1
2
บันทกึ ขอ้ ความ
สว่ นราชการ โรงเรียนบอ่ ทองวงษ์จนั ทรว์ ิทยา อำเภอบอ่ ทอง จังหวดั ชลบรุ ี
ที่ บค 018/ 2564 วันที่ 29 มกราคม 2564
เร่ือง รายงานผลการอบรมออนไลนห์ ลกั สูตรปัญญาประดษิ ฐส์ ำหรับโรงเรยี น หลกั สตู ร ๓
บนั ท(Aกึ I for Schools Level 3)
---ข--้อ--ค--ว-า--ม-------------------------------------------------------------------------------------------------------
สเร่วยี นนราผชู้อกำานรวยการโรงเรียนบอ่ ทองวงษ์จันทรว์ ิทยา
โรงเรียนบน่อางสาวทิพวรรณ วภิ าตผลนิ ตำแหนง่ ครู โรงเรยี นบ่อทองวงษจ์ นั ทรว์ ทิ ยาสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ี
ทกอารงศวงึกษษ์ ามธั ยมศึกษา เขต 18 ได้พฒั นาตนเองโดยการเข้ารับการอบรม หลักสตู รปัญญาประดิษฐส์ ำหรบั
จโรันงทเรยีว์ นิทยหาลกั สูตร ๓ (AI for Schools Level 3) ปีการศึกษา ๒๕๖๓ หมายเลขหลักสูตร CS026 ผ่าน
อชำ่อเงภทอาบง่ออนไลน์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำนวน ๘ ชว่ั โมง เป็นหลักสูตรสำหรับ
ทคอรูผงสู้ จอังนหหวัดรอื บุคคลทว่ั ไป ซึง่ จะได้ความรเู้ กี่ยวกบั การพฒั นา AI องคป์ ระกอบ ความสามารถ และรปู แบบ
ชกลาบรตุรัดี สนิ ใจของ AI agent หลกั การของ AI ในชีวติ ประจำวนั
ท่ี วกบ1ัด4น3้ี การเขา้ รับการอบรมออนไลนไ์ ดเ้ สรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ขา้ พเจ้าขอรายงานผลการอบรมออนไลน์
/มา2เ5พ5่ือ5พัฒนาตนเอง พฒั นาผู้เรียนและพัฒนางานของหนว่ ยงานตอ่ ไป ท้งั น้ี ขา้ พเจ้าไดแ้ นบเอกสารและ
วรนัายทล่ี ะเอ8ยี ดมาพร้อมหนงั สือฉบบั นี้
พฤษภาคม
2555 จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ
เรอื่ ง
รายงานการ ลงชอ่ื
เข้ารว่ ม (นางสาวทิพวรรณ วิภาตผลิน)
ประชุมเชงิ
ปฏบิ ัตกิ าร ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ
“การพัฒนา
ศกั ยภาพ
โรงเรียน
มัธยมฯ”
----------------
----------------
----------------
----------------
----------------
----------------
----------------
---
เรียน
ผอู้ ำนวยการ
โรงเรยี นบ่อ
ทองวงษ์
3
ความเห็นของผู้ช่วยผูอ้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คลการเงนิ และสนิ ทรัพย์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ
(นางสุมาลี ผสมทรัพย์)
ผู้ช่วยผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคลการเงนิ และสินทรัพย์
ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชือ่
(นางสาวพรวภิ า มธุรส)
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบอ่ ทองวงษจ์ ันทร์วทิ ยา
ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่
(นายสมคิด กลับดี)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นพนสั พิทยาคาร รกั ษาการในตำแหน่ง
ผู้อำนวยการโรงเรียนบอ่ ทองวงษจ์ ันทร์วทิ ยา
4
หลกั สตู รอบรมออนไลน์ปัญญาประดิษฐส์ ำหรับโรงเรียน หลกั สูตร ๓
(AI for Schools Level 3)
จำนวน ๘ ช่วั โมง
หน่วยงานทีจ่ ดั การอบรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
➢ เกี่ยวกับหลักสตู ร
เปน็ หลกั สตู รทใ่ี ห้ความรู้ระดับกลางเก่ยี วกับพฒั นา AI องคป์ ระกอบ ความสามารถ และรูปแบบการ
ตัดสินใจของ AI agent หลกั การของ AI ในชวี ติ ประจำวนั
➢ เน้ือหาประกอบด้วย
เปน็ หลกั สตู รสำหรับผทู้ ่ีสนใจศึกษาความรู้ดา้ นปญั ญาประดษิ ฐ์ ประกอบด้วยหวั ข้อ
- แนะนำหลกั สตู รอบรมออนไลน์ ปญั ญาประดิษฐส์ ำหรับโรงเรยี น (AL For school)หลักสูตร 3
- หลักการทำงานของการเรยี นรขู้ องเครอื่ ง
- ขอ้ มูลในการเรยี นรูแ้ บบมีผู้สอน
- การจำแนกประเภทดว้ ยต้นไมต้ ดั สินใจ
- การถดถอยเชิงเสน้
- ผลกระทบของข้อมลู ต่อโมเดล
➢ วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
- การพฒั นา AI องคป์ ระกอบ ความสามารถและรูปแบบการตดั สินใจของ AI agent
- เขา้ ใจการนำหลักการของ AI ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน
- ตระหนกั ถึงผลกระทบข้อมูลต่อโมเดล
➢ จำนวนช่ัวโมงเรยี น
8 ช่ัวโมง
➢ เกณฑ์ผ่านการอบรม
มีคะแนนแบบฝกึ หัดและคะแนนแบบทดสอบสรุปความรู้รวมกนั ไมต่ ่ำกวา่ 80%
➢ คณุ สมบัติผู้เข้ารบั การอบรม
- เปน็ บุคคลท่วั ไป ท่สี นใจพัฒนาความร้ดู า้ น AI
- มคี วามพร้อมในการเขา้ ร่วมศึกษาและทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในระบบการอบรม จนจบหลักสูตร
- มคี วามรภู้ าษาไพทอนในระดับปานกลางข้นึ ไป
5
➢ ระยะเวลาดำเนนิ การโครงการ
เปิดชั้นเรียน 30 พฤศจกิ ายน 2563
ปดิ ชั้นเรยี น 30 มกราคม 2564
➢ ผลจากการอบรม
1. ความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ ทกั ษะ หรืออ่ืนๆ ท่ไี ดร้ ับในการอบรมนำมาเพ่ือพฒั นางาน
ของหนว่ ยงาน ดังน้ี
ข้าพเจา้ ได้รับองค์ความรูจ้ ากการเข้ารบั การอบรมออนไลน์ตามหลักสูตร หลกั สูตรอบรมออนไลน์
ปัญญาประดิษฐ์สำหรบั โรงเรยี น หลกั สตู ร ๓ (AI for Schools Level 3) ในหัวข้อ ดังต่อไปนี้
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
แนะนำหลักสตู รปญั ญาประดิษฐ์
หลกั สูตรปัญญาประดิษฐ์
1.1 แนะนำหลักสูตรปญั ญาประดษิ ฐ์ หลักสูตร 3 "ชว่ งพดู คุยก่อนเรยี น"
1. หลกั การทำงานของ การเรยี นรขู้ องเคร่อื ง
ExerciseAct1
1.1 มาร้จู กั Machine Learning กันเถอะ
1.2 ประเภทของปญั หาใน Machine Learning
1.3 ตวั อยา่ งโจทยก์ ารจำแนกประเภทข้อมูล
1.4 ตวั อย่างโจทย์การทำนายแนวโน้มของข้อมลู
1.5 กว่าจะเปน็ โมเดล Machine Learning
1.6 แบบฝกึ หัดกจิ กรรมท่ี 1
2. ขอ้ มลู ในการเรยี นรู้แบบมีผู้สอน
ExerciseAct2
2.1 การเรียนรูแ้ บบมผี สู้ อน
2.2 เวกเตอร์และการสกัดสกัดคณุ ลกั ษณะ
2.3 การคัดเลอื กคุณลักษณะ
2.4 การทำความสะอาดข้อมูล
2.5 ข้อมลู สูญหาย
2.6 กิจกรรม ลองแปลงรปู เป็นคุณลักษณะ
2.7 แบบฝึกหดั กจิ กรรมท่ี 2
3. การจำแนกประเภทด้วยตน้ ไมต้ ดั สนิ ใจ
3.1 การจำแนกประเภทด้วยต้นไมต้ ัดสินใจ
3.1.1 การจำแนกประเภทด้วยต้นไมต้ ัดสินใจ
3.1.2 ตว้ อยา่ งตดั สนิ ใจ
3.1.3 มาตรวัดการแบง่ กลุ่ม: Gini
3.1.4 อัลกอริทมึ การสรา้ งต้นไมต้ ัดสินใจ: CART
3.1.5 การกำหนดคุณสมบัติของต้นไม้ตัดสนิ ใจ
3.1.6 กิจกรรมต้นไม้ตัดสนิ ใจ
6
3.2 การประเมนิ วธิ จี ำแนก
3.2.1 การประเมนิ วธิ ีจำแนก
3.2.2 ความแมน่ ยำ
3.2.3 ตารางความถูกต้อง
3.2.4 ค่าความคา่ และความไว
3.2.5 คา่ F1-Score
3.3 แบบฝึกหดั กจิ กรรมที่ 3
ExerciseAct31
3.3.1 แบบฝกึ หัดกจิ กรรมที่ 3
3.4 การเขียนโปรแกรมต้นไม้ตดั สนิ ใจในภาษาไพทอน
ExerciseAct32
3.4.1 กิจกรรม การเขียนโปรแกรมต้นไม้ตัดสนิ ใจในภาษาไพทอน
3.4.2 แบบฝึกหดั การเขยี นโปรแกรมตน้ ไมต้ ัดสินใจในภาษาไพทอน
4. การถดถอยเชิงเส้น
4.1 การถดถอยเชงิ เส้น
ExerciseAct41
4.1.1 การถดถอยเชงิ เส้นแบบง่าย
4.1.2 การถดถอยเชิงเสน้ แบบงา่ ยสตู รตวั แปรเดียว
4.1.3 กิจกรรมลองคำนวณสมการถดถอยเชงิ เสน้ แบบง่าย
4.1.4 การถดถอยเชงิ เสน้ สูตรหลายตวั แปร
4.1.5 กิจกรรมลองเปล่ียนคา่ พารามเิ ตอร์โดยใชแ้ อปพลิเคชันสำหรับการถดถอยเชงิ
เส้นแบบงา่ ย
4.1.6 รากที่สองของคา่ คลาดเคล่อื นกำลังสองเฉล่ีย
4.1.7 แบบฝึกหัดกิจกรรมที่ 4
4.2 กิจกรรมการเขยี นโปรแกรมการถดถอยเชิงเสน้ ในภาษาไพทอน
ExerciseAct42
4.2.1 กิจกรรม การเขยี นโปรกรมการถดถอยเชิงเส้น
4.2.2 แบบฝกึ หัด การเขยี นโปรกรมการถดถอยเชิงเส้น
5. ผลกระทบของข้อมลู ต่อโมเดล
ExerciseAct5
5.1 ผลกระทบของขอ้ มลู ตอ่ โมเดล
5.2 ความสามารถในการประยุกตใ์ ชก้ ับข้อมูลใหม่
5.3 อคตใิ นการเลือกตัวอยา่ ง
5.4 จำนวนขอ้ มลู ที่ไม่สมดลุ กัน
5.5 ปัญหาการเลอื กใช้โมเดลที่ไม่เหมาะสม
5.6 แบบฝกึ หดั กิจกรรมที่ 5
แบบทดสอบประจำวชิ า
Final Exam
7
2. การเผยแพรค่ วามรู้ ประสบการณ์ ทักษะ และอืน่ ๆ แก่ผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง คือ
2.1 นำความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ ไปใช้ในการวเิ คราะห์หลกั สูตร มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ัด
เพ่อื ออกแบบกจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำความรทู้ ีไ่ ด้รบั จากการอบรมออนไลนใ์ นครงั้ น้ี ไป
บูรณาการ การสอนในรายวชิ าอืน่ ๆ นอกจากวิชาวทิ ยาการคำนวณ นำ AI และการใช้ข้อมลู โมดูล ไป
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั
2.2 ถา่ ยทอดความรู้ในเนื้อหารายวชิ าวทิ ยาการคำนวณเพ่ือให้พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะท่ีสำคัญในการ
ดำรงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 ไดแ้ ก่ ทกั ษะพื้นฐานความคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking) , ทักษะพื้น
ฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) , ทักษะการเรียนรู้และทักษะด้านนวัตกรรม
(Learning and Innovation –The 4 C’s) , ทักษะการทำมาหาเลี้ยงชีพและการดำเนินชีวิต (Career and
Life) และทักษะพื้นฐานการรู้เท่าทนั สื่อและข่าวสาร (Media and information Literacy) พัฒนาบนพื้นฐาน
ความแตกตา่ งของผู้เรียนรายบุคคลอย่างเต็มความสามารถ นำความรู้ไปขยายผลสู่ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ
(PLC) เพอ่ื พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนใหด้ ีย่งิ ขน้ึ
2.3 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ความสามารถด้าน
การสื่อสาร ความสามารถด้านการคิด ความสามารถด้านการแก้ปัญหา ความสามารถด้านการใช้ทักษะชีวิต
และ ความสามารถด้านการใชเ้ ทคโนโลยี
3. ปัญหา / อุปสรรค ในการเข้าร่วมประชุม / อบรม /สมั มนา
ไมป่ รากฏปญั หาและอุปสรรคขณะปฏิบตั หิ น้าที่
ลงช่ือ........................................ผ้รู ายงาน
( นางสาวทิพวรรณ วภิ าตผลิน )
ตำแหนง่ ครู
8
ภาคผนวก
9
เกียรติบัตรการอบรม
10
11
ภาพหน้าจอการอบรม
12
13
14
15
16
การรับรองหลักสตู ร
ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด
17
รอประกาศรบั รองหลกั สตู ร
18