เรื่องราวชาวปิดทองPIDTHONG WEEKLY มกราคม 2565 ฉ บั บ ที่ 1 4
ข่ า ว ส า ร ภ า ย ใ น อ ง ค์ ก ร - ทุ ก ค ว า ม เ ค ลื่ อ น ไ ห ว - เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น - เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น
MOVE OFFICE
ย้ายสำนักงานอย่างเป็นทางการ
31 ม.ค.65 ชาวปิดทองทุกคนเตรียม
พร้อมเข้าทำงานที่สำนักงานแห่งใหม่
อาคาร RCP ชั้น 2 แยกรัชโยธิน การ
เดินทางโดยรถไฟฟ้า สามารถลงได้ 2
สถานี คือ BTS สถานีพหลโยธิน และ
สถานีรัชโยธิน
เสนอ 139 โครงการพั ฒนา เชิญชวนชาวปิดทองรับฟัง
แหล่งน้ำขนาดเล็ก 9 จังหวัด เสวนาออนไลน์
ลุ่มน้ำมูล เพื่ อขอให้กรม
ทรัพยากรน้ำ จัดทำคำของบ "อยู่รอดและยั่งยืน หลังโควิด"
ประมาณปี 2566 อุดหนุนให้
ปิดทอง ดำเนินการ - เรียนรู้ประสบการณ์ ผู้ที่ประสบปัญหาจากโควิด-19 จาก
ตัวจริงหลากหลายอาชีพ ก้าวข้ามปัญหา ศึกษา ปรับตัว
สรุปผลการสำรวจลุ่มน้ำมูล เพื่ อเสนอ ค้นพบอาชีพใหม่
โครงการไปยังกรมทรัพยากรน้ำ ได้ - รับฟังผลการศึกษา โครงการคิดใหม่...ไทยก้าวต่อ
จำนวน 132 โครงการ กรอบงบ คนไทยต้องปรับตัวอย่างไรหลังจากนี้ การขับเคลื่อน
ประมาณ 39.53 ล้านบาท โดยทีม เศรษฐกิจและสังคมไทยจะเป็นไปในทิศทางไหน
งานที่แข็งแกร่งได้กรอกรายละเอียด - รับฟังแนวคิดเพื่อการปรับตัว นำไปต่อยอดพัฒนา
ตามแบบฟอร์มของกรมทรัพยากรน้ำ ตนเองและชุมชนให้ยั่งยืนตามแนวพระราชดำริ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม แล้วเสร็จเรียบร้อยตามเป้า ในวันพุธ ที่ 12 มกราคม 2565 (09.00-12.00น.)
พร้อมกันทาง FB FANPAGE
มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
ยกระดับกระจูดโคกยามู-พรุกาบแดง ต่อยอดผลิตภัณฑ์สู่สากล"
ปิดทองหลังพระฯจับมือศูนย์ศึกษาการพั ฒนาพิ กุลทองฯเดินหน้าพั ฒนาผลิตภัณฑ์กระจูด พื้ นที่ชายแดนใต้
ยกระดับ คุณภาพสู่สินค้าโอทอป ผลักดันผลงานกระจูดบ้านโคกยามู- พรุกาบแดง ส่งออกตลาดต่างประเทศ
นางสาววัชชีรา หามะ ชาวบ้านโคกยามู-พรุกาบ นอกจากนี้ปิดทองหลังพระฯ ยังประสานบริษัทเอกชน
แดง ต.ไพรวัลย์ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส สมาชิกกลุ่ม เข้ามาช่วยรับซื้อ ชิ้นงานกระจูดจากชาวบ้าน พร้อมทั้งนำ
วิสาหกิจชุมชนกระจูดนาราบาฮาเกีย เผยว่าอาชีพ ตัวอย่างมาให้ทางกลุ่มสมาชิกผลิตชิ้นงานตามที่ตลาด
หลักของชาวบ้านจะทำสวนยางพารา หลังกรีดยาง ต้องการ ส่งผลให้ที่ผ่านมาสมาชิกแต่ละรายมีรายได้เสริม
เสร็จจะใช้เวลาว่างนำกระจูด ซึ่งมีมากในพื้ นที่พรุกาบ จากการขายชิ้นงานที่ทำมาจากกระจูดเฉลี่ยเดือนละ
แดงมาสานเสื่อรูปแบบธรรมดาแบบพื้ นบ้าน นำมา 3,000-5,000 บาทต่อราย แม้ช่วงที่เกิดโรคระบาดของ
ใช้สอยในครัว เรือน บางส่วนจำหน่ายให้พื้ นที่ใกล้ โควิด-19 ก็ยังคงขายชิ้นงานจากกระจูดได้อย่างต่อเนื่อง
เคียงราคา 100 บาท แต่หลังจากสถาบันส่งเสริมและ
พั ฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯและเจ้าหน้าที่จาก นางสาววัชชีรา บอกต่อว่า ทั้งนี้ในอนาคตกลุ่มตั้งเป้า
ศูนย์ศึกษาการพั ฒนาพิ กุลทอง อันเนื่องมาจากพระ พั ฒนาผลิตภัณฑ์ชิ้นงานให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน โอทอป
ราชดำริ รวมทั้งปราชญ์ชาวบ้านที่ มีองค์ความรู้ มา 5 ดาว ซึ่งหากทำได้ จะสามารถขยายเพื่ อส่งออกจำหน่าย
อบรมสอนเทคนิคกรรมวิธี รูปแบบต่างๆ ชาวบ้านจึง ไปยังตลาดต่างประเทศได้ด้วย
เริ่มนำกระจูดสานออกมาเป็นรูปแบบ ลวดลายที่หลาก
หลายและเริ่มมีสีสัน ส่งผลให้ชิ้นงานเริ่มเป็นที่สนใจ กลุ่มตั้งเป้าพั ฒนาผลิตภัณฑ์
จากกลุ่มนักท่องเที่ยวมากขึ้น
ชิ้นงานให้มีคุณภาพ
ได้มาตรฐาน
ห น้ า 2