่ิงข้ึน เพ่ือน�ำไปสู่ความเป็นมาตรฐาน
ระดับสากลดัง Theme ของรายงานประจ�ำปี 2564 ของ
ส�ำนกั วเิ คราะห์ วจิ ยั และพัฒนา Change to Professional

ตอ้ งขอชนื่ ชมและขอบคุณผู้อำ� นวยการ
ส�ำนักท่านก่อน และทีมงานซึ่งประกอบด้วย

ผู้เชี่ยวชาญ ผู้อ�ำนวยการกลุ่ม/ส่วน
รวมถงึ เจ้าหน้าทีท่ กุ คนท่ี ม่งุ มั่นปฏิบตั ิ
หนา้ ทก่ี นั มาอยา่ งเต็มกำ� ลงั ความ
สามารถแม้ว่าจะเจออปุ สรรคทมี่ กี าร

แพรร่ ะบาดของเชอ้ื Covid-19 อยา่ งรนุ แรง
ในชว่ งที่ผ่านมา

นายกนกเทพ รตั นดลิ ก ณ ภูเกต็
ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักวเิ คราะห์ วิจัยและพัฒนา
ตุลาคม 30 สงิ หาคม 2564 - ปจั จบุ นั

EXPERT’s TALK

จากการก้าวเข้าส่กู ระแสเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล และการนำ� นวัตกรรเทคโนโลยีเข้ามาใช้กันอย่างจรงิ จงั
ของประเทศจนเรยี กไดว้ ่าเปน็ เศรษฐกจิ ในยุค Digitalization อีกทงั้ รฐั บาลยังมีนโยบาย Thailand 4.0 เป็นวิสัย
ทัศน์เชงิ นโยบายทตี่ ้องการเปล่ียนการทำ� งานแบบเดมิ ไปสู่การขบั เคลื่อนการท�ำงานทีข่ บั
เคล่อื นดว้ ยนวัตกรรม โดยการนำ� เทศโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาเปลี่ยนแปลงระบบการ
ท�ำงานและใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ เพือ่ ให้เกิดความสะดวก รวดเรว็ สอดคลอ้ งกับพฤตกิ รรม
ของผู้รบั บรกิ ารทีเ่ ปลี่ยนไป
ในปที ผ่ี ่านมา สวว.ขานรับนโยบายและใหค้ วามสำ� คัญกับนโยบาย
Thailand 4.0 มีผลงานการวจิ ยั และพัฒนา เพื่อให้การด�ำเนนิ งานของ สวว.
เตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ งการปรบั กระบวนการทำ� งานโดยนำ� เทคโนโลยเี ขา้ มาใชใ้ นการ
บรหิ ารจดั การระบบฐานขอ้ มูลทมี่ ี(Big data analytics) ซง่ึ ถอื เปน็ การเตรยี ม
ความพร้อมส�ำหรบั การเปล่ยี นแปลงในอนาคต และเปน็ การเพิม่ ประสทิ ธิภาพ
สรา้ งมลู ค่าเพ่มิ ใหก้ ับผลผลติ และบริการ ตลอดจนพฒั นารูปแบบการ
ใหบ้ รกิ ารเพือ่ ให้สามารถตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ หรอื ผรู้ บั
บรกิ าร(Customer Focus)และเพมิ่ ขดี ความสามารถในการทำ� งาน
ทเี่ หน็ ไดจ้ ากการนำ� เทคโนโลยที นั สมยั และนวตั กรรม(Innovation)
มาใชใ้ นงานตรวจสอบแหลง่ ผลติ งานทดสอบวสั ดแุ ละงาน
ปฐพีวศิ กรรม เพอ่ื ให้สามารถทำ� งานได้อยา่ งรวดเร็ว มี
ประสิทธภิ าพและได้ขอ้ มูลที่เทีย่ งตรง รวมถงึ การเตรยี ม
ความพรอ้ มในเรอื่ งระบบฐานขอ้ มลู และสถานะของ
แหลง่ ผลติ ทส่ี ามารถนำ� ไปใชไ้ ดจ้ ากทกุ ที่ ซง่ึ จากนี้
ตอ้ งมกี ารพฒั นาความรเู้ รอื่ ง Digital Service
ให้บุคลากรผู้ปฏบิ ัตเิ พอื่ ยกระดับมาตรฐาน(Improve)
และสร้างคุณคา่ ใหม่ๆ(New value)ในการควบคมุ คุณภาพ
และการทำ� งานท่ยี ่ังยืนตอ่ ไป
ขอบคณุ ท่านวิศวกรใหญอ่ ดตี ผอู้ �ำนวยการส�ำนักและ
ทา่ นผอู้ �ำนวยการสำ� นกั ทา่ นใหม่ ผู้บริหารและทมี งาน สวว.ทกุ ๆ
คน ส�ำหรับความมงุ่ มนั่ ทุมเท และรว่ มกันสรา้ งความเข็มแข็ง
ให้กบั สวว. ตลอดมา ผมเชอ่ื วา่ พวกเราทุกคนยงั คงยึดมัน่
ตอ่ การดำ� เนินงานตามหลักธรรมาภบิ าลและพร้อมเปล่ียน ณฐพนธ์ เดชมณี
(Change) สู่ความส�ำเรจ็ ทดี่ ีกว่าในอนาคต ผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นวิจัยและพฒั นา

PART 267 คำ� น�ำ
สารจาก วศิ วกรใหญ ่
Change to8 Chief Engineer Talk
สารจาก ผ้อู �ำนวยการสำ� นกั ฯ
Professional9
Director’s Talk
สารจาก ผเู้ ชี่ยวชาญฯ
Expert’s Talk
32 QCS ระบบควบคมุ คุณภาพที่
10 สารบัญ Content 34 ไมเ่ คยหยดุ นง่ิ
12 ผูบ้ ริหารสวว. Executive
14 วิสัยทัศน์ Vision บรู ณาการทดสอบประสทิ ธภิ าพ
เคร่ืองจักรเพื่อมาตรฐาน
พันธกจิ Mission
ค่านยิ ม Value
วฒั นธรรมองค์กร เดียวกัน
จากวจิ ยั และคน้ ควา้ สถู่ นนทดลอง
36Corporate culture เพอ่ื ความย่งั ยนื
16 ผงั โครงสรา้ ง OrganizationChart โครงการเจาะสำ� รวจชน้ั ดินเพอื่
17 งบประมาณปี 2564 งานกอ่ สรา้ งทางและสะพาน
โครงการแกไ้ ขปญั หาคนั ทาง
38Statement Budget 2021 ทรุดตัวสายนบ.5036 จ.นนทบรุ ี

ภาพรวมแผนเบิกจ่ายงบประมาณ

40อตั รากำ� ลงั Manpower rate
20 การจดั เก็บตวั อยา่ ง และ
คา่ ธรรมเนยี ม


iPnnAoRvTatio1n.

24 นวตั กรรมเพอื่
2286 สนบั สนนุ การใชย้ างพาราฯ

จากแนวคิดสู่การใชง้ านจริง
นวัตการเพือ่ วัดดชั นคี วามขรุขระ

42 โครงการแกไ้ ขปญั หาทางลอดในสาย CONTสEาNรบTญั S
46 ทาง ชร.5032 จ.เชยี งราย
58 ร่วมใจปอ้ งกัน-ลดการแพร่
โครงการแก้ไขปญั หาถนนวิบัติ สาย 59 เช้ือCovid-19

48 อย.3011 จ.พระนครศรีอยธุ ยา สวว.อาสาร่วมอ�ำนวยความ
การสำ� รวจหาวตั ถหุ รอื โครงสรา้ ง สะดวกแกป่ ระชาชนผมู้ ารับ
ฉดี วัคซีนปอ้ งกัน Covid-19
50 ใต้ดนิ แบบไมท่ ำ� ลาย
ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มเพื่อการ 60 (บางซอ่ื )
กอ่ สรา้ ง รว่ มบำ� เพญ็ กศุ ลเพอื่ ถวายเปน็

PRAAecstRievTaitryc3h 61 พระราชกศุ ลในวนั พอ่ แหง่ ชาติ
วนั คล้ายวนั ก่อตงั้ กรม
54 สวว.รว่ มมทุ ติ าจติ ผ้บู รหิ ารและ ทางหลวงชนบท 9 ตุลาคม
อดตี ผส.วว ท่ีเกษียณอายุ 2564

56 ราชการ PART 4
ตามเบอื้ งยคุ บาท รว่ มเปน็ จิต
Same Family
57 อาสาพระราชทาน
กีฬาสามคั คี ทช. 64 หวั หน้าหน่วย QCS
65 คนควบคมุ คุณภาพ สวว.
66 คนควบคมุ คณุ ภาพในภมู ภิ าค

สทช.ท่ี 1-18 และ ขทช.ในเขต
รับผิดชอบของสำ� นัก

Executive วิจยั และพฒั นา

ผบู้ รหิ ารสำ�นกั วิเคราะห์

จ.ส.อ.ปรญิ ญา เกดิ จนั ทร์ตรง นายวรี ศักด์ิ จันทรา นายสมชัย องั กูรวิวัฒน์ นางเยาวมาลย์ เหมัษฐติ ิ

ผูอ้ �ำนวยการกลุ่มยุทธศาสตร์ ผอู้ �ำนวยการกล่มุ พฒั นามาตรฐาน ผูอ้ �ำนวยการกลมุ่ วิจัยและพฒั นา ผ้อู �ำนวยการส่วนอำ� นวยการ

กล่มุ ยทุ ธศาสตร์ กลุ่มพฒั นามาตรฐาน กลมุ่ วจิ ยั และพัฒนา ส่วนอำ� นวยการ

มหี น้าที่เปน็ เจา้ ภาพหลักในการจดั ทำ� มหี นา้ ทจ่ี ดั ทำ� แผนงานการศกึ ษา มีหน้าท่ีในการรับ-ส่ง ร่าง
ยทุ ธศาสตรแ์ ละตวั ชวี้ ดั ขององคก์ ร จดั ทำ� มีหน้าท่ีจัดท�ำมาตรฐานงานทาง ค้นคว้าและวิจัย ศึกษา ค้นคว้า หนงั สอื โตต้ อบจดั เกบ็ เอกสารหนงั สอื
แผนงานโครงการ เพ่ือขอรับการ และทดลองร่วมกับหน่วยงานการ ของทางราชการ ควบคมุ การเบกิ จ่าย
สนบั สนนุ งบประมาณ ตดิ ตามประเมนิ ผล ระบบงานวิธีปฏิบัติงานและข้อก�ำหนด ศึกษา บริหารโครงการวิจัยและ และลงทะเบียนพัสดุ ครภุ ัณฑ์ สถิติ
ความส�ำเร็จในการปฏิบัติงานรวมถึงศึกษา เกี่ยวกับงานทางหลวงชนบท จัด บริหารสัญญางานศึกษาค้นคว้า รายงาน งานการ เจา้ หนา้ ท่ี งานการ
คน้ ควา้ จดั หาและรวบรวมเอกสาร ขอ้ มลู ท�ำหลักเกณฑ์วิธีการจัดการผลงาน และวจิ ยั รวมถงึ ประสานงานหนว่ ย เงินและบัญชี งานพสั ดุเบอ้ื งต้น งาน
ต�ำราและผลการ ศึกษาวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ด�ำเนินการ งานภายในและภายนอก เพอ่ื จดั ทำ� ประชุมและประสานงานราชการ งาน
ทั้งในและต่างประเทศ เพ่ือเป็นแหล่ง และร่วมศึกษาพัฒนามาตรฐานและ โครงการวิจยั บันทึกขอ้ มลู โรเนยี ว ถา่ ยเอกสาร
สบื คน้ อา้ งอิงทางวชิ าการ ศักยภาพของผู้ปฏิบัติงาน ร่วมฝึก งานประชาสัมพันธ์และงานอื่นๆ
อบรมเผยแพรค่ วามรดู้ า้ นมาตรฐานแก่ ตามท่ไี ด้รบั มอบหมาย
เจ้าหน้าที่กรมและบุคลากรขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแหล่งข้อมูล
ทางวชิ าการ

12 รายงานประจ�ำปี 2564
สำ� นกั วิคราะห์ วิจยั และพฒั นา

นายทวี แสงสุวรรณโณ นายกนกเทพ รตั นดลิ ก ณ ภเู กต็

ผ้อู ำ� นวยการสำ� นักวเิ คราะห์ วจิ ยั และพฒั นา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวเิ คราะห์ วจิ ยั และพฒั นา
ตลุ าคม 2562 - สงิ หาคม 2564 30 สิงหาคม 2564 - ปัจจุบนั

นายณฐพนธ์ เดชมณี

ผู้เชย่ี วชาญดา้นวจิ ัยและพฒั นา

นายจักรพงษ์ วงคค์ �ำจนั ทร์ นายณัฐวิทย์ เวียงยา

ผูอ้ �ำนวยการกลุ่มปฐพีวิศวกรรม ผูอ้ ำ� นวยการกลมุ่ วเิ คราะห์ ทดสอบและควบคุมคณุ ภาพ

กลมุ่ ปฐพวี ศิ วกรรม กลมุ่ วเิ คราะห์ ทดสอบและควบคุมคณุ ภาพ

ตแมสถเจตแสระรลพดึงัาพียววใตะทรหจจบาหร่สำ� ค้สนฐสร่งคา�ำอิหอาเยมู่ตปสนบาบแอืลรรรจวมิลกึมอจัดสัทหเษัดีหดะทดกดลอกจานำ�แุยี่สกันาืน่ขา้ลวอรแเทศอ้ๆะกกบรนกึ่ีผมะบัณแกะษลบลู งลนต�ำาติฑแบาะห�ำรภนลควทเ่์วนกณัะเิทวดจคดบยี่บดลฝฑรสกรวคสอกึาิหรอง์กอมุะงออาาบหบับคบนบรว์ุณวงรกรจิ าจัสสเมาอ่ยัภพนัดดยอสพาอ่ืทกแุลบแรพฒั สดาละเา้ลงทรเสนะงนะอาขยีผอใับาอนียหอ้บลบงส่ืนทดก้มอาติสนาๆเนบัูลภุปนคุนงไหแกณับัรจงปนหแ่อืราสดัจฑณว่ลนกงนทน์สยม่งก่หนำ�ุ์ถ�ำวงือเอ่เนงึเหอาัสคคสก่วนกรดรอรรายบัภอ่ืสุอื่ปุ้ารตปงงาางแงกามิดยรฏมกรนตใอือืณบิไ้บนคทขาใตัูรกอ่มูม์าหปณิงสรปุือปญัเ้ มปใ�ำะกรหหหทท็นะเราบ้พเรกุาไณคมปบังรือ่รินวแตกิระ์งเาผผดวาาลามนมมบัลยระ
มีหนา้ ที่ ส�ำรวจ ตรวจสอบ ทดสอบและวเิ คราะหง์ านดา้ นปฐพี

วิศวกรรม เพ่ือก�ำหนดแนวทาง ออกแบบ แนะน�ำการแก้ไข ป้องกัน
ปัญหาความเสียหายส�ำหรับงานทางและโครงสร้าง จัดท�ำข้อมูลและ
บริหารจัดการข้อมูลชั้นดินและข้อมูลด้านปฐพีวิศวกรรมอ่ืนๆ เจาะส�ำรวจ
ช้ันดิน ทดสอบและวิเคราะห์คุณสมบัติของช้ันดิน วิเคราะห์ความสามารถ
ในการรับน้�ำหนักและเสถียรภาพของดินส�ำหรับงานก่อสร้างฐานราก
ประเภทต่างๆ เพ่ือการออกแบบ การปรับปรุงคุณภาพ การสนับสนุน
งานศึกษา ทดลอง วจิ ยั และอ่ืนๆ จัดทำ� เอกสาร ค่มู อื เพอื่ เผยแพรส่ ่งเสริม
เกีย่ วกับงานปฐพีวศิ วกรรม

ANNUAL REPORT 2021 13

Bureau of testing, Research and Development

Vision วสิ ัยทศั น์

“SPEC”

Standard Product Engineering Cooperation

ผลผลติ มาตรฐาน รว่ มท�ำงานวิศวกรรม

Mission พนั ธกิจ

1. ศกึ ษาและพฒั นาเกยี่ วกบั งานทางหลวงชนบทและทางหลวง
ทอ้ งถิน่

2. ศกึ ษาและจดั ทำ� ขอ้ กำ� หนดเกย่ี วกบั คณุ สมบตั วิ สั ดุ วธิ กี ารทดสอบ
วัสดแุ ละการปฏบิ ตั ิงานกอ่ สรา้ ง บ�ำรงุ รกั ษาทางและสะพาน

3. ก�ำหนดมาตรฐานและจัดทำ� ข้อก�ำหนดเก่ียวกับงานทางหลวง
ชนบท

4. ส่งเสรมิ และสนับสนุนเก่ียวกับการพฒั นาด้านงานทางแก่องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่

5. ปฏิบัตงิ านร่วมกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏิบัติงานรว่ มกับหรือ
สนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอืน่ ที่เกย่ี วข้องหรือได้รบั
มอบหมาย

14 รายงานประจ�ำปี 2564
สำ� นักวิคราะห์ วจิ ัยและพฒั นา

Corporate culture

วฒั นธรรมองค์กร

T eam of Professionals

มุ่งมนั่ ท�ำงานอย่างมอื อาชีพ

Together (2T 2C)

กา้ วหน้าไปด้วยกนั

Customer Focus

ใสใ่ จผรู้ ับบรกิ าร/ประชาชน

C om mit t o Ex cellence
ทุ่มเทเพือ่ ความเปน็ เลิศ

Value (4S) S-01Value Same Family

คา่ นยิ ม เราคือครอบครัว
เดียวกัน

S-02Value Synergy

รวมพลังสู่ความ
ส�ำเร็จที่ย่ังยืน

S-03Value Sเราtaคnอื dมaอื อrาdชพี

มาตรฐานระดบั สากล

S-04Value Sคคววaาามมtiสพs�ำอfเใaรจ็จผcขู้ใtอชiง้oบเรรnิกาารคือ

Organization Chart

ผงั โครงสรา้ งองคก์ ร

นายทวี แสงสวุ รรณโณ วศิ วกร ผส.วว นายกนกเทพ รัตนดิลก ณ ภเู กต็
ตุลาคม 2562 - 29 สงิ หาคม 2564 ใหญ่/อดตี ปจั จบุ ัน 30 สิงหาคม 2564 - ปัจจุบนั

ผส.วว ผ้เู ชี่ยวชาญ นายณฐพนธ์ เดชมณี
สวว.

ผอ.สอก. ผอ.กวจ. ผอ.กยศ. ผอ.กปว. ผอ.กพม. ผอ.กวค.

สว่ นอำ� นวยการ กล่มุ วจิ ยั และพัฒนา กลุ่มยุทธศาสตร์ กลมุ่ ปฐพีวศิ วกรรม กลมุ่ พัฒนามาตรฐาน กล่มุ วเิ คราะห์ ทดสอบ
และควบคมุ คณุ ภาพ

MANPOWER RATE พนักงานราชการ ข้าราชการ

อัตราก�ำลงั สำ� นักวเิ คราะห์ วิจยั และพัฒนา 33

ลกู จ้างชว่ั คราว 31

ลูกจา้ งประจำ� 27

2

16 รายงานประจ�ำปี 2564
สำ� นกั วิคราะห์ วจิ ัยและพัฒนา

ANNUAL FINANCAL STATEMENT BUDGET 2021

Bureau of testing, Research and Development

รายละเอยี ดการเงนิ ประจำ�ปี 2564 สำ�นักวิเคราะห์ วิจยั และพัฒนา กรมทางหลวงชนบท
งบก่อสร้างอาคารทพี่ ักและอาคารวิเคราะห์ วจิ ัยและ
ทดสอบวัสดุ (นครราชสมี า)
9,030,000.00 บาท
งทสบนางกับหิจสลกนวรนุ รงกมชานอรำ�บพนทฒั วยนแาละ งบค่าจ้างท่ปี รกึ ษาฯ จำ� นวน 2 โครงการ
9,000.000.00 บาท

งบกิจกรรมกอ่ สร้างถนนและ
61,114,698.00 บาท ยกระดบั ชน้ั ทาง
5.33 % 6,740,640.00 บาท
5.31 % 3.98 %

36.07 งบประมาณทงั้ สนิ้ 46.58
% 169,430,987.29 %

บาท

1.0.7967%% งบโครงการถนนทดลอง
งบด�ำเนนิ งาน จ�ำนวน 7 โครงการ
1,650,000.00 บาท 78,918,569.29 บาท

งบกจิ กรรมยกระดับมาตรฐานทาง
ตามระบบ QCS 2,977,080.00 บาท

ANNUAL REPORT 2021 17

Bureau of testing, Research and Development

รำยละเอียดแผน / ผลกำรเบิกจ่ำยปงี

งบประมำณ ปี พ.ศ. 2564 31 มี.ค.64 30 เม.ย.64

งบดำเนินงำน (ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ) 16.40% 29.
- กิจกรรมอานวยการและสนับสนุนการพัฒนาทางหลวงชนบท
งบลงทุน (ค่าครุภณั ฑ์ ท่ีดิน / สง่ิ ก่อสรา้ ง) 35..4115%% 9.8
- กิจกรรมก่อสร้างทางหลวงชนบทเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การท่องเท่ียว (ค่าจ้าง)
- กิจกรรมก่อสรา้ งโครงข่ายสะพาน (ค่าจ้าง) 8.67
- กิจกรรมพัฒนาสะพานขนาดกลาง (ค่าจ้าง) 5.75
- กิจกรรมก่อสรา้ งถนนและยกระดับชั้นทาง (ค่าควบคุมงาน)
- กิจกรรมยกระดับมาตรฐานทาง (QCS) 5.15%
- กิจกรรมอานวยการและสนับสนุนการพฒั นาทางหลวงชนบท 3.41%
1. ชุดเครอื่ งมือทดสอบคุณภาพเครื่องหมายจราจร และระบบไฟฟ้าทางหลวง
2. ชุดเครือ่ งมือทดสอบคุณสมบัติวัสดุผิวทาง
3. ชุดเคร่อื งมือทดสอบคุณสมบัติวสั ดุโครงสรา้ งทาง
4. ชุดเคร่ืองมือทดสอบคุณสมบัติทางปฐพีวศิ วกรรม
5. ค่าครภุ ณั ฑซ์ ่อมเครอ่ื งมือทดสอบ
6. ค่าครภุ ัณฑช์ ุดซ่อมบารุงและสอบเทียบมาตรฐานอุปกรณป์ ระจาปีสาหรับ รถสารวจสภาพ
โครงสรา้ งชั้นทางด้วยตุ้มน้าหนักกระแทก (Fallig Weight Deflectometer)
7. ก่อสร้างอาคารที่พกั อาศัยเรือนแถวเจ้าหน้าท่ีศูนย์ทดสอบวัสดุ กรมทางหลวงชนบท สวว.
8. ก่อสรา้ งอาคารวิเคราะห์ วจิ ัยและทดสอบ สวว. (นครราชสีมา)
9. ค่าจ้างที่ปรึกษาโครงการศึกษาความสัมพันธ์ของความต้านทานไฟฟา้ และกาลังของดินหรอื หิน
10. ค่าจ้างออกแบบโครงการเจาะสารวจดินเพื่อการออกแบบงานสะพานและงานทางปี 2564
11. รถพ่วง (Trailer) สาหรับเคลื่อนย้ายเครื่องมือวัดดัชนีความขรุขระสากล (IRI) 5 คัน
- กิจกรรมบารงุ รักษาทางหลวงชนบท
1. สาย สบ.4045 แยกทล. 3520 - บ.คชสิทธ์ิ อ.หนองแค จ.สระบุรี
2. สาย ปท.3026 แยกทล. 305 - บ.หนองแค (ตอนสระบุรี) อ.หนองแค จ.สระบุรี
3. สาย สบ.4044 แยกทล. 3520 บ.หนองศรบี ุญ อ.หนองแค จ.สระบุรี
4. สาย อย.1043 แยกทล. 1 - บ.ข้าวงาม อ.วังน้อย จ.พระนครศรอี ยุธยา
5. สาย นม.4014 แยกทล. 2217 - บ.กุดสระแก้ว อ.ด่านขุนทด, เทพารักษ์ จ.นครราชสีมา
6. สาย นม.4057 แยกทล. 2285 - บ.หนองบัววง อ.ประทาย, เมืองปวง, ลาทะเมนชัย
จ.นครราชสีมา

รวมทั้งส้ิน
แผนเบกิ จ่ำยสะสม

งบประมำณ 2564 (มี.ค. - ก.ย. 64)

4 31 พ.ค.64 30 มิ.ย.64 ก.ค.64 ส.ค.64 ก.ย.64

88.60% 95.17%

86.34% 92.39%
91.55%

76.01% 76.70%

72.78% 71.02%

63.32%

49.82% 54.74% 54.02%

40.24% แผนการเบกิ จา่ ย กรม

.77% แผนการเบกิ จ่าย สวว

18.97% ผลการเบิกจ่าย สวว

83%
4.37%

16.54 67.72 92.13 122.50 129.11 153.77

7.36 31.93 90.93 119.54 149.14 155.52

9.83% 40.24% 54.74% 72.78% 76.70% 91.55%
4.37% 18.97% 54.02% 71.02% 88.60% 92.39%

สผำล�นกกั าวรจเิ คดั รเากะบ็ หต์ วั วอจิ ยัย่างแแลละะพคัฒ่าธนรารมเกนรยี มมทปารงะหจลำ�วปงี ช2น5บ64ท
รวม 1,181,703 ตวั อย่าง ( จดั เก็บคา่ ธรรมเนยี มได้ 958,838 ตวั อย่าง
ยกเวน้ ค่าธรรมเนยี ม 222,865 ตัวอย่าง )

201,864 ตัวอย่าง = 17.08 %%
12,822,431 บาท = 11.01
03 02เอกชน
กรมทางหลวงชนบท
447,343 ตัวอย่าง = 37.86 %%
33,617,150 บาท = 28.87

04 01
ส่วนราชการอืน่ สว่ นทอ้ งถ่นิ
20,506 ตวั อย่าง = 1.74 %% 511,990 ตวั อยา่ ง = 43.33 %%
3,468,168 บาท = 2.98 66,541,519 บาท = 57.14

20 รายงานประจ�ำปี 2564
ส�ำนกั วคิ ราะห์ วิจัยและพัฒนา

ตารางเปรียบเทียบการจัดเก็บตัวอย่างและค่าธรรมเนียมประจำ�ปีงบประมาณ 2564

สวว. 36,390 8,562,110
สทช.ท่ี 18.
สทช.ที่ 17. 21,781 4,264,420

สทช.ท่ี 16. 31,497 2,643,530
สทช.ที่ 15.
สทช.ท่ี 14. 175,725 6,088,111
สทช.ท่ี 13.
สทช.ที่ 12. 76,127 7,460,980
สทช.ที่ 11.
สทช.ที่ 10. 48,839 4,751,430
สทช.ที่ 9 . 46,157
สทช.ที่ 8 . 7,920,030

หน่วยงานใ ้หบ ิรการ สทช.ท่ี 7 . 36,989 3,729,140
หน่วยงานใ ้หบ ิรการ สทช.ท่ี 6 .
สทช.ที่ 5 . 48,745 5,519,060
สทช.ท่ี 4 .
สทช.ที่ 3 . 55,886 5,796,690
สทช.ที่ 2 .
สทช.ที่ 1 . 36,606 4,040,700
77,307
9,817,180

58,136 3,606,729

78,035 9,581,420
108,189 11,659,558

75,912 4,121,840

59,980 6,954,520
52,782
4,886,700
56,911 5,054,120

0
2,000,000
4,000,000
6,000,000
8,000,000
10,000,000
12,000,000
14,000,000

Orange จ�ำนวนตวั อยา่ ง Blue ค่าธรรมเนยี ม จ�ำนจว�ำนนตวนวั อตยวั อ่างยา่ /งค/่าธครา่ รธมรเรนมยี เนมียม

ANNUAL REPORT 2021 21

Bureau of testing, Research and Development

“ สวว. เราเพ่ิมขีดความสามารถใน
การท�ำงาน ด้วยการนำ� เทคโนโลยที ันสมยั
และสรา้ งนวัตกรรม( innovation )มาใชใ้ น
งานตรวจสอบแหล่งผลิต การทดสอบวสั ดุ
และงานปฐพีวศิ กรรม เพือ่ ใหส้ ามารถท�ำงาน
ได้อยา่ งรวดเรว็ มีประสทิ ธภิ าพและได้ขอ้ มลู
ทเี่ ทย่ี งตรง ”

ภาพ : การใช้นวตั กรรมตรวจสอบวดั ค่าดัชนีความเรียบขรขุ ระสากล ทางหลวงชนบทสาย สบ.4006 จ.สระบรุ ี

22 รายงานประจำ� ปี 2564
ส�ำนกั วิคราะห์ วจิ ัยและพฒั นา

PAR1T

innovation.

“ ส ร้ า ง ส ร ร ค์
เพ่ือความสำ�เร็จ
ทย่ี ง่ั ยนื ”

ยนควาวางัตมพกปารลรอราดมผภเพลยั ิ่ืทตอาอสงุปนถักนบนรสณนุน์อกำ�านรวใยช้
ภาพ : นายศักดิ์สยาม ชดิ ชอบ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมแล
นายปฐม เฉลยวาเรศ อธบิ ดกี รมทางหลวชนบทเปิดโครงการ
ยางพาราปรบั ปรุงความปลอดภยั ทางถนน เมอ่ื 26 กนั ยายน

ตามมาตรการส่งเสริมการใช้ยางพาราของภาครัฐ เพ่ือ
ช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง กรมทางหลวงชนบทได้ผลักดันให้มี
การน�ำยางพารามาใช้ในอุปกรณ์ทางด้านการจราจรและอ�ำนวยความ
ปลอดภยั ทางถนนท่ีผลิตขนึ้ จากยางพารา นอกจากน้ี กรมทางหลวง
ชนบท ได้ก�ำหนดแบบมาตรฐานและข้อก�ำหนดคุณสมบัติของวัสดุ
พร้อมลงพ้ืนทตี่ รวจโรงงานผลติ หลกั นำ� ทางยางธรรมชาติ ( Rubber
Guide Post : RGP ) และแผ่นยางธรรมชาตคิ รอบกำ� แพงคอนกรตี
( Rubber Fender Barrier : RFB )
ทั้งนี้ได้มีการท�ำงานแบบบูรณาการร่วมกับผู้แทนจาก
กรมทางหลวง และกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพอ่ื ตรวจสอบประสิทธิภาพ ภาพ : ผส.วว.และ ชช. สวว. ตรวจสอบโรงงานผลิตอปุ กรณ์
การทำ� งานของเครื่องมอื เครือ่ งจักร อุปกรณ์ ตลอดจนวสั ดุส�ำคัญ อำ� นวยความปลอดภัยจากยางพารา จ.อทุ ัยธานี

ยางธรรมชาติที่น�ำมาใช้ในการผลิต เพื่อให้การผลิตอุปกรณ์ทางด้าน
การจราจรและอ�ำนวยความปลอดภัยทางถนนทั้ง RGB และ RFB
เป็นไปตามรูปแบบมาตรฐานและข้อก�ำหนดคุณสมบัติของวัสดุของ
กรมทางหลวงชนบท และเป็นไปตามค�ำสั่งคณะกรรมการขับเคล่ือน
การน�ำยางพารามาใชท้ ม่ี ีนายปฐม เฉลยวาเรศ อธบิ ดีกรมทางหลวง
ชนบทเป็นประธาน ซึ่งในปีงบประมาณ 2563 - 2564 กรมทางหลวง
ชนบท ได้ด�ำเนนิ การไปแลว้ ดังน้ี

ภาพ : ชช.สวว.ตรวจสอบโรงงานผลติ อปุ กรณอ์ ำ� นวย

24 รายงานประจำ� ปี 2564
สำ� นกั วคิ ราะห์ วจิ ยั และพัฒนา

ละ ภาพ : พลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรีเปดิ โครงการใช้แผน่ ยางพารา
รใช้แผน่ ปรบั ปรงุ ความปลอดภัยทางถนน จ.จันทบุรี เมอ่ื 26 สงิ หาคม 2563

2563

ภาพ : การตรวจสอบโรงงานผลิตฯ ในพื้นทีโ่ ดย สทช.ท่ี 12 (สงขลา) ภาพ : ชช.สวว.และ ผอ.กปว.ตรวจสอบโรงงานผลติ ฯ จ.สตลู

ตรวจสอบโรงงาน Rubber Fender Barrier : RFB จำ� นวน 14 แห่ง
รบั รองโรงงานไปแล้ว จำ� นวน 13 แหง่
ตรวจสอบโรงงาน Rubber Guide Post : RGP จำ� นวน 18 แห่ง
รบั รองโรงงานไปแลว้ จ�ำนวน 18 แห่ง

กรมทางหลวงชนบทไดม้ ีการนำ� ยางพารามาใช้ในการผลิต
อปุ กรณท์ างดา้ นการจราจรและอำ� นวยความปลอดภยั ทางถนน RGP
และ RFB ท่ีมรี ปู แบบถูกต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน สามารถสรา้ ง
ความปลอดภัย และลดความรุนแรงจากอุบัติเหตุทางจราจรได้อย่าง
คุ้มค่า ทั้งยังช่วยให้ราคายางพารามีเสถียรภาพ เกษตรกรชาวสวน
ยางไดร้ บั ประโยชนโ์ ดยตรงจากการผลติ และจำ� หนา่ ยอปุ กรณด์ า้ นการ
ภาพ : การตรวจสอบโรงงานผลิตฯ ในพ้ืนทีโ่ ดย สทช.ที่ 8 (นครสวรรค์) จราจรและอำ� นวยความปลอดภยั หลกั นำ� ทางยางธรรมชาติ ( Rubber

Guide Post : RGP ) และแผน่ ยางธรรมชาตคิ รอบก�ำแพงคอนกรตี
( Rubber Fender Barrier : RFB ) รวมถึงการจ�ำหนา่ ยนำ�้
ยางพาราในราคาทม่ี กี ำ� ไร การดำ� เนนิ งานดงั กลา่ วชว่ ยผลกั ดนั ใหร้ าคา
ยางพาราในภาพรวมของประเทศสูงข้ึนตามนโยบายเร่งด่วน และ
มาตรการส่งเสริมการใชย้ างพาราของรฐั บาล

ภาพ : การตรวจสอบโรงงานผลติ ฯ ในพ้นื ที่โดย สทช.ท่ี 10 (เชียงใหม่) 25

ANNUAL REPORT 2021

Bureau of testing, Research and Development

ภาพ : นายปฐม เฉลยวาเรศ อธิบดีกรมทางหลวชนบท และนายทวี แสงสวุ รรณโณ ผส.วว.ตรวจเยยี่ มการฝึกอบรมการใชน้ วัตกรรมรถเจาะสำ� รวจชน้ั ดิน จ.ปทมุ ธานี

ที่ผา่ นมาส�ำนกั วเิ คราะห์ วจิ ยั และพัฒนาไดค้ ิดค้นและจดั ทำ�

นวตั กรรมรถเจาะดิน Geotechnical & Environmental Drill
Rig Soil Investigation and Standart Penetration Test
(SPT) โดย สวว.ได้จดั ฝกึ อบรมการใช้งานใหเ้ จ้าหนา้ ทผ่ี เู้ กย่ี วขอ้ ง
ใหส้ ามารถใชง้ านไดโ้ ดยมนี ายปฐม เฉลยวาเรศ อธบิ ดกี รมทางหลวง
ชนบทและนายทวี แสงสุวรรณโณ ผส.วว ให้ความสำ� คญั ลงพืน้
ที่ตรวจเย่ียมการฝึกอบรมการใช้งานนวัตกรรมรถเจาะช้ันดินที่
โรงงาน PAT-Drill จ.ปทมุ ธานแี ละ ในงบประมาณปี 2564 สวว.
ได้น�ำนวัตกรรมรถเจาะส�ำรวจชั้นดินออกใช้งานจริงเพื่อทดสอบ
ประสทิ ธิภาพการท�ำงานของ นวัตกรรมรถเจาะสำ� รวจช้นั ดนิ จาก
การใช้งานในพ้ืนทต่ี า่ งๆ ทีม่ คี วามยากง่ายแตกตา่ งกันท้งั ทางเรยี บ
ทางลาดชนั เชงิ เขา รถเจาะสำ� รวจชนั้ ดนิ สามารถทำ� งานไดเ้ ปน็ อยา่ ง
ดมี ปี ระสทิ ธภิ าพมคี วามคลอ่ งตวั สะดวกและรวดเรว็ ในการเคลอ่ื น
ยา้ ยจัดเก็บอปุ กรณใ์ นเจาะส�ำรวจ สามารถใช้งานได้ดีในกรณที ม่ี ผี ู้
ปฏบิ ตั งิ านอยอู่ ยา่ งจำ� กดั หรอื ไมเ่ พยี งพอ ทง้ั ยงั สามารถเจาะสำ� รวจ

26 รายงานประจำ� ปี 2564
สำ� นักวิคราะห์ วจิ ยั และพฒั นา

innovation.จากแนวคดิ นวตั กรรมสกู่ ารใชง้ านจรงิ
รถเจาะสำ�รวจชนั้ ดิน

จ�ำนวนหลุมได้เร็วและมากกว่า จึงท�ำให้ได้ข้อมูลท่ีละเอียด
มากกว่าแบบเดิมท่ีมีความยุ่งยากในการติดตั้งถอดเก็บและ
เคลอ่ื นยา้ ยอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื ในการเจาะแตล่ ะครงั้ (หลมุ ) ทง้ั ยงั
ตอ้ งใชเ้ วลา และคนเปน็ จำ� นวนมากในการเจาะแตล่ ะครง้ั (หลมุ )
เจาะหลมุ ตอ่ วนั ไดน้ อ้ ยนน่ั กห็ มายถงึ ขอ้ มลู กจ็ ะมคี วามละเอยี ด
น้อยลงตามไปดว้ ย โดยในปีงบประมาณ 2564 สวว.ไดบ้ ริการ
เจาะสำ� รวจชน้ั ดนิ โดยกล่มุ ปฐพีวิศวกรรมไปแล้วดังนี้

โครงการก่อสรา้ งถนน จำ� นวน 6 โครงการ
โครงการก่อสรา้ งสะพาน จ�ำนวน 10 โครงการ
ในอนาคตหากมีการใช้งานนวัตกรรมรถเจาะดิน
Geotechnical & Environmental Drill Rig Soil In-
vestigation and Standart Penetration Test (SPT)
ที่ สวว. คดิ ค้นข้นึ อย่างแพรห่ ลายท่วั ถงึ ในทุกพนื้ ท่ีกจ็ ะท�ำให้
มขี ้อมลู ทีม่ ากเพียงตอ่ ออกแบบโครงการต่างๆ ไดอ้ ย่างคุ้มคา่
มั่นคง และย่ังยนื เปน็ ประโยชน์ต่อประชาชน เศษฐรกจิ สงั คม
และประเทศชาตโิ ดยรวมตอ่ ไป

ภาพ : ผอ.จกั รพงษ์ วงค์ค�ำจนั ทร์ ลงพน้ื ท่ีการใช้นวตั กรรมรถเจาะส�ำรวจ
ชั้นดินทางเข้าโรงยาบาลทพิ ยพ์ มิ าน นม.5067 จ.นครราชสีมา

ANNUAL REPORT 2021 27

Bureau of testing, Research and Development

innovation.นคววตาั มกขรรรขุ มรเพะสอ่ื ากกลารทวสด่ัี คะดา่ วดกชั แนลี ะ
รวดเรว็

ภาพ : เครข่อื แับงบเมคบือลวือ่Lัดนaคดsวe้วาrยมมPเอรroยีเตfบiอlขoรอmไ์ งฟeผฟtวิ e้าทrาง

ค่าดัชนีความขรุขระสากล (International Roughness Index, IRI)
คือ ค่าดัชนีที่ใช้ระบุความขรุขระของผิวทางสามารถบอกถึงสภาพการให้บริการของผิวทาง
โดยรวม ได้จากผลการวัดค่าระดับของผิวทางตามทิศทางการว่ิงน�ำค่า
ผลรวมที่ได้มาหารด้วยระยะทางตามแนวราบและมาค�ำนวณตามสมการทาง
คณิตศาสตร์
คา่ IRI เป็นทนี่ ิยมใชใ้ นการบรหิ ารโครงข่ายสายทางในประเทศตา่ งๆ
และเปน็ ทย่ี อมรับของธนาคารโลก (World Bank) โดยมาตรฐานของค่า IRI
ของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับการก�ำหนดนโยบายและ
การจดั สรรงบประมาณในการบริหารโครงข่ายทางของแตล่ ะประเทศและตาม
ป ประเภทผิวทางตา่ งๆ โดยมเี กณฑ์แนะนำ� การประเมนิ ความราบเรียบของ
ถนนตามมาตรฐาน ASTM E950 และ World Bank Standard class 1
ในประเทศไทย ค่า IRI ก�ำหนดไวด้ งั นี้
(m/Km) สภาพความเรยี บไดแ้ ก่
0 -1.0–2.5 ดีมาก
2.5–3.5 ดี
3.5–4.5 พอใช้
4.5 ขนึ้ ไป ต้องปรับปรงุ

28 ภาพ : เครอ่ื งวัดค่าดชั นีความเรียบขรุขระสากลท่ีนำ� มาประยกุ ตข์ บั เคล่อื นด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า
(International Roughness Index, IRI)

รายงานประจำ� ปี 2564

ส�ำนักวคิ ราะห์ วิจยั และพฒั นา

ทผ่ี า่ นมาส�ำนักวิเคราะห์ วิจัยและพฒั นาใช้ การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี
เคร่ืองมือวัดความเรียบของผิวทางชนิดรถเข็น (Walking ส�ำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา ได้คิดประยุกต์
Profiler) ในการตรวจสอบความเรียบของผิวทางประมวล
ผลเปน็ หน่วยการวดั ดชั นคี วามเรยี บสากล (International เคร่ืองวัดค่าดัชนคี วามเรยี บขรุขระสากล (International
Roughness Index; IRI) ซึ่งเครอื่ งมือดงั กลา่ วตอ้ งเดิน Roughness Index, IRI) แบบ Laser Profilometer มา
ตรวจวดั ดว้ ยกำ� ลงั คนเป็นหลัก ขอ้ ดี คอื ให้ความละเอยี ด ใชต้ รวจสอบ ซง่ึ ขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ บั จากอปุ กรณเ์ ลเซอรจ์ ะเปลยี่ น
ไปตามลักษณะของพื้นผิว เชน่ คา่ การรา้ ว, รอยรอ่ ง, พน้ื
ภาพ : เคร่ืองมือวดั ความเรยี บของ ผิว, หลุมบ่อ, การโก่ง, ความหยาบและอ่ืนๆ ค่าต่างๆ
ผวิ ทางชนิดรถเข็น (Walking Profiler) ของถนนจะขนึ้ มาตลอดระยะทางการสำ� รวจ เมอื่ นำ� อปุ กรณ์
มาติดตั้งและขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าเพื่อให้เกิดความ
ในการตรวจวัดสูงมาก มีราคาถูกว่าเลเซอร์ มีขนาดเล็ก สะดวกรวดเร็วในการจัดเก็บข้อมูลด้วยความเร็วประมาณ
สามารถเก็บข้อมูลที่ความเร็วต่�ำได้ เหมาะส�ำหรับเส้นทาง 30 ถงึ 90 กโิ ลเมตรตอ่ ชวั่ โมง สามารถลดระยะเวลาในการ
ระยะส้ันๆ ส่วนข้อเสีย คือ การใช้งานต้องใช้คนควบคุม จดั เกบ็ ขอ้ มลู ลงไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก (ประมาณ 8 – 9 นาท/ี
เป็นหลัก และมีการเก็บคา่ ดว้ ย Inclinometer ดังน้นั การ กม. เปรยี บเทยี บกบั แบบ Walking Profiler ประมาณ
ควบคุมทไ่ี มด่ ี เชน่ ยกหนา้ ตวั รถเร็วไป หรอื มีการเลยี้ วผิด 30 นาที / กม.) ทำ� ให้การตรวจสอบสภาพผิวทางเปน็
จังหวะจนท�ำให้ล้อยกหรือขยับจะส่งผลให้ค่านั้นเปล่ียนไป ไปอย่างรวดเร็ว ข้อมูลที่ได้จากการส�ำรวจเป็นมาตรฐาน
ดว้ ย ความสูงต่�ำของพนื้ เชน่ ทางขึน้ เขา ลงเขา กส็ ่งผล สากล มคี วามละเอยี ดแมน่ ยำ� ไดร้ ะยะทางในการเกบ็ ขอ้ มลู
ตอ่ คา่ ของอปุ กรณ์ อกี ทงั้ ยงั ตอ้ งใชเ้ วลาในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทมี่ ากขึ้นโดยใช้คนเก็บข้อมลู และเวลานอ้ ยลง มีราคาทไี่ ม่
คอ่ นขา้ งมาก (ประมาณ 30 นาที /1 กม.) แตกตา่ งจากเครอ่ื งมอื วดั ความเรยี บของผวิ ทางชนดิ รถเขน็
ปจั จบุ นั เทคโนโลยกี า้ วไปไกลและมรี าคาถกู ลง ทำ� ให้ (Walking Profiler)
สามารถใช้ประโยชน์จากเลเซอร์ในการวัดด้วยความเร็ว นับว่าเป็นการน�ำเทคโนโลยีมาผสมผสานในการ
ต่�ำได้ ซึ่งกรมทางหลวงชนบทมีถนนท่ีอยู่ในความดูแล ทำ� งานไดอ้ ย่างคุม้ ค่า ซึ่งหากมกี ารใช้งานเคร่อื งวดั คา่ ดัชนี
มากกวา่ 49,000 กิโลเมตร เพ่อื ให้เทา่ ทนั กบั ยคุ สมยั และ ความเรียบขรุขระสากล (International Roughness
Index, IRI) แบบขับเคล่ือนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าของกรม
ทางหลวงชนบทอยา่ งแพรห่ ลายในทกุ หนว่ ยงานปฏบิ ตั กิ จ็ ะ
สง่ ผลดตี อ่ ผลการดำ� เนนิ งานของกรมทางหลวงชนบทในการ
สรา้ งความสะดวกปลอดภยั ใหแ้ กผ่ ใู้ ชเ้ สน้ ทางไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื

ภาพ : การวดั ค่าความเรยี บด้วยเลเซอร์

ผบู้ ริหารและเจ้าหนา้ ทใ่ี น สวว.ทกุ คน
ทุ่มเทท่ีจะสร้างให้ สวว.เป็นต้นแบบ
( MODEL )ในการควบคมุ งานทีส่ รา้ ง
การเติบโตท่ีมั่นคงและยั่งยืนให้กับงาน
ก่อสร้างของกรม โดยค�ำนึงถึงการ
สร้างความถูกต้องคุ้มค่าและประโยชน์
สุขให้กับประชาชนควบคู่ไปกับการยึด
มั่นในหลักจรรยาบรรณและการบรหิ าร
งานอยา่ งมธี รรมาภิบาล เพอ่ื เป็นผนู้ �ำ
ในงานวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาที่
ยัง่ ยนื สบื ไป

ภาพ : ตรวจรับงานโครงการถนนทดลอของ สวว. งสาย กจ.4018 จ.กาญจณบรุ ี

30 รายงานประจำ� ปี 2564
ส�ำนกั วิคราะห์ วจิ ัยและพัฒนา

PAR2T

pchroafnegsseiotnoal

เปล่ียนทุกย่างก้าว
ส่มู ืออาชีพระดบั
สากล.

QเQคยCCหSยSดุ (นQง่ิระuบaบคliวคtyณุ บภคCาุมพoทค่ีมnุณาตtรrภฐoาานพl คทSอื ่ไีyงมาs่นtขeองmเรา)

กรมทางหลวงชนบทมีนโยบายใหท้ กุ โครงการกอ่ สรา้ งตอ้ งตดิ ตามตรวจสอบ ทดสอบ

และควบคมุ คณุ ภาพวสั ดุ โดยกำ� หนดขน้ั ตอนในการควบคมุ ตรวจสอบ ทดสอบ รายงาน และแนวทาง
ประเมินผลการปฏิบัติงานฯ ให้เป็นไปตามโครงการระบบควบคุมคุณภาพวัสดุและงานก่อสร้างทาง
( Quality Control System : QCS. ) โดยมีส�ำนักวเิ คราะห์ วจิ ยั และพัฒนา ( สวว. ) เปน็ เจ้า
ภาพหลกั ทำ� หนา้ ทใี่ หค้ ำ� แนะนำ� สนบั สนนุ และออกตดิ ตามประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ ง ตลอดจน
การแก้ไขปรับปรงุ และพฒั นากระบวนงานควบคมุ คุณภาพวสั ดุและงานกอ่ สรา้ งทาง QCS. ให้
มคี วามกระชบั และรดั กมุ เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการดำ� เนนิ งานดา้ นการควบคมุ คณุ ภาพใหอ้ ยเู่ กณฑ์
มาตรฐาน และมีการพัฒนาดา้ นคุณภาพอย่างตอ่ เนอื่ งในทกุ ๆ ปี
ซึ่งในปงี บประมาณ 2564 กเ็ ช่นเดียวกนั ถงึ
แม้ว่าจะมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือโควิค
( Covid-19 ) สวว.กไ็ ม่สามารถท่จี ะหยุดหรือลดการ
ควบคมุ และตรวจสอบลงได้ ยงั คงใหค้ วามสำ� คญั ในการ
ติดตามตรวจสอบและควบคุมคุณภาพในงานก่อสร้าง
ที่กรมดำ� เนนิ การตามระบบ QCS ไปพร้อมๆ กับการ
ปฏิบัติตามมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
covid-19 อย่างเคร่งครัดอีกด้วย ท้ังน้ีก็เพ่ือสร้าง
มาตรฐาน ความม่ันใจให้กับผู้รับบริการและประชาชน
ผู้ใช้เส้นทางของกรมทางหลวงชนบท

32 รายงานประจ�ำปี 2564
ส�ำนกั วิคราะห์ วิจัยและพฒั นา

สรุปผลประเมินการปฏบิ ตั ิงานตามระบบ QCS รายสำ� นกั

หนว่ ยดำ� เนินการ ระดับสถานะ
คะแนน สถานะ
สำ� นกั งานทางหลวงชนบทที่ 1 (ปทมุ ธานี) 96.09 คะแAน+น
สำ� นกั งานทางหลวงชนบทท่ี 2 (สระบุร)ี
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทท่ี 3 (ชลบรุ ี) 97.50 A+
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทท่ี 4 (เพชรบุร)ี
ส�ำนกั งานทางหลวงชนบทที่ 5 (นครราชสีมา) 96.03 A+
สำ� นกั งานทางหลวงชนบทท่ี 6 (ขอนแกน่ ) 94.83 A
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทท่ี 7 (อบุ ลราชธานี) 92.69 A
ส�ำนกั งานทางหลวงชนบทที่ 8 (นครสวรรค)์ 97.81 A+
ส�ำนกั งานทางหลวงชนบทที่ 9 (อุตรดติ ถ์) 95.07 A+
สำ� นกั งานทางหลวงชนบทท่ี 10 (เชียงใหม่) 96.81 A+
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทท่ี 11 (สุราษฎรธ์ าน)ี 96.11 A+
สำ� นกั งานทางหลวงชนบทท่ี 12 (สงขลา)
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทที่ 13 (ฉะเชิงเทรา) 99.31 A+
สำ� นักงานทางหลวงชนบทท่ี 14 (กระบ่)ี 91.27 A
ส�ำนักงานทางหลวงชนบทที่ 15 (อดุ รธาน)ี 93.74 A
ส�ำนกั งานทางหลวงชนบทที่ 16 (กาฬสนิ ธ)์ุ 98.56 A+
สำ� นกั งานทางหลวงชนบทที่ 17 (เชียงราย) 90.47 A
ส�ำนกั งานทางหลวงชนบทท่ี 18 (สพุ รรณบุรี) 96.55 A+
99.29 A+
ภาพรวมทัง้ 18 ส�ำนกั 96.65 A+
94.42 A
95.73 A+

สรปุ ภาพรวมผลประเมินการปฏบิ ัติงานตามระบบ QCS 92
(รอบ 12 เดือน ตุลาคม2563 - กนั ยายน 2564
หนว่ ย
ระดบั สถานะ A+
27
ระดับคะแนน > 95
หนว่ ย
ระดบั สถานะ A
9
ระดบั คะแนน 90-94.99
หนว่ ย
ระดบั สถานะ B+
2
ระดับคะแนน 85-89.99
หน่วย
ระดับสถานะ B

ระดับคะแนน 50-84.99

ANNUAL REPORT 2021 33

Bureau of testing, Research and Development

ภาพ : สวว.การบรู ณารว่ มกับ สบร. ทดสอบประสิทธภิ าพเคร่อื งจกั ร
บจก. สรวยี ์ คอนสตรคั ช่นั สาย ปข.1042 แยก ทล.4-
บา้ นหนิ เทิน อ.เมอื ง จ.ประจวบคีรขี ันธ์

ภาพ : สวว.การบูรณาร่วมกบั สบร. ทดสอบประสิทธิภาพเครอ่ื งจกั ร บจก. โชคดีวิศวภณั ฑ์
สายทาง สพ.3062 ต.บ่อสุพรรณ อ.สองพี่น้อง จ.สพุ รรณบรุ ี

ภาพ : สวว.การบรู ณารว่ มกบั สบร. ทดสอบประสิทธิภาพเคร่อื งจักร
หจก. ตราดคอนกรีต สายทาง ตร.4013 แยกทล.3157-บา้ นตากาด
อเมอื ง,เขาสมงิ จ.ตราด โดยมี ผอ.ขทช.ตราดร่วมสงั เกตกุ ารณด์ ้วย

34 รายงานประจำ� ปี 2564
สำ� นักวคิ ราะห์ วิจยั และพัฒนา

เบคูรรณอ่ื งาจกกัารรทเพดสอ่ื อมบาตปรรฐะสานิท(เธดCิภยี aาวlพibกrนั ation )

การทดสอบประสทิ ธิภาพเครื่องจกั รเปน็ อีกหน้าทีห่ นึ่งของ สวว.ใน

การกำ� กบั ควบคมุ และตรวจสอบ เพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานกอ่ สรา้ งเปน็ มาตรฐานตาม
เดียวกนั ตามที่กรมทางหลวงชนบทกำ� หนดไว้ โดย สวว. จะบูรณาการการทำ� งาน
ร่วมกับเจ้าหน้าที่หรือผู้ควบคุมงานของหน่วยงานในสงั กดั เชน่ สำ� นกั บำ� รงุ ทาง ฯ
โดย สวว. จะทำ� การสอบเทยี บ ( Calibrate ) เครื่องจักร เพอื่ ปรับแกค้ ่าการปลอ่ ย
หรอื จา่ ยอตั ราสว่ นผสมวสั ดุ อยา่ งเชน่ ปนู ซเี มนต์ นำ้� ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ ำ� หนดหรอื
ออกแบบไว้ เพอื่ สรา้ งความมั่นใจว่าอุปกรณ์เครือ่ งจกั รน้ันจะยังคงทำ� งานไดอ้ ย่าง
ดที สี่ ุดและเป็นไปตามมาตรฐานสากล

หลงั การสอบเทยี บ( Calibrate ) เครอ่ื งจกั รแลว้ จะให้ทำ� แปลงทดสอบ
และใช้เครือ่ ง Nuclear Density Gaure ทดสอบความแนน่ จากแปลงทดสอบ

ในสนามวา่ ได้มาตรฐานตามทีก่ �ำหนดหรือออกแบบไวห้ รือไม่ หาก
ยงั ไมไ่ ดต้ ามมาตรฐานทอี่ อกแบบไวก้ จ็ ะทำ� การปรบั ตง้ั คา่ ใหมจ่ นกวา่
จะได้ ท�ำการจัดเกบ็ ตวั อยา่ งวสั ดุในสนามและน�ำกลบั ไปทดสอบใน
ห้องปฏิบตั กิ ารอีกครัง้ หนงึ่

การตรวจสอบประสิทธภิ าพเคร่อื งจักร สวว. มีช่างสอบ
เทยี บที่ผา่ นการฝกึ สอนใช้งานจนมคี วามช�ำนาญ มีประสบการณ์
ในเรอื่ งการทดสอบเคร่อื งจกั รแตล่ ะประเภทเปน็ อยา่ งดี จงึ เป็นที่
มนั่ ใจในคุณภาพของการให้บริการสอบเทียบ( Calibrate ) เพือ่
เปน็ การควบคมุ มาตรฐานของเครอื่ งจกั รที่ใชง้ าน จึงท�ำให้ผลงาน
กอ่ สรา้ งของกรมทางหลวงชนบทเปน็ ทย่ี อมรบั จากผรู้ บั บรกิ าร
และหน่วยงานต่างๆ จนมีความเชื่อม่ันและไว้วางใจใน
ประสิทธิภาพและการทำ� งานของเคร่ืองจักรเหล่าน้ันว่าสามารถ
ทำ� งานได้ถูกตอ้ ง แมน่ ยำ� คมุ้ ค่า และมีผลเป็นไปตามมาตรฐาน
สากล
ซ่ึงในปีงบประมาณ 2564 ที่ผ่านมา สวว.ให้บริการ
สอบเทียบเครอื่ งจกั ร ( Calibrate ) แบบบูรณาร่วมกบั หนว่ ยงาน
อื่นในสงั กดั กรมฯ รวมทั้งส้ิน 43 โครงการ

ANNUAL REPORT 2021 35

Bureau of testing, Research and Development

จากวิจัยและค้นคว้า

สู่ถนนทดลองเพื่อความยั่งยืน

หนึ่งในภารกิจหลักของสำ� นกั วเิ คราะห์ วิจัยและพฒั นา คอื การศกึ ษา ค้นควา้ วิจัย

เพ่ือแก้ไขปัญหาหรือพัฒนางานก่อสร้างของกรมทางหลวงชนบทให้มีคุณภาพ มีความคุ้มค่า
ประชาชนผูใ้ ชเ้ ส้นทางสามารถใชง้ านทางหลวงชนบทได้อย่างสะดวก รวดเรว็ ปลอดภยั ท่ผี ่าน
มา สวว.ไดศ้ กึ ษาปญั หาทเ่ี กดิ กบั ทางหลวงชนบทในรปู แบบตา่ งๆ กนั ตงั้ แตป่ ญั หาชน้ั โครงสรา้ ง
ทางไปจนถงึ ปญั หาชน้ั ผวิ ทาง การเกบ็ ตวั อยา่ งมาวเิ คราะห์ ทดลอง ทดสอบภายในหอ้ งปฏบิ ตั ิ
การทม่ี กี ารจำ� ลองสภาวะแวดลอ้ ม ทงั้ บรรยากาศ อณุ หภมู ิ ความชน้ื การกดั กรอ่ น ไปจนถงึ การ
เปลี่ยนแปลงอย่างเฉยี บพลันของสภาพแวดลอ้ ม เช่น ฝนุ่ ฝน แสงอาทิตย์ ฯลฯ โดยเคร่ือง
มือที่ทันสมัยและผู้เชี่ยวชาญท่ีมีความรู้และมีประสบการณ์จนมีความมั่นใจในผลการทดลอง
ในห้องปฏิบัติการและน�ำไปทดลองก่อสร้างเป็นถนนทดลองในหลายๆ พ้ืนที่เพื่อให้เห็นแรง

ภาพ : การตรวจรับงานโครงการถนนทดลอง
สาย นม.4057 จ.นครราชสมี า

36 รายงานประจ�ำปี 2564
ส�ำนักวิคราะห์ วิจยั และพฒั นา

ภาพ : โครงการถนนทดลองสาย นม.4014 ที่มากระท�ำและการเปล่ียนแปลงจากสภาพแวดล้อมท่ีมีต่อถนนจริงๆ ท�ำการ
อ.เทพารกั ษ์ จ.นครราชสีมา ตดิ ตาม ตรวจสอบวดั คา่ การเปลยี่ นแปลงทกุ ๆ 3 เดอื น เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู จรงิ ท่ี
เปน็ ประโยชนต์ อ่ การนำ� มาวเิ คราะหแ์ ละพฒั นาตอ่ ยอดใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพในการ
ภาพ : การปผู วิ ทางโครงการถนนทดลองเขา้ ส่งเสรมิ ด�ำเนินงานก่อสร้างงานตามภารกิจของกรมทางหลวงชนบทต่อไปให้มากท่ีสุด
เกษตรกรฟารม์ นมโค สาย สบ.4040 จ.สระบรุ ี หรอื การนำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดไ้ ปปรบั แกเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ซำ�้ ซากให้
หมดไป ซงึ่ ในปงี บประมาณทผี่ า่ นมา สวว.ไดด้ ำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งถนนทดลองผวิ
ภาพ : การกดั ผวิ ทางโครงการถนนทดลองเข้าสแู่ หล่ง ทางในพนื้ ทีต่ ่างๆ กันทั้งในพน้ื ที่ทเี่ ป็นเส้นทางเข้าสู่แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว พน้ื ที่เขต
ทอ่ งเทยี่ วถ�ำล้ ะว้าสาย กจ.4018 จ.กาญจนบุรี อตุ สาหกรรมทมี่ รี ถบรรทกุ หนกั ปรมิ าณมาก พน้ื ทใี่ นเขตเมอื งหรอื ชมุ ชน พนื้ ท่ี
ส่งเสริมหรือกระกอบอาชีพทางการเกษตร ไปแลว้ รวม 7 แหง่ ดงั น้ี
1 โครงการถนนทดลองผิวทางแอสฟลัต์คอนกรีตผสมขยะพลาสติก
สาย ปท.3026 แยกทางหลวงหมายเลข 305 - บ้านหนองแค(ตอนสระบุรี)
อ.หนองแค จ.สระบรุ ี
2 โครงการถนนทดลองงานปรบั ปรงุ โครงสรา้ งทางแบบในท่ชี นิดผสม
ปนู ซีเมนต์และยางแอสฟัลตอ์ มิ ัลชั่น สาย นม.4014 แยกทางหลวงหมายเลข
2217-บ้านกดุ สระแกว้ อ.ด่านขุนทด,เทพารักษ์ จ.นครราชสีมา
3 โครงการถนนทดลองงานปรับปรงุ โครงสรา้ งทางแบบในท่ีชนิดผสม
ปนู ซเี มนตแ์ ละยางแอสฟลั ตอ์ มิ ลั ชนั่ สาย นม.4057 ทางหลวงหมายเลข 2285-
บา้ นหนองบวั วง อ.ประทาย,เมืองปวง,ลำ� ทะเมนชัย จ.นครราชสีมา
4 โครงการถนนทดลองแก้ไขคันทางทรุดตัวสาย อย.1043 แยก
ทางหลวงหมายเลข 1-บา้ นข้าวงาม อ.วงั นอ้ ย จ.พระนครศรอี ยธุ ยา
5 โครงการถนนทดลอง HOT MIX In- Plant Recyling สาย สบ.
4044 แยกทางหลวงหมายเลข 3520-บา้ นหนองศรบี ญุ อ.หนองแค จ.สระบรุ ี
6 โครงการถนนทดลองงานปรบั ปรุงโครงสรา้ งทางแบบในทีช่ นิดผสม
ปูนซีเมนต์และยางแอสฟัลต์อิมัลชั่นสาย สบ.4045 แยกทางหลวงหมายเลข
3520-บ้านคชสทิ ธิ์ อ.หนองแค จ.สระบรุ ี
7 โครงการถนนทดลองถนนสาย กจ.6067 บ้านถำ้� -บา้ นไผส่ ามเกาะ

ANNUAL REPORT 2021 37

Bureau of testing, Research and Development

โครงการเจาะสำ�รวจชั้นดิน
เพื่องานก่อสร้างสะพาน
และทางทั่วประเทศ(Soil Boring Test)

ภาพ : ผอ.กล่มุ ยุทศาสตร์ ลงพน้ื ที่ตดิ ตามการเจาะส�ำรวจชนั้ ดนิ กลางแมน่ �้ำท่าจีน บริเวณวัดกกตาล
อ.นครชยั ศรี จ.นครปฐม

ภาพ : ติดตามการเจาะส�ำรวจชัน้ ดินรมิ ตลิง่ บริเวณวดั ราชชา้ งขวัญ จ.พิจติ ร การเจาะสำ� รวจชน้ั ดินนับวา่ มคี วาม

ภาพ : ผอ.กลุ่มยทุ ศาสตร์ ลงพื้นทีพ่ บประชาชนเขพอื่ สอบถามขอ้ มูลและสรา้ งการมีส่วนรว่ ม สำ� คญั มากในงานวศิ วกรรมเพราะเปน็ ขอ้ มลู
การเจาะสำ� รวจช้ันดนิ กลางแมน่ �ำ้ นา่ น จ.พจิ ติ ร ส�ำคัญที่ใช้ประกอบในการออกแบบฐานราก
หรอื งานโครงสรา้ งอนื่ ๆ ซ่ึงการเจาะบนพน้ื
38 รายงานประจำ� ปี 2564 ดินน้ันมีความยากง่ายแตกต่างกันไปตาม
สำ� นักวคิ ราะห์ วิจัยและพฒั นา พน้ื ทีๆ่ ต้องการเจาะสำ� รวจแตท่ ย่ี ากไปกวา่
นัน้ คอื การเจาะส�ำรวจชั้นดนิ (Soil Boring
Test) กลางน�้ำ ซึ่งต้องอาศัยผู้ที่มีความ
รู้มีประสบการณ์และความช�ำนาญในการ
เจาะส�ำรวจเป็นอย่างมาก เพราะหากขาด
ความช�ำนาญแล้วนอกจากไม่ได้ข้อมูลท่ีเป้
นประโยชนแ์ ลว้ อาจตอ้ งเสยี เครอื่ งมอื ทห่ี ลน่
หายลงไปในแม่นำ้� ดว้ ย
ในปีงบประมาณท่ีผ่านมา สวว. ได้
ว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาเจาะสำ� รวจช้ันดินเพ่ือ
ออกแบบงานสะพานและทางโดยกลุ่มปฐพี
วศิ วกรรมไดม้ อบหมายใหผ้ ทู้ มี่ คี วามรู้ ความ
เชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ในการเจาะ

ภาพ : ตดิ ตามการเจาะสำ� รวจช้ันดนิ กลางแม่น�้ำนา่ น
บรเิ วณวัดราชช้างขวญั อ.เมอื ง จ.พิจติ ร

สำ� รวจชัน้ ดิน(Soil Boring Test)ตดิ ตาม ก�ำกับและตรวจ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดพจิ ิตร
สอบการดำ� เนนิ งานของบรษิ ทั ทป่ี รกึ ษาเพอื่ ไดข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง โครงการก่อสรา้ งสะพานข้ามแม่น้�ำปากพนงั
ครบถว้ นมา สนบั สนุนการออกแบบฐานรากของสะพานและ ต�ำบลปากแพรก อำ� เภอปากพนงั จังหวดั นครศรีธรรมราช
ถนนในงานตามภารกิจกรมทางหลวงชนบท สรปุ ได้ดังนี้ โครงการกอ่ สรา้ งสะพานขา้ มห้วยทบั ทนั บา้ น
งานเจาะสำ� รวจชน้ั ดนิ เพอื่ ออกแบบกอ่ สรา้ งสะพานและ หนองสะมอน/กุดง้ิว ต�ำบลเมอื งหลวง/หมืน่ ศรี อำ� เภอ
ทางท่ัวประเทศรวม 137 โครงการ 50 จังหวัด ห้วยทับทนั จงั หวัดศรีสะเกษ/สรุ ินทร์จงั หวัดสุรนิ ทร์
รวม 211 หลุม
เจาะส�ำรวจรมิ ตลิ่ง 206 หลุม
เจาะสำ� รวจช้ันดนิ กลางแม่น�้ำ 5 หลุม
ไดแ้ ก่
โครงการกอ่ สร้างสะพานขา้ มคลองสรรพสามติ ร
(บา้ นศาลาแดง) ตำ� บลแหลมฟา้ ฝา่ อำ� เภอพระสมทุ รเจดยี ์
จงั หวดั สมทุ รปราการ
โครงการกอ่ สร้างสรพานข้ามแมน่ ำ�้ นตรชยั ศรี
ชว่ งระหว่างต�ำบลงวิ้ รายข้ามฝง่ั ไปยงั ต�ำบลสมั ปทวน
อ�ำเภอนครชยั ศรี จังหวดั นครปฐม
โครงการก่อสรา้ งสะพานขา้ มแม่นำ้� น่านบรเิ วณ
วัดราชช้างขวัญ ม.1 บ้านราชช้างขวัญ ต�ำบลปากทาง ภาพ : ผอ.กลุ่มยทุ ศาสตร์ ลงพน้ื ที่ติดตามการเจาะส�ำรวจชน้ั ดินกลางคลองสรรพสามติ ร
อ.พระสมุทรเจดยี ์ จ.สมทุ รปราการ
39
ANNUAL REPORT 2021

Bureau of testing, Research and Development

โครงการแกไ้ ขปญั หาคนั ทางทรดุ ตวั ของถนนแตกรา้ วเปน็ ระยะๆด้วยสภาพถนนเดมิ ท่มี คี วาม
สาย นบ.5036 แยกทางหลวง เสีย่ งสงู ต่อการวิบัติ อนั เน่ืองจากลักษณะทางกายภาพท่ี
ชนบท นบ 3004 – บา้ นลาดบัว เป็นถนนเลียบคลองบนพ้ืนท่ีดินอ่อน และจากร่องรอย
หลวง อ.ไทรน้อย, ลาดบัวหลวง แตกรา้ วที่ปรากฏบนผิวทาง ดังนั้น หนว่ ยงานในพืน้ ทจี่ ึง
จ.นนทบุรี ไดด้ ำ� เนนิ การซอ่ มสรา้ งดว้ ยการเสรมิ กำ� ลงั ใหแ้ กค่ นั ทางใน
ลักษณะกอ่ สร้างเป็นกำ� แพง คสล ตลอดบริเวณท่ีมีร่อง
ส�ำนกั วิเคราะห์ วิจยั และพฒั นา กรมทางหลวงชนบท รอยการแตกร้าวท่ีประเมินแล้วว่าค่อนข้างเสี่ยงสูงช่วง
ปลายเดือนพฤษภาคม 2564 ระดับนำ�้ ในคลองขุนศรีได้
ได้รับข้อมูลจากแขวงทางหลวงชนบทนนทบุรีว่า สาย นบ. ลดลงอย่างรวดเร็ว เน่ืองจากเป็นช่วงปลายของฤดูแล้ง
5036 แยกทางหลวงชนบท นบ.3004 – บ้านลาดบัวหลวง และเป็นชว่ งต้นของฤดูฝน แต่ฝนยงั ไม่ตก จึงท�ำให้ระดบั
อ.ไทรนอ้ ย,ลาดบวั หลวง จ.นนทบรุ ี ซึ่งอยูร่ ะหว่างการซ่อมสร้าง นำ�้ ในคลองชลประทานลดลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เจน และถนน
พบวา่ เกดิ ปญั หาคนั ทางทรดุ ตวั เปน็ ระยะทางประมาณ 100 เมตร ซ่ึงอยู่ในระหว่างด�ำเนินการซ่อมสร้างในข้ันตอนการตอก
ในช่วง กม. 12+200 เสาเขม็ นนั้ ไดว้ บิ ตั ใิ นชว่ งเวลาดงั กลา่ วจากการตรวจสอบ
สภาพพนื้ ที่ คณะทำ� งานจงึ ไดร้ ว่ มกนั วางแผนและกำ� หนด
กลมุ่ ปฐพวี ศิ วกรรม สำ� นกั วเิ คราะห์ วจิ ยั และพฒั นา ไดเ้ ข้า ต�ำแหน่งการติดต้ังเครื่องมือเพ่ือความเหมาะสมในการ
ดำ� เนินการตรวจสอบดว้ ยวิธี Resistivity Survey รว่ มกับการ ดำ� เนนิ การสำ� รวจและจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทางธรณวี ทิ ยาและการ
เจาะสำ� รวจดนิ ด้วยวิธี Wash Boring และ Screw Driving เจาะส�ำรวจช้นั ดนิ ให้เหมาะสม ดังน้ี
Sounding Test เพอ่ื หาสาเหตขุ องการวบิ ตั แิ ละแนะนำ� แนวทาง
การแก้ไขปญั หา จากการลงพื้นทสี่ �ำรวจ สามารถอธบิ ายสภาพ ภาพ : การเจาะส�ำรวจดินดว้ ยวธิ ี Screw Driving Sounding Test
ภูมิประเทศและสภาพหน้างานโดยทั่วไปพอสังเขป ดังนี้สายทาง
ดังกล่าวเป็นถนนเลียบคลองชลประทาน (คลองขุนศรี) โดย จดุ ท ี่
ล�ำคลองขนาบข้างทางของถนนเกือบตลอดสายทาง และเป็น
พนื้ ทเี่ กษตรกรรมและชมุ ชนตลอดสายทาง และบางชว่ งมรี อ่ งรอย

ตาราง ตำ� แหนง่ การสำ� รวจและจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทา’ธรณวี ทิ ยาและการเจาะ
จดุ ที่ แนวส�ำรวจ ลักษณะความเสยี หาย
Resistivity Survey
1 ชว่ ง กม.11+900 ถึง กม.12+300 ถนนเสียหาย
2 ชว่ ง กม.14+900 ถึง กม.15+100 ถนนไม่เสียหาย
เจาะสำ� รวจดนิ ด้วยวิธี Wash Boring
1 กม.12+050 ถนนเสยี หาย
Screw Driving Sounding Test
1 กม.12+050 ถนนเสยี หาย
ภาพ : (ชถป่วนลงนาเยกรเ่ิมมดว.ือิบน1ัต2ิใ+พน0.ชค0่ว.0ง2รถ5ะึงห64วก)่ามง.ก1า2ร+ซ2่อ0ม0สร้าง 2 กม.12+100 ถนนเสียหาย

40 รายงานประจ�ำปี 2564
ส�ำนกั วิคราะห์ วจิ ยั และพฒั นา

ทขภSสhวอ้ดาพวeสม)aอูลr3บร.ะ2TบFeบi:setผlGdล(IฐกSVาา,นaรne

จากข้อมูลการส�ำรวจดินด้วยวิธี Vane Shear Test และ
Screw Driving Sounding Test พบว่ากำ� ลงั ดนิ ใกล้เคยี งกบั
ที่ผอู้ อกแบบประเมนิ ไว้ กล่าวคอื Su ประมาณ 16 kPa (หรือ
ประมาณ C = 1.6 T/m2) ดังแสดงในรปู ที่ 3.2 และคณะท�ำงาน
ภาพ : การส�ำรวจวัดสภาพความตา้ นทานไฟฟ้าชว่ ง กม 12+000 ถงึ กม.12+200

ไดส้ รปุ คา่ Sensitivity ทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบ Field Vane shear
test ของดนิ บรเิ วณดงั กลา่ วดังแสดงในรปู ซง่ึ พบว่าดินบริเวณ
ดังกล่าวมีค่า Sensitivity สูงกว่า 4 ซึ่งประเมินได้ว่าเป็นดิน
เหนยี วทีม่ คี วามไวตวั คอ่ นข้างสงู และเมือ่ ถูกรบกวน ก�ำลังของ
ดินในบริเวณน้ีจะลดลงต�่ำลงอย่างชัดเจน โดยเฉพาะช่วงระดับ
ความลกึ 2 ถึง 8 เมตร
เมือ่ วเิ คราะหด์ ้วยวิธี Finite Element ด้วยโปรแกรม
PLAXIS 2D พบวา่ ในกรณีของถนนเดมิ กอ่ นการซ่อมสร้าง พบ
วา่ เมือ่ ระดับน้�ำลดลงต�่ำ ถนนอยู่ในสภาวะค่อนข้างวิกฤติ (FS =
ภาพ : ผลการวิเคราะห์ยอ้ นกลับ กรณีดนิ ได้รบั การรบกวนอย่างหนกั และได้เสรมิ กำ� ลงั 1.117) ซึ่งสอดคล้องกับสภาพท่ีเกิดข้ึนท่ีหน้างานที่พบว่าถนนมี
ด้วยเสาเขม็ คสล

ความเสีย่ ง โดยสังเกตได้จากรอยแตกร้าวที่ผวิ ทางอย่างชัดเจน
สำ� หรบั แนวทางการแกไ้ ข คณะทำ� งานไดว้ เิ คราะหเ์ พอ่ื ใชเ้ ปน็
แนวทางในการแก้ไขปัญหาในเบือ้ งตน้ ไว้ 3 รปู แบบ และผลการ
วิคราะห์ไดแ้ สดงไวใ้ นรปู ที่ 3.6 เพื่อใหห้ นว่ ยงานในพืน้ ท่ีได้น�ำไป
ภาพ : การเจาะสำ� รวจดินด้วยวิธี Wash Boring ประยกุ ตใ์ ช้ โดยใหข้ น้ึ อยกู่ บั วจิ ารณญาณของผอู้ อกแบบเปน็ หลกั

กรณนี ้ำ� ลดลงตำ่�
เสรมิ ก�ำลังด้วยเสาเข็ม 1 แถว เสรมิ กำ� ลงั ด้วยเสาเขม็ 3 แถว S-0.22 เสริมกำ� ลังด้วยเสาเขม็ 4 แถว S-0.22
ใช้เสาเข็ม S-0.40 FS = 1.17 ไม่ผ่าน TIP -10m @1.5x1.0 m TIP -10m @1.5x1.0 m
ทเ่ี หลือนำ� มาตัดเหลอื 9 ม เสริมก�ำลัง ระดบั น�ำ้ เท่ากับวนั ที่วบิ ัติ FS = 1.301 ระดบั น�้ำแห้งคลอง FS = 1.245
@ 1m

ABuภNrาพeaN3u.6oUf: tAผeลsกLtาinรวgิเ,คRรRาeะEหsแ์ ePนaวrOทcาhงRแaกnไ้TขdปญัDหe2าve0lop2me1nt 41

โครงการแก้ไขปัญหา ทางลอดในสายทาง ชร.
5023 จ.3 ผังเมืองรวมเชียงราย (หน้าสนาม
บินนานาชาติ แม่ฟ้าหลวง) จ.เชียงราย โดยการ
สำ�รวจและวิเคราะห์ชั้นดิน แนวที่ 2 บริเวนริมถนนฝง่ั ซ้าย ชว่ ง กม.ที่ 15+250
สำ� นกั ทางหลวงชนบทที่ 17 (เชียงราย) ได้ประสบ – 15+450 พบว่าจากระดบั ผิวจราจรถงึ ระดบั ความลกึ 3--
ปญั หาอโุ มงค์มปี รมิ าณน�ำ้ ไหลเขา้ โรงสูบน�ำ้ มาก ซ่งึ สทช.17 ได้ 10 เมตร ค่าความตา้ นทานไฟฟา้ อยรู่ ะหว่าง 40 – 200
ด�ำเนินการแก้ไขอุดปิดช่องระบายน�้ำตามแบบของส�ำนักส�ำรวจ ohm.m คาดวา่ เปน็ ชั้นดินทรายแหง้ โดยบริเวณดา้ นขวา
และออกแบบ ในบางส่วนแลว้ ปรากฏว่ายังมีการไหลของน้ำ� ใน ของแนวส�ำรวจ ชั้นดินทรายมีลักษณะค่อนข้างแห้งกว่า
จดุ ใหม่ๆ เป็นจ�ำนวนมาก อกี ทัง้ ปริมาณน้ำ� ทไี่ หลเข้าโรงสูบน้ำ� มี ด้านซ้ายอย่างชดั เจน จากน้นั พบค่าความตา้ นทานไฟฟา้ ต�่ำ
ปริมาณเท่าเดิม และมีการรั่วซึมบริเวณผิวถนนและขอบร่องน�้ำ กวา่ 40 ohm.m จะเปน็ ช้นั ทรายชุ่มน้ำ� หรอื ชั้นน�้ำใต้ดิน
ด้านขา้ ง
สำ� นกั วเิ คราะห์ วิจยั และพัฒนา ไดเ้ ขา้ พน้ื ท่สี ำ� รวจและ ภาพ : แนวท่ี 2 บริเวนรมิ ถนนฝ่งั ซา้ ย ช่วง กม.ที่ 15+250 – 15+450

ก�ำหนดหาแนวส�ำรวจส�ำหรับติดตั้งเครื่องมือเพ่ือวัดค่าความ
ตา้ นทานไฟฟา้ (Resistivity Survey) ในบรเิ วณดงั กลา่ ว โดยได้
เขา้ ด�ำเนนิ การส�ำรวจทง้ั สน้ิ 4 แนวสำ� รวจ โดยต�ำแหนง่ ของการ
ส�ำรวจแต่ละแนว วิเคราะห์การส�ำรวจด้วยวิธีวัดสภาพต้านทาน
ไฟฟา้ (Resistivity survey) และ สามารถประมวลผลออกมา
เป็น Model Resistivity Section ดงั น้ี
แนวที่ 1 บริเวนริมถนนฝัง่ ซ้าย ชว่ ง กม.ท่ี 14+970
– 15+170 พบว่าจากระดับผิวจราจรถงึ ระดบั ความลึก 10-15
เมตร ค่าความตา้ นทานไฟฟ้าอยู่ระหวา่ ง 40 – 200 ohm.m
คาดวา่ เปน็ ชั้นดินทรายแหง้ จากระดบั ความลึกท่ี 15 เมตรลงไป แนวท่ี 3 บริเวณฝั่งขวาของถนนในพื้นที่สนามบิน
คา่ ความต้านทานไฟฟ้าต�ำ่ กว่า 40 ohm.m คาดวา่ เปน็ ชั้นทราย ช่วง กม.ที่ 15+250 – 15+450 ห่างจากขอบถนน
ชุ่มน�้ำและช้ันนำ�้ ใตด้ ิน ประมาณ 25 เมตร พบวา่ จากระดบั ผวิ ดนิ ถงึ ระดับความ
ลึก1-3 เมตร ค่าความต้านทานไฟฟ้าอยู่สูงกว่า 600
ohm.m คาดว่าเป็นช้ันดินทรายแห้งหรือช้ันดินทราย
ค่อนข้างหลวม และจากช้ันดินดังกล่าวจนถึงความลึก
ประมาณ 30 เมตร คา่ ความตา้ นทานไฟฟ้าอยูร่ ะหวา่ ง
40 – 200 ohm.m พบวา่ เปน็ ชนั้ ดินทรายค่อนข้างแหง้
จากนั้นจะเป็นช้นั ทรายชุ่มน�้ำ หรือชน้ั นำ้� ใต้ดนิ ท่ีความลกึ
มากกว่า 30 เมตรจากผิวดนิ ซึ่งคา่ ความตา้ นทานไฟฟ้า
ต่ำ� กว่า 40 ohm.m

42ภาพ : แนวทรส่ี 1ำ�าบนยรเิักวงนวราคิิมถนรนานปฝะห่งัรซ์ า้ ะยจชวำ�่วงิจปกยั มี แ.2ทลี่ 1ะ45พ+ฒั9670น4–า15+170

ภาพ : แนวท่ี 4 บริเวณฝั่งขวาของถนนในพื้นท่ีสนามบิน ช่วง กม.ที่ 15+070 –
15+170 ห่างจากขอบถนนประมาณ 25 เมตร
ภาพ : วิศวกรใหญ่ ทวี แสงสุวรรณโณ ผส.วว..ลงพ้ืนท่ตี รวจสอบและใหค้ ำ� แนะนำ�

ภาพ : แนวท่ี 3 บริเวณฝัง่ ขวาของถนนในพืน้ ทสี่ นามบิน ช่วง กม.ท่ี 15+250 – แนวท่ี 4 บรเิ วณฝงั่ ขวาของถนนในพื้นทส่ี นามบนิ ช่วง
15+450 ห่างจากขอบถนนประมาณ 25 เมตร กม.ที่ 15+070 – 15+170 ห่างจากขอบถนนประมาณ
25 เมตร พบวา่ ค่าความตา้ นทานไฟฟ้าอยรู่ ะหวา่ ง 40
– 400 ohm.m คาดว่าเปน็ ช้ันดินทรายแห้งคอ่ นขา้ งลกึ
จากน้ันจะเป็นช้ันทรายชุ่มน�้ำ หรือชั้นน�้ำใต้ดินท่ีความลึก
มากกว่า 20 เมตรจากผวิ ดนิ ซงึ่ คา่ ความต้านทานไฟฟา้
ตำ�่ กวา่ 40 ohm.m

ANNUAL REPORT 2021 43

Bureau of testing, Research and Development

ภาพ : วศิ วกรใหญ่ ทวี แสงสวุ รรณโณ ผส.วว..ลงพื้นท่ตี รวจสอบและใหค้ ำ� แนะนำ�

44 รายงานประจ�ำปี 2564
ส�ำนกั วคิ ราะห์ วิจยั และพฒั นา

จากผลการทดสอบพบทางธรณีฟิสกิ สด์ ้วยวธิ วี ดั สภาพต้านทาน
ไฟฟา้ (Resistivity survey) ทำ� ใหส้ ามารถคาดได้ว่า ระดบั น้�ำใตด้ ินลด
ลงต�ำ่ เมอื่ ผา่ นพน้ ทางลอด ดงั นน้ั มคี วามเป็นไปได้สงู วา่ ระดับทล่ี ด
ตำ่� ลงนนั้ มกี ารไหลรวั่ เขา้ สทู่ างลอด อกี ทงั้ ในทางลอดนนั้ มรี ะบบระบายนำ้�
โดยการปม้ั นำ�้ ออก ซึง่ คณะทำ� งานมีความเห็นวา่

ภาพ : แสดงผลการทดสอบ Resistivity Survey เพือ่ ป้องกันไม่ให้น้ำ� ไหลส่ทู างลอดมากเกินไป จึงควรปรับปรุงพ้ืนรวมทัง้
ฝง่ั ตรงขา้ มกับสนามบนิ ทางลอดใหม้ ีคณุ สมบัตทิ บึ น้ำ� มากขน้ึ ซง่ึ สามารถกระท�ำไดห้ ลายวิธี เช่น
- การก่อสรา้ งพน้ื ให้มคี วามหนามากขึน้
- การปรับปรุงคุณภาพดนิ รอบขา้ งทางลอดดว้ ย
สารเคมีเพ่ือเพ่ิมความทึบนำ�้ ใหแ้ กด่ ินโดยรอบทางลอด
- ทำ� การอุดทอ่ SUB DRAINED เดมิ เพอ่ื ปอ้ งกันไม่ใหน้ ้ำ� ไหล

ออกมาหรอื ใหน้ ำ�้ ไหลออกมานอ้ ยท่ีสดุ
- ควรต่อปลายทอ่ ท่ีระบายน้�ำออกจากทางลอดเพอ่ื สง่ กระแสน้�ำ

ให้ไหลออกไปไกลจากบรเิ วณทางลอดเพอ่ื ป้องกันมใิ ห้น้ำ� ไหล
ยอ้ นคนื สูท่ างลอด

ภาพ : แสดงผลการทดสอบ Resistivity Survey ฝงั่ สนามบนิ

ANNUAL REPORT 2021 45

Bureau of testing, Research and Development

คณะท�ำงานได้ส�ำรวจทางธรณีเทคนิคด้วยวิธี คณะท�ำงานได้ส�ำรวจทางธรณีเทคนิคด้วยวิธี

โครงการแก้ไขปัญหา ทางหลวงชนบทสาย อย.
3011 จ.พระนครศรีอยุธยา

จากความเสยี หายทีเ่ กดิ ข้นึ สามารถสรุปไดด้ งั น้ี
ลักษณะทางกายภาพของถนนพบว่าเป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจร กว้าง
ประมาณ 8-12 เมตร ซ่ึงพบรอยแตกร้าวและร่องรอยการซ่อมถนนเป็น
ช่วงๆ โดยเฉพาะช่วง กม. 7 ถึง กม. 9 จากการส�ำรวจในภาคสนาม
พบว่าคันทางค่อนข้างสูง เน่ืองด้วยกรมชลประทานได้ยกระดับความสูง
ของถนนข้ึนอย่างน้อย 1.50 เมตร เพื่อใช้เป็นคันก้ันน�้ำป้องกันพ้ืนท่ี
เกษตรกรรม โดยมคี วามลกึ ของคูน�ำ้ (ความสูงของของคนั ทาง) ประมาณ
ภาพ : ความเสียหายทีเ่ กดิ ขึ้น ของสาย 4.00 ถึง 5.00เมตร และมีความชันของลาดคันทางท่ีประมาณ 1:1.5

(V:H) ซึ่งภายหลังการยกระดับความสูงซึ่งแล้วเสร็จในปี2562 น้ัน ถนน
สายทางนี้โดนร้องเรียนจากผู้ใช้เส้นทางว่า มีหลุมบ่อ และผิวจราจรเสีย
หายอยู่เป็นประจ�ำ ดังแสดงในรูปที่ 1 กรมทางหลวงชนบทตระหนักถึง
ปัญหาดังกล่าว จึงมอบหมายให้ส�ำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา เป็นผู้
ตรวจสอบความเสยี หาย รวมทง้ั แนะนำ� แนวทางการแก้ไขอย่างยั่งยืนต่อไป
คณะทำ� งานไดส้ �ำรวจทางธรณีเทคนิคด้วยวิธตี า่ งๆ ดังน้ี
1. สำ� รวจด้วย Resistivity Survey ง่ึ ด�ำเนนิ การเป็นระยะทาง

รวม 4,500 เมตร โดยแบ่งออกเป็นช่วงๆ ตามลักษณะความเสียหาย
2. การเจาะส�ำรวจดนิ ด้วยวิธี Wash Boring จำ� นวน 2 จดุ ใน
บริเวณทีค่ าดว่าจะเป็นจดุ ทีก่ �ำลังดินตำ่� ทีส่ ุด (บรเิ วณท่พี บวา่ มีชั้นทคี่ ่าความ
ตา้ นทานไฟฟ้าต�่ำ และหนาท่สี ดุ ) ซึ่งไดแ้ ก่ 7+000ถงึ 7+400 และ ชว่ ง
กม. 8+200 ถงึ 8+500
3. การวเิ คราะห์ด้วยวธิ ี Finite Elem
entMethod ด้วยโปรแกรม PLAXIS 2D ซึ่ง
วิเคราะห์เสถียรภาพของคนั ทางในปจั จุบนั ในช่วง
กม. 8 เนอื่ งด้วยเป็นช่วงทม่ี ีความเสย่ี งสงู ท่ีสดุ เมอ่ื
พจิ ารณาจากลักษณะทางกายภาพและธรณวี ิทยาของ
พื้นท่ี ซงึ่ ขอ้ มลู การสำ� รวจจาก ขทช.อย. พบว่า มี
ความลึกด้านซา้ ยทางประมาณ 4.5 ม. และด้านขวา
ท ขวาทางประมาณ 4.0 ม.
ซง่ึ สวว. วิเคราะห์ใน 2 กรณี คือ

46 รายงานประจ�ำปี 2564
ส�ำนกั วคิ ราะห์ วจิ ัยและพฒั นา

กรณีนำ้� หลาก โดยดา้ นซา้ ยทางระดบั น้ำ� จะเต็มคนั
ทางแต่ขวาทางแหง้ ซึง่ เป็นกรณที มี่ ีความเส่ียงต่อ
การวิบัติมากทสี่ ุด
4. การทดสอบความแขง็ แรงและความหนา
ของช้นั โครงสรา้ งทางดว้ ยวธิ ี Falling Weigth
Deflectometer ซง่ึ ทดสอบทุกระยะ 100 เมตร
5. การทดสอบความหนาของวสั ดแุ ตล่ ะชน้ั
ดว้ ยวธิ ี Ground penetrating radar ตลอดสาย
ทาง

ภาพ : Model ท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์



สรุปผลการทดสอบ และมขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี
1. ดา้ นเสถียรภาพลาดคนั ทาง
ภาพ : Resistivity Survey ภาพ : WashBoring - ในบริเวณทีม่ เี ขตทางเพียงพอ

สวว แนะนำ� ให้ก่อสรา้ ง Berm โดยให้มีความสูง
ของคันทางดา้ นขวาไม่เกินกว่า 3.0 ม. ตลอดแนว
ช่วง กม. 7 ถงึ กม. 15
- ในบริเวณทม่ี เี ขตทางจ�ำกัด
สวว แนะน�ำใหใ้ ช้การเสริมกำ� ลังดว้ ยเสาเข็ม S –
ภาพ : Ground penetrating radar ภาพ : Falling Weigth Deflectometer 0.22x0.22 ยาวไม่นอ้ ยกวา่ 14 ม จำ� นวน 5 แถว

2. ด้านการรบั น้ำ� หนกั และความแขง็ แรงของโครงสร้างคนั ทางและผวิ ทางควรดำ� เนินการในการปรับปรุงซ่อม
สรา้ งและคืนสภาพ ไดแ้ ก่
- ในชว่ งทมี่ ชี นั้ Subgrade มคี วามแขง็ แรงเพยี งพอ ใหซ้ อ่ มโดยวธิ ี Pavement In-Place Recycling
- ในช่วงที่มีชนั้ Subgrade ไม่แข็งแรงเพียงพอ วิธี Reconstruction
3. น�ำข้อมลู ทม่ี อี ย่ไู ปออกแบบด้วยวิธี Mechanistic Design เพ่อื ความเหมาะสมกับการรบั นำ้� หนกั
บรรทุกต่อไป
ANNUAL REPORT 2021 47

Bureau of testing, Research and Development

การสำ�รวจหาวัตถุหรือ
โครงสร้างใต้ดินแบบไม่ทำ�ลาย
Ground Penetrating

การสำ� รวจหาวตั ถทุ างธรณีวทิ ยาฟิสกิ สส์ ว่ นใหญ่

มักใช้หาวัตถุหรือโครงสร้างท่ีอยู่ใต้ดินในระดับลึกมากๆ แต่ใน
การส�ำรวจพื้นดินระดับต้ืนก็มีการท�ำกันอย่างแพร่หลายด้วยวิธี
Ground Penetrating Radar (GRP)เปน็ วธิ กี ารสำ� รวจทาง
วศิ วกรรมธรณฟี สิ ิกส์โดยใช้

มีการเริ่มการติดต้ังโครงการจะมีการเขียนแผนผังแนวท่อ
รวมถึงการติดต้ังป้ายเครื่องหมายแสดงแนวท่อท่ีท�ำการ
ติดต้ัง แต่เม่ือเวลาผา่ นไปเมอื่ มกี ารซอ่ มแซม การขยายและ
สรา้ งถนนใหม่ ท�ำให้ข้อมูลท่ีมีอยู่ไม่เป็นปัจจุบัน ส่งผลต่อ
การท่ีจะขดุ หรือซอ่ มแซม จึงจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารขอขอ้ มูลและ
คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ (Electromagnetic Wave) ในการตรวจสอบ การยนื ยนั แนวท่อหรือวตั ถุใตด้ ิน จากหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
สภาพใต้ดินในระดับตื่นโดยให้ผลภาพที่มีความละเอยี ดสงู วธิ ี เพอ่ื ปอ้ งกนั ความเสยี หายทเ่ี กดิ จากการขดุ หรอื การตอกเสาเขม็
การสำ� รวจดว้ ยGPR ไดป้ ระสบผลส�ำเร็จอย่างกว้างขวางในการ ซง่ึ ความเสยี หายดงั กลา่ วจะมมี ลู คา่ ความเสยี หายทคี่ อ่ นขา้ ง
ประยุกต์ใช้งานเพื่อจัดท�ำแผนที่ของโครงสร้างธรณีวิทยา สงู จงึ ทำ� การใหก้ ารระบตุ ำ� แหนง่ และการยนื ยนั แนวของการ
ตลอดจนถึงเพื่อใช้ตรวจสอบโครงสร้างคอนกรีต GPR วางระบบ สาธาณปู โภคในชนั้ ใต้ดินมีความสำ� คญั มากขน้ึ
เป็นเคร่ืองมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการใช้งานส�ำรวจใต้
พื้นดินอยา่ งละเอียด และยงั ถูกใชง้ านในกระบวนการควบคมุ สำ� นกั วิเคราะห์ วิจยั และพัฒนาได้น�ำเครื่อง GPR
คณุ ภาพในงานวศิ วกรรมกอ่ สร้าง เช่น ระบบสาธารณปู โภค มาใช้ในการค้นหาวัตถุใต้ผิวทาง ซ่ึงสามารถหาได้ทั้งแบบท่ี
ท่ีในปัจจุบันมักถูกติดตั้งอยู่ใต้ดินอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งในอดีตเม่ือ เป็นโลหะและไม่ใช่โลหะ เช่น ท่อคอนกรีต ท่อเหล็กหรือ
วตั ถโุ บราณ เปน็ วธิ กี ารสำ� รวจหาโครงสรา้ งทางธรณวี ทิ ยา
ของวตั ถใุ ตด้ นิ หรอื โครงสรา้ งภายในถนนทางวศิ วกรรมโยธา
ที่นิยมใช้กัน เป็นการทดสอบหรือค้นหาแบบไม่ท�ำลาย
(Non-destructive testing) หรอื กค็ อื ไม่สง่ ผลใดๆ ต่อ
พื้นผิวของถนน ช่วยลดเวลา และเป็นการใช้เทคนิคทาง
วศิ วกรรมที่มีราคาไมแ่ พงเมื่อเทียบกบั เทคนิคอ่นื ๆ
48 รายงานประจำ� ปี 2564
สำ� นกั วิคราะห์ วิจยั และพัฒนา

ขอ้ ดขี องการสำ� รวจดว้ ยเครื่อง GPR
1.ครอบคลมุ พน้ื ทก่ี ารสำ� รวจไดก้ วา้ ง โดยใชเ้ ครอ่ื ง

GPR แบบมือลากหรือแบบตดิ ลอ้
2.เกบ็ ขอ้ มลู ได้สะดวกรวดเร็ว
3.ในการสำ� รวจจะให้ความละเอยี ดสูง
4.สามารถกำ� หนดความลึกของการสำ� รวจได้
5.แสดงผลกราฟฟิกจากการสำ� รวจไดร้ วดเรว็
6.ใหผ้ ลภาพทีม่ ีความละเอยี ดสูง

ขอ้ จำ� กดั ของการส�ำรวจด้วยเครอ่ื ง GPR
1.การเก็บข้อมูลอาจจะล่าช้าในพ้ืนท่ีส�ำรวจท่ีมี

ลกั ษณะภมู ิประเทศคอ่ นข้างลำ� บาก
2.ความลึกจะถกู จ�ำกดั ในวสั ดุท่ีมคี ่าการนำ�

ไฟฟา้ ที่สูง เช่น ดินเหนยี ว
3.ไมเ่ หมาะสำ� หรบั พนื้ ทีท่ ีม่ แี นวสายไฟใตด้ ิน
4.ไม่เหมาะทำ� การส�ำรวจขณะฝนฟ้าคะนอง
5.ไม่เหมาะในการส�ำรวจใกล้เสาส่งสญั ญาณ

หรือเสาไฟฟ้าแรงสูง จะส่งผลให้เกิดสัญญาณรบกวน
ขณะทำ� การสำ� รวจ ทำ� ใหอ้ า่ นแปลความหมายของขอ้ มลู
ในการส�ำรวจไม่ได้
อย่างไรก็ดีการส�ำรวจด้วยเครื่อง GPR เป็น
เทคนิควิธีการส�ำรวจหาโครงสร้างธรณีวิทยาของการหา
วัตถุใต้ดินหรือโครงสร้างภายในถนนทางวิศวกรรมโยธา
ท่ีท�ำให้สามารถยังรู้ถึงวัตถุที่อยู่ใต้ดินสามารถหลบเลี่ยง
และลดการทำ� ลายสงิ่ เหลา่ นน้ั เชน่ ทอ่ คอนกรตี ทอ่ เหลก็
หรือ วตั ถุโบราณ ลงได้ในระดบั หนง่ึ ช่วยใหเ้ กดิ ความคุ้ม
คา่ ในการกอ่ สรา้ งแบบไมท่ ำ� ลายทรพั ยใ์ นดนิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ANNUAL REPORT 2021 49

Bureau of testing, Research and Development

ภาพ : การประชุมการมีส่วนรว่ มภาคประชาชนและผู้นำ� ทอ้ งถนิ่ โครงการถนนทดลองสาย นม.3012 อ.ดา่ นขนุ ทด,เทพารกั ษ์ จ.นครราชสมี า ณ. อบต.วังยายทอง
ภาพ : การประชุมการมีสว่ นรว่ มกบั หน่วยงานท้องถนิ่ อบต.วังนอ้ ย

สาย อย. 1043 อ.วงั นอ้ ย จ.พระนครศรีอยธุ ยา ณ.อบต วังน้อย

50 รายงานประจ�ำปี 2564
สำ� นักวคิ ราะห์ วจิ ยั และพัฒนา


Click to View FlipBook Version