The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ.2535

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bellmakhamnxy, 2019-01-16 02:19:38

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535

รายงาน พระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ.2535

รายงาน
เร่ือง พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535

จดั ทาโดย
นางสาว จนั ทร์ทรี แสงแดง เลขท่ี 9
นาวสาว อภญิ ญา สถติ วริ ิยะกลุ เลขที่ 25
ระดบั ช้ัน ปวส. 1/4 สาขาวชิ าการบญั ชี

นาเสนอ
อาจารณ์ ชนาภา ขากล่อม

รายงานชิ้นนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวชิ ากฎหมายธุรกจิ รหัสวชิ า 3200-9001
ปี การศึกษา 2/2561
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง

ความหมายและลกั ษณะของโรงงาน

ความหมายของโรงงาน

พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ.2535 ไดก้ าหนดความหมายของโรงงานไวด้ งั น้ี

“โรงงาน” หมายความวา่ อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเ้ ครื่องจกั รมีกาลงั รวมต้งั แต่หา้ แรงมา้ หรือ
กาลงั เทียบเท่าต้งั แต่หา้ แรงมา้ ข้ึนไป หรือใชค้ นงานต้งั แต่เจด็ คนข้ึนไปโดยใชเ้ ครื่องจกั รหรือไม่กต็ าม
สาหรับทา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลาเลียง เกบ็ รักษา หรือทาลาย
สิ่งใดๆ ท้งั น้ี ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานท่ีกาหนดในกฎกระทรวง

ความหมายของเคร่ืองจักร

พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ.2535 ไดก้ าหนดความหมายของเครื่องจกั รไวด้ งั น้ี

“เคร่ืองจกั ร” หมายความวา่ ส่ิงท่ีประกอบดว้ ยชิ้นส่วนหลายชิ้นสาหรับก่อใหเ้ กิดพลงั งาน เปล่ียนหรือแปลง
สภาพพลงั งาน หรือส่งพลงั งาน ท้งั น้ี ดว้ ยกาลงั น้า ไอน้า ลม ก๊าซ ไฟฟ้า หรือพลงั งานอ่ืนอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง
หรือหลายอยา่ งรวมกนั และหมายความรวมถึงเคร่ืองอุปกรณ์ไฟวีล ปลุ เล สายพาน เพลา เกียร์ หรือสิ่งอ่ืนท่ี
ทางานสนองกนั

ความหมายของคนงาน 3.คนงาน

พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 ไดก้ าหนดความหมายของคนงานไวด้ งั น้ี

“คนงาน” หมายความวา่ ผซู้ ่ึงทางานในโรงงาน ท้งั น้ีไม่รวมถึงผซู้ ่ึงทางานฝ่ าย
ธุรการ

1.โรงงาน

2.เครื่องจักร

จาพวกของโรงงาน

กฎกระทรวงกาหนดใหโ้ รงงานตามประเภทชนิดหรือขนาดใดเป็นโรงงานจาพวกท่ี 1 โรงงานจาพวกที่ 2
หรือโรงงานจาพวกท่ี 3 แลว้ แต่กรณี โดยคานึงถึงความจาเป็นในการควบคุมดูแล การป้องกนั เหตุเดือดร้อน
ราคาญ การป้องกนั ความเสียหาย และการป้องกนั อนั ตรายตามระดบั ความรุนแรงของผลกระทบที่มีต่อ
ประชาชนหรือสิ่งแวดลอ้ ม โดยพจิ ารณาไดเ้ ป็นดงั น้ี

1. กาหนดโดยพจิ ารณาที่เครื่องจกั รเพยี งอยา่ งเดียวเช่นโรงงานลาดบั ท่ี 3 (2) ถา้ มีกาลงั เครื่องจกั รหา้
แรงมา้ ข้ึนไปกจ็ ดั เป็นโรงงานจาพวกท่ี 3 ทุกขนาด

2. กาหนดโดยพจิ ารณาที่คนงานเพยี งอยา่ งเดียว เช่นโรงงานลาดบั ที่ 23
3. กาหนดโดยพจิ ารณาท้งั เคร่ืองจกั รและคนงาน เช่นโรงงานลาดบั ที่ 97
4. กาหนดโดยพจิ ารณาจากปัญหามลพิษที่จะเกิดข้ึนจากการประกอบกิจการ เช่นโรงงานลาดบั ที่ 98

ซ่ึงกาหนดท่ีมีหรือไม่มีการฟอก ยอ้ มสี
5. กาหนดโดยพจิ ารณาที่ลกั ษณะประเภทหรือชนิดของโรงงาน เช่น โรงงานลาดบั ที่ 104 เป็นโรงงาน

จาพวกท่ี 3 ทุกขนาด หรือลาดบั ที่ 3(5) เป็นโรงงานจาพวกที่ 2 ทุกขนาด หรือลาดบั ที่ 96 เป็น
โรงงานจาพวกท่ี 1 ทุกขนาด
ท้งั น้ีรายละเอียดใหด้ ูบญั ชีทา้ ยกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) กฎกระทรวงฉบบั ที่ 15 (พ.ศ. 2544) และ
กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 16 (พ.ศ. 2545) และกฎกระทรวงฉบบั ท่ี 17 (พ.ศ. 2549) ประกอบการพจิ ารณา ดว้ ย

ตัวอย่างท่ี 1 โรงงานสีขา้ วใชเ้ คร่ืองจกั รมีกาลงั รวม 300 แรงมา้ มีคนงาน 30 คน และไม่มีการใชห้ มอ้ ไอน้า

จดั เป็นโรงงาน ลาดบั ที่ 9 (1) จาพวกที่ 3

อธิบาย : - โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกบั เมลด็ พืช หรือหวั พืช อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง หรือหลายอยา่ ง จดั เป็น
ประเภทหรือชนิดของโรงงาน ลาดบั ท่ี 9

- การสีขา้ ว จดั เป็นการประกอบกิจการใน (1) ของประเภทหรือชนิดของโรงงานลาดบั ที่ 9

- กาลงั เคร่ืองจกั รรวม 300 แรงมา้ หรือคนงาน 30 คน และไม่มีการใชห้ มอ้ ไอน้าอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง
ท้งั น้ีกาลงั เคร่ืองจกั รเกิน 50 แรงมา้ อยใู่ นขนาดโรงงานจาพวกท่ี 3 แลว้ จึงจดั เป็นโรงงานจาพวกท่ี 3

ตัวอย่างท่ี 2 อู่ซ่อมรถยนตใ์ ชเ้ คร่ืองจกั รมีกาลงั รวม15 แรงมา้ มีคนงานจานวน 2 คน

จดั เป็นโรงงานลาดบั ที่ 95(1) จาพวกที่ 3

อธิบาย : - โรงงานประกอบกิจการเก่ียวกบั ยานท่ีขบั เคลื่อนดว้ ยเคร่ืองยนต์ รถพว่ ง จกั รยานสามลอ้ จกั รยาน
สองลอ้ หรือส่วนประกอบของยานดงั กล่าว อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ ง จดั เป็นประเภทหรือชนิดของ
โรงงาน ลาดบั ที่ 95

- การซ่อมรถยนต์ จดั เป็นการประกอบกิจการใน (1) ของประเภทหรือชนิดของโรงงานลาดบั ที่ 95

- ถึงแมว้ า่ จะมีกาลงั เคร่ืองจกั รรวม 15 แรงมา้ หรือคนงาน 2 คน กต็ าม โรงงานปะเภทน้ีกฎกระทรวง
พ.ศ. 2535 กาหนดใหเ้ ป็นโรงงานจาพวก 3 ทุกขนาด

การควบคุมการประกอบกจิ การโรงงาน

ใหร้ ัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมมีอานาจออกกฏกระทรวง เพ่อื ใหโ้ รงงานจาพวกใดจาพวกหน่ึง
หรือทุกจาพวกตอ้ ง ปฏิบตั ิตามในเร่ืองต่อไปน้ี(เฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกบั อากาศเสีย)

(1) กาหนดหลกั เกณฑเ์ กี่ยวกบั ที่ต้งั ของโรงงานสภาพแวดลอ้ มของโรงงาน ลกั ษณะอาคารของโรงงานหรือ
ลกั ษณะภายในของโรงงาน

(2) กาหนดลกั ษณะ ประเภทหรือชนิดของเครื่องจกั รอุปกรณ์ หรือสิ่งท่ีตอ้ งนามาใชใ้ นการประกอบกิจการ
โรงงาน

(3) กาหนดใหม้ ีคนงานซ่ึงมีความรู้เฉพาะตามประเภท ชนิดหรือขนาดของโรงงาน เพอ่ื ปฏิบตั ิหนา้ ที่หน่ึง
หนา้ ท่ีใดประจาโรงงาน

(4) กาหนดหลกั เกณฑท์ ี่ตอ้ งปฏิบตั ิกรรมวธิ ีการผลิตและการจดั ใหม้ ีอุปกรณ์หรือเครื่องมืออ่ืนใดเพ่ือป้องกนั
หรือระงบั หรือบรรเทาอนั ตราย ความเสียหายหรือความเดือดร้อนที่อาจเกิดแก่บุคคลหรือทรัพยส์ ินท่ีอยใู่ น
โรงงาน หรือท่ีอยใู่ กลเ้ คยี งกบั โรงงาน

(5) กาหนดมาตรฐานและวธิ ีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพษิ หรือสิ่งใดๆ ท่ีมีผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม
ซ่ึงเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน

(6) กาหนดการจดั การใหม้ ีเอกสารท่ีจาเป็นประจาโรงงาน เพื่อประโยชน์ในการควบคุม หรือตรวจสอบการ
ปฏิบตั ิตามกฏหมาย

(7)กาหนดขอ้ มูลที่จาเป็นเก่ียวกบั การประกอบกิจการโรงงานที่ผปู้ ระกอบกิจการ โรงงานตอ้ งแจง้ ใหท้ ราบ
เป็น คร้ังคราวหรือตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้

(8) กาหนดการอื่นใดเพ่อื คุม้ ครองความปลอดภยั ในการดาเนินงาน เพอ่ื ป้องกนั หรือระงบั หรือบรรเทา
อนั ตราย หรือความเสียหายท่ีเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน

ผใู้ ดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ิตามกฏกระทรวง หรือประกาศของรัฐมนตรีท่ีออกตามกฏกระทรวงที่ออกตาม
มาตรา 8 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ(8) ตอ้ งระวางโทษ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท (มาตรา 45)

การกากบั และดูแลโรงงาน

มาตรา 32 เพ่ือประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ความมน่ั คงความปลอดภยั ของ
ประเทศหรือของสาธารณชน ใหร้ ัฐมนตรีโดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรีมีอานาจกาหนดโดยประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาในเรื่องดงั ต่อไปน้ี

(1) กาหนดจานวนและขนาดของโรงงานแต่ละประเภทหรือชนิดท่ีจะใหต้ ้งั หรือขยาย หรือท่ีจะไมใ่ หต้ ้งั หรือ
ขยายในทอ้ งท่ีใดทอ้ งท่ีหน่ึง

(2) กาหนดชนิด คุณภาพ อตั ราส่วนของวตั ถุดิบ แหล่งกาเนิดของวตั ถุดิบและหรือปัจจยั หรือชนิดของ
พลงั งานที่จะนามาใชห้ รือผลิตในโรงงาน

(3) กาหนดชนิดหรือคุณภาพของผลิตภณั ฑท์ ่ีผลิตในโรงงานท่ีจะใหต้ ้งั หรือขยาย

(4) กาหนดใหน้ าผลผลิตของโรงงานที่จะใหต้ ้งั หรือขยายไปใชใ้ นอุตสาหกรรมบางประเภท หรือใหส้ ่งผล
ผลิตออกนอกราชอาณาจกั รท้งั หมดหรือบางส่วน

มาตรา 33 ถา้ โรงงานจาพวกที่ 2 หรือโรงงานจาพวกที่ 3 หยดุ ดาเนินงานติดต่อกนั เกินกวา่ หน่ึงปี ผู้
ประกอบกิจการโรงงานจาพวกท่ี 2 หรือผรู้ ับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 3 แลว้ แต่กรณี ตอ้ ง
แจง้ เป็นหนงั สือใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ีทราบภายในเจด็ วนั นบั แต่วนั พน้ กาหนดหน่ึงปี

ถา้ บุคคลดงั กล่าวตามวรรคหน่ึงประสงคจ์ ะประกอบกิจโรงงานต่อไป ใหแ้ จง้ เป็นหนงั สือให้
พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ทราบก่อนเริ่มประกอบกิจการและถา้ เป็นโรงงานจาพวกท่ี 3 จะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตเป็น
หนงั สือจากพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีเสียก่อนแลว้ จึงประกอบกิจการโรงงานไดใ้ นการใหป้ ระกอบกิจการโรงงาน
จาพวกท่ี 3 ต่อไปน้นั ใหน้ ามาตรา 15 วรรคสอง และมาตรา 16 มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม

มาตรา 34 ในกรณีมีอุบตั ิเหตุในโรงงานเน่ืองจากโรงงานหรือเครื่องจกั รของโรงงานไม่วา่ จะเป็น
กรณีของโรงงานจาพวกใด ถา้ อุบตั ิเหตุน้นั

(1) เป็นเหตุใหบ้ ุคคลถึงแก่ความตาย เจบ็ ป่ วยหรือบาดเจบ็ ซ่ึงภายหลงั เจด็ สิบสองชว่ั โมงแลว้ ยงั ไม่สามารถ
ทางานในหนา้ ที่เดิมได้ ใหผ้ ปู้ ระกอบกิจการโรงงานแจง้ เป็นหนงั สือใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่ทราบภายในสาม
วนั นบั แต่วนั ตาย หรือวนั ครบกาหนดเจด็ สิบสองชวั่ โมงแลว้ แต่กรณี

(2) เป็นเหตุใหโ้ รงงานตอ้ งหยดุ ดาเนินงานเกินกวา่ เจด็ วนั ใหผ้ ปู้ ระกอบกิจการโรงงานแจง้ เป็นหนงั สือให้
พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีทราบภายในสิบวนั นบั แต่วนั เกิดอุบตั ิเหตุเม่ือเกิดอุบตั ิเหตุในโรงงานใดตามวรรคหน่ึง ให้
พนกั งานเจา้ หนา้ ที่เขา้ ไปตรวจโรงงานและเครื่องจกั รและพจิ ารณาดาเนินการตามมาตรา 37 หรือมาตรา 39
แลว้ แตก่ รณี

มาตรา 35 เพือ่ ปฏิบตั ิการใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ีมีอานาจดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) เขา้ ไปในโรงงานหรืออาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะท่ีมีเหตุควรสงสยั วา่ จะประกอบกิจการโรงงานใน
เวลาระหวา่ งพระอาทิตยข์ ้ึนถึงพระอาทิตยต์ กหรือในเวลาทาการของสถานท่ีดงั กล่าว เพอ่ื ตรวจสภาพ
โรงงาน อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ สภาพเครื่องจกั ร หรือการกระทาใดที่อาจเป็นการฝ่าฝืนบทบญั ญตั ิ
แห่งพระราชบญั ญตั ิน้ี

(2) นาตวั อยา่ งผลิตภณั ฑท์ ี่สงสยั เกี่ยวกบั คุณภาพในปริมาณพอสมควรเพอื่ ตรวจสอบคุณภาพพร้อมกบั
เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง

(3) ตรวจ คน้ กกั ยดึ หรืออายดั ผลิตภณั ฑ์ ภาชนะบรรจุ สมุดบญั ชี เอกสารหรือส่ิงใดๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง ในกรณีที่
มีเหตุสงสยั วา่ การประกอบกิจการของโรงงานอาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายแก่บุคคลหรือทรัพยส์ ินท่ีอยใู่ นโรงงาน
หรือที่อยใู่ กลเ้ คียงกบั โรงงาน หรือมีการกระทาผดิ ต่อพระราชบญั ญตั ิน้ี

(4) มีหนงั สือเรียกบุคคลใดมาใหถ้ อ้ ยคาหรือใหส้ ่งเอกสารหรือวตั ถุใดมาเพื่อประกอบการพจิ ารณาได้

มาตรา 36 เม่ือปรากฏวา่ บุคคลใดกระทาความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี หรือมีเหตุอนั ควรสงสยั วา่
กระทาการเช่นวา่ น้นั ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ีซ่ึงแต่งต้งั จากขา้ ราชการไม่ต่ากวา่ ระดบั 4 มีอานาจจบั กมุ ผนู้ ้นั
เพ่อื ส่งพนกั งานสอบสวนดาเนินการต่อไปตามกฎหมาย

มาตรา 37 ในกรณีท่ีพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีพบวา่ ผปู้ ระกอบกิจการโรงงานผใู้ ดฝ่ าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ิตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี หรือการประกอบกิจการโรงงานมีสภาพท่ีอาจก่อใหเ้ กิดอนั ตราย ความเสียหายหรือความ
เดือดร้อนแก่บคุ คลหรือทรัพยส์ ินที่อยใู่ นโรงงานหรือท่ีอยใู่ กลเ้ คยี งกบั โรงงาน ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่มี

อานาจสงั่ ใหผ้ นู้ ้นั ระงบั การกระทาท่ีฝ่ าฝืนหรือแกไ้ ขหรือปรับปรุงหรือปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ งหรือเหมาะสม
ภายในระยะเวลาที่กาหนดได้

การเลกิ ประกอบกจิ การโรงงาน

ถา้ ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรม ประสงคจ์ ะเลิกประกอบกิจการตอ้ งดาเนินการ ดงั น้ี
1. ผรู้ ับอนุญาตตอ้ งยนื่ คาขอและช้ีแจงเหตุผลต่อผอู้ นุญาต ผอู้ นุญาตสามารถมีหนงั สือสงั่ ใหย้ กเลิก
2. การเลิกประกอบกิจการโรงงานจาพวกที่ 2 ตอ้ งแจง้ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่ทราบภายใน 30 วนั นบั แต่วนั
เลิกประกอบกิจการ
3. การเลิกประกอบกิจการโรงงานจาพวกท่ี 3 เลิกประกอบกิจการโรงงานตอ้ งแจง้ เป็นหนงั สือต่อผอู้ นุญาต
ภายใน 15 วนั นบั ต้งั แตว่ นั เลิกประกอบกิจการโรงงาน
การดาเนินคดีกบั ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมไม่ปฏิบตั ิตามคาสง่ั ของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี
เจา้ หนา้ ท่ีหรือพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี สามารถสงั่ ดาเนินคดีกบั โรงงานไดท้ ้งั 3 จาพวก ถึงแมว้ า่ โรงงานจาพวกท่ี
1 และ 2 ไม่ตอ้ งขออนุญาตต้งั โรงงานกต็ ามนอกจากน้นั กฎหมายใหม่ยงั ใหอ้ านาจพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี มี
อานาจเขา้ ตรวจโรงงานหรือเรียกบุคคลใดมาใหถ้ อ้ ยคา หรือส่งเอกสาร มีอานาจสง่ั แกไ้ ขปรับปรุงโดยมี
อานาจจบั กมุ ผกู้ ระทาผดิ พ.ร.บ. โรงงาน และที่สาคญั มีอานาจสงั่ ใหเ้ ปรียบเทียบ โดยคณะกรรมการ
เปรียบเทียบคดีได้ โดยไม่ตอ้ งถูกฟ้องร้องต่อศาล
ในกรณีท่ีผปู้ ระกอบกิจการโรงงานทุกจาพวกไม่ปฏิบตั ิตามคาสงั่ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ประกอบกิจการอาจ
ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายแก่บุคคลหรือทรัพยส์ ินอาจถูกสงั่ ใหห้ ยดุ ประกอบกิจการโรงงาน ถูกสง่ั ปิ ดโรงงาน กรณี
เป็นโรงงานจาพวกที่ 3 สงั่ ปิ ดโรงงานเท่ากบั เป็นการเพกิ ถอนใบอนุญาตดว้ ยทนั ที

โทษทางกฎหมาย

1. กรณีโรงงานจาพวกที่ 2
หากผปู้ ระกอบกิจการโรงงานดาเนินการโดยไม่แจง้ ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ที่ทราบตามหลกั เกณฑ์ ท่ี

กาหนดไว้ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

2. กรณโี รงงานจาพวกท่ี 3
หากผใู้ ดประกอบกิจการโรงงานโดยไม่ไดร้ ับใบอนุญาต หรือต้งั โรงงาน โดยไม่ไดร้ ับใบอนุญาตตาม

หลกั เกณฑท์ ่ีกาหนดไว้ ตอ้ งระวางโทษจาคุก 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
การประกอบกิจการโรงงานในระหวา่ งท่ีมีคาสงั่ หยดุ ประกอบกิจการหรือภายหลงั ที่มีคาสงั่ ประกอบโรงงาน
จะตอ้ งระวางโทษจาคุก 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท และยงั ตอ้ งถูกปรับรายวนั อีก วนั ละ 5,000 บาท


Click to View FlipBook Version