The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารฉบับที่ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gaiyasit boonyanupong, 2023-11-08 22:05:14

วารสารฉบับที่ 3

วารสารฉบับที่ 3

ปที่ 2 ฉบับที่ 3 กรกฏาคม - กันยายน 2566 ปที่ 2 ฉบับที่ 3 กรกฏาคม - กันยายน 2566 การแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬาแหงประเทศไทย ครั้งที่ 24 “นครลำปางเกมส” การแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬาแหงประเทศไทย ครั้งที่ 24 “นครลำปางเกมส” การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ครั้งที่ 46 “พลศึกษาเกมส” การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ครั้งที่ 46 “พลศึกษาเกมส”


PrEsIdEnT's tAlK SpOrTs AlL ArOuNd TnSu rEpOrT sHaRe & lEaRn สารบัญ ม.กีฬา วารสารมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ปที่ 2 ฉบับที่ 3 กรกฏาคม - กันยายน 2566 บทบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ เลขที� 333 หมู่ 1 ถนนสุขุมวิท ตำบลหนองไม้แดง อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ 0-3805-4235 เว็บไซต์ www.tnsu.ac.th 3 4 8 TnSu hAlL oF fAmE 13 sPoRtS sCiEnCe tIpS 14 eDuCaTiOn oVeRvIeW 6 10 7 cOvEr sToRy sPoRtS aNd tOuRiSm 12 15 วารสาร ม.กีฬา ฉบับนี้ เปนฉบับที่ 3 ปที่ 2 มีเนื้อหาที่นาสนใจประกอบดวย การจัดการแขงขันกีฬาประจำป 2566 ของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ รวมถึงการให ความรูเกี่ยวกับกีฬาแฮนดบอล และขอมูลประวัติผลงานของบุคลากรที่มีความโดดเดน ดานกีฬาแฮนดบอล การบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัย ขาวคราวความเคลื่อนไหว ของมหาวิทยาลัย การขับเคลื่อนการดำเนินงานดานการวิจัยและการประกันคุณภาพ การศึกษา เกณฑ EdPEx-V สำหรับการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โครงการสำคัญ ที่สรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจและขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ ตลอดจนเกร็ดนารู เกี่ยวกับการบริหารรางกาย เพื่อปองกันโรคออฟฟศซินโดรม สุดทายนี้ หวังเปนอยางยิ่งวาวารสารฉบับนี้จะทำใหผูอานทุกทานรูจัก มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติมากขึ้น และขอขอบคุณที่ทานผูอานใหความสนใจวารสาร ม.กีฬา พบกันใหมฉบับหนา นายบรรณากิจบรรจง ทองจำปา ที่ปรึกษา อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ 5 ฝาย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำวิทยาเขต 17 แหง ผูอำนวยการโรงเรียนกีฬา 11 โรง ผูประสานงานโครงการจัดตั้งโรงเรียนกีฬา 2 โรง คณบดี 3 คณะ ผูอำนวยการสำนักกีฬา ผูอำนวยการสถาบันพัฒนาบุคลากรทางการกีฬา ผูอำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผูอำนวยการกอง 9 กอง บรรณาธิการ นายบรรณากิจบรรจง ทองจำปา กองบรรณาธิการ ดร.อุไรวรรณ หวองสกุล ผูชวยศาสตราจารยอิศเรศร ไซยะ ดร.ปภินวิชตฎ โพธิ์กาศ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไมตรี ไชยมงคล นายปติโชค จันทรหนองไทร นางสาวขวัญชนก รอดภัย นางสาวฐิตยาพร สุระพล นายกายสิทธิ์ บุญญานุพงศ นายอันดานา จันทรสุข บรรณาธิการ tNsU HiGhTlIgHt


ม.กีฬา PrEsIdEnT's tAlK วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 3 จากการขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใตการกำกับดูแล ของคณะกรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ตั้งแตวันที่ 23 กุมภาพันธ 2566 จนกระทั่งสิ้นสุดปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติไดมีการ ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานตามพันธกิจอยางครบถวน ทั้งการผลิต และพัฒนาบุคลากรดานศาสตรการกีฬา การผลิตและพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรมดานศาสตรการกีฬา การบริการวิชาการดานพลศึกษา และกีฬา การทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมดานการละเลนพื้นบาน และกีฬาไทย การสงเสริมและพัฒนานักเรียนและนักศึกษาใหมี ศักยภาพดานกีฬาสูความเปนเลิศ เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณ การเปลี่ยนแปลงและแนวโนมที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้ง นโยบายและแผนพัฒนาทางวิชาการ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ทางวิชาการ หลักสูตรการศึกษาและการเปดสอนหลักสูตรตาง ๆ ที่ไดรับคำปรึกษาและคำแนะนำจากผูทรงคุณวุฒิหลากหลายแขนง ภายใตการกำกับดูแลของสภาวิชาการ ตลอดจนการไดรับความรวมมือ จากผูบริหาร คณาจารย ครู เจาหนาที่ นักเรียน นักศึกษา ผูมีสวนได สวนเสียของมหาวิทยาลัยทุกภาคสวน และคณะกรรมการที่เกี่ยวของ ทั้งในระดับวิทยาเขต โรงเรียนกีฬา และมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำภาค ที่ไดสงเสริม สนับสนุน และผลักดันใหการดำเนินงาน ของมหาวิทยาลัยมีการพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพและตอเนื่อง ตลอดปงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ขอขอบคุณคณะกรรมการ ปฏิบัติหนาที่แทนสภามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ สภาวิชาการ คณะกรรมการบริหารประจำภาค คณะกรรมการวิทยาเขต คณะกรรมการ สถานศึกษา รวมถึงคณะผูบริหาร คณาจารย ครู เจาหนาที่ นักเรียน นักศึกษา และผูมีสวนเกี่ยวของทุกระดับ ที่ไดรวมกันพัฒนามหาวิทยาลัย ใหกลายเปนสถาบันการศึกษาคุณภาพดานศาสตรการกีฬาในภูมิภาค อาเซียนตอไป


มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา มีการจัดการแขงขัน กีฬาประจำปที่สงเสริมการเพิ่มมูลคาทางสังคมและเศรษฐกิจมาอยางตอเนื่อง คือ การแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬาแหงประเทศไทย และการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ “พลศึกษาเกมส” ซึ่งในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดลำปาง รวมกับ โรงเรียนกีฬา จังหวัดลำปาง เปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬาแหงประเทศไทย ครั้งที่ 24 “นครลำปางเกมส” ระหวางวันที่ 22 - 31 กรกฎาคม 2566 มีจำนวนโรงเรียนกีฬา ในประเทศไทยและประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียนที่สมัครเขารวมการแขงขันทั้งสิ้น 47 โรง โดยมีจำนวนนักกีฬาและเจาหนาที่เขารวมการแขงขัน 8,357 คน จัดการแขงขัน ทั้งหมด 18 ชนิดกีฬา และจังหวัดอางทอง รวมกับ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตอางทอง เปนเจาภาพจัดการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ครั้งที่ 46 “พลศึกษาเกมส” ระหวางวันที่ 2 – 11 กันยายน 2566 โดยมีจำนวนนักกีฬาและเจาหนาที่ เขารวมการแขงขัน 9,368 คน จัดการแขงขันทั้งหมด 41 ชนิดกีฬา และ 1 กีฬาสาธิต วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 4 cOvEr sToRy กลาวไดวา การจัดการแขงขันกีฬาทั้งสองรายการชวยสงเสริมการเพิ่มมูลคาทางสังคมและเศรษฐกิจไดอยางดียิ่ง ซึ่งตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ในการผลิตนักกีฬาที่จะเปนตัวแทนทีมชาติไทย เขารวมการแขงขันกีฬาในระดับนานาชาติ การเปนเสาหลักขอมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติที่มีบทบาทในการพัฒนากีฬา ดานการผลิตนักกีฬาใหกับประเทศชาติ การพัฒนามาตรฐานการจัดการแขงขันกีฬาและการเปนผูนำวิชาชีพดานกีฬา การสงเสริมความมีน้ำใจเปนนักกีฬาและการปฏิบัติตามระเบียบ กฎกติกา ตามมาตรฐานสากล ตลอดจนการขับเคลื่อน การดำเนินงานที่สงเสริมใหเยาวชนมีสวนรวมในกิจกรรมทางกีฬาตามแผนการดำเนินงานอาเซียนดานกีฬา (ASEAN Action Plan on Sport 2021 – 2025) และเชื่อมความสามัคคีและกิจกรรมของประชาคมอาเซียนในการใหบุคลากร นักเรียนและนักศึกษามีสวนรวมในการจัดการแขงขันทุกมิติ


cOvEr sToRy 5 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ GDP การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ครั�งที� 46 “พลศึกษาเกมส์” ชนิดกีฬาในการแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬาแหงประเทศไทย ครั้งที่ 24 “นครลำปางเกมส” 1. กรีฑา 2. คาราเต 3. เซปกตะกรอ 4. จักรยาน 5. เทควันโด 6. ปนจักสีลัต 7. ฟุตซอล 8. ฟุตบอล 9. มวยไทยสมัครเลน 10. มวยปล้ำ 11. มวยสากลสมัครเลน 12. ยกน้ำหนัก 13. ยูโด 14. เรือพาย 15. วอลเลยบอล 16. วายน้ำ 17. แฮนดบอล 18. ยิงธนู ชนิดกีฬาในการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ครั้งที่ 46 “พลศึกษาเกมส” 1. กรีฑา 2. กระบี่กระบอง 3.ยูยิตสู 4. ปนหนาผา 5. คาราเต 6. คูราช 7. เซปกตะกรอ 8. ตะกรอชายหาด 9. ดาบไทย 10. ตะกรอลอดหวง 11. เทควันโด 12. เทเบิลเทนนิส 13. เนตบอล 14. บาสเกตบอล 15. แบดมินตัน 16. ปนจักสีลัต 17. เปตอง 18. ฟนดาบ 19. ฟุตซอล 20. ฟุตบอล 21. มวยสากลสมัครเลน 22. มวยไทยสมัครเลน 23. มวยปล้ำ 24. ยูโด 25. ยกน้ำหนัก 26. ยิงปน 27. ยิงธนู 28. ยิมนาสติก 29. รักบี้ฟุตบอล 30. เรือพาย 31. เทนนิส 32. ลีลาศ 33. วอลเลยบอล 34. วอลเลยบอลชายหาด 35. วายน้ำ 36. วูซู 37. วูดบอล 38. ฮอกกี้ 39. แฮนดบอล 40. แฮนดบอลชายหาด 41.คอรฟบอล 42.ลอนโบว (กีฬาสาธิต) มูลคาทางเศรษฐกิจจากการแขงขันกีฬา “นครลำปางเกมส” และ “พลศึกษาเกมส”


SpOrTs aLl aRoUnD วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 6 กีฬาแฮนดบอลถือเปนอีกหนึ่งชนิดกีฬาที่คน สวนใหญคุนเคย เพราะเปนหนึ่งในกีฬาที่มีการสอนในวิชา พลศึกษา ทั้งยังเปนกีฬาที่ใชพื้นที่ในการเลนไมมาก และยังสามารถเลนไดทั้งสนามหญา พื้นคอนกรีต หาดทราย และพื้นไม โดยกีฬาแฮนดบอลเปนหนึ่งใน กีฬาที่ไดรับการบรรจุอยูในการแขงขันกีฬารายการใหญ อยางโอลิมปก และเอเชียนเกมสอีกดวย กีฬาแฮนดบอล หรือเกมจับลูกบอลไดรับการกลาวถึงครั้งแรกในยุค กรีกโบราณในชื่อ “Urania” ตอมากีฬาดังกลาวไดแพรหลาย เขาไปในอาณาจักรโรมัน ซึ่งชาวโรม เรียกกีฬาชนิดนี้วา “Harpaston” ตอมาในศตวรรษที่ 12-13 กีฬาแฮนดบอล ไดรับการพูดถึงอีกครั้งในบทกวีของวอลเตอร ฟอน แดร โฟเกลไวเดอร (Walther von der Vogeweide) ศิลปน ชาวเยอรมัน ซึ่งโฟเกลไวเดอรเรียกกีฬาชนิดนี้วา “ฟงบอล สปล” (Fangballspiel) จนกระทั่งในศตวรรษที่ 19 กีฬา แฮนดบอล ไดรับการพัฒนาโดยนาย คอนราด คอช (Konrad koch) ครูพละชาวเยอรมัน จนกระทั่งป พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) กีฬาแฮนดบอลไดรับการพัฒนาขึ้นในทวีป ยุโรป และกำหนดกติกาขึ้นโดยอางอิงจากกติกาของกีฬา ฟุตบอลเปนหลัก ซึ่งเปนการดัดแปลงกีฬาฟุตบอลมาเลน ดวยมือแทน เดิมใชผูเลนทีมละ 11 คน แตลดลงเหลือ ทีมละ 7 คนแทน เนื่องจากผูเลนมีจำนวนมากจนเกินไป ทำใหเลนไมสะดวก จากนั้นจึงคอย ๆ แพรหลายเรื่อยมา ในป พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) มีการนำกีฬาแฮนดบอล ไปสาธิตในกีฬาโอลิมปก และไดรับการบรรจุเขาเปนหนึ่ง ในรายการการแขงขันกีฬาระดับชาติเมื่อป พ.ศ. 2474 (ค.ศ.1931) และเปนที่นิยมอยางแพรหลายจนไดรับ การบรรจุเขาเปนชนิดกีฬาการแขงขันในกีฬาโอลิมปก เมื่อป พ.ศ. 2479 (ค.ศ. 1936) กอนที่จะเจอกับเหตุการณ สงครามโลกครั้งที่ 2 จนความนิยมลดลง กีฬาแฮนดบอลในประเทศไทย หลังจากที่กีฬาแฮนดบอลนิยมเลนกันอยาง แพรหลายไปทั่วโลกแลว ประเทศไทยก็เริ่มนำเอากีฬา แฮนดบอลเขามาเมื่อป พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1939) โดย อาจารยกอง วิสุทธารมย อดีตอธิบดีกรมพลศึกษา ในขณะนั้น ซึ่งในตอนนั้น กติกาแฮนดบอลยังตองมี ผูเลนทีมละ 11 คน จึงทำใหไมสะดวก และไมเปน ที่นิยมในไทยมากนัก จนกระทั่งป พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) อาจารย ชนิต คงมนต ไดบรรจุกีฬาแฮนดบอลเขาสอนใน โรงเรียนฝกหัดครูพลานามัย และวิทยาลัยพลศึกษา กอนที่จะแพรหลายไปยังโรงเรียนตาง ๆ จนกลายเปน หลักสูตรบังคับของชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเมื่อป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และใชกติกาการแขงขันแบบ สากลเมื่อป พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) และเปนที่นิยม ในประเทศไทยในที่สุด


กวาจะเปนมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ tNsU hAlL oF fAmE 7 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ฉัตรชัย แสงสุขีลักษณ (Playing rules and Referees Commissions / Asian Handball Federation) สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะพลศึกษา สาขาวิชาพลศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ระดับปริญญาโท คณะพลศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตรการกีฬา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และระดับปริญญาเอก คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาธุรกิจกีฬาและการบันเทิง จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม ปจจุบันดำรง ตำแหนงรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ฝายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ผลงานโดดเดนดานกีฬาแฮนดบอล ผูตัดสินกีฬาแฮนดบอล ระดับชาติ ไดแก รายการแขงขันเยาวชน ระดับชาติแหงประเทศไทย รายการแขงขันระดับชาติแหงประเทศไทย และรายการแขงขันนักเรียนระดับชาติแหงประเทศไทย ผูตัดสินกีฬาแฮนดบอล ระดับนานาชาติ จำนวน 21 ครั้ง เชน รายการการแขงขันกีฬาซีเกมส รายการแขงขันกีฬาเอเชียนบีช รายการแขงขันกีฬาแฮนดบอลยุวชนชายแหงเอเชีย รายการแขงขัน กีฬาแฮนดบอลหญิงระดับเอเชีย รายการแขงขันกีฬาแฮนดบอล ถวยยุวชนนานาชาติ รายการแขงขันกีฬาแฮนดบอลระดับเอเชีย เปนตน ผูควบคุมการแขงขันกีฬาแฮนดบอล ระดับนานาชาติ จำนวน 51 ครั้ง เชน รายการชิงแชมปเอเชียตะวันออก รายการแขงขัน กีฬาแฮนดบอลชิงแชมปเอเชียรอบคัดเลือกไปแขงขันระดับโลก รายการแขงขันกีฬาแฮนดบอลเอเชี่ยนบีชเกมส การแขงขันกีฬาแฮนดบอล หญิงชิงแชมปเอเชีย การแขงขันกีฬาแฮนดบอลชิงแชมปเซาทอีสทเอเชีย การแขงขันกีฬาแฮนดบอลชายหาดชิงแชมปโลก การแขงขันกีฬา แฮนดบอลชายหาดเยาวชนชิงแชมปเอเชีย เปนตน ผูจัดการทีมแฮนดบอล รายการ ยูธเกมส ณ กวางซู ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน ผูชวยผูจัดการทีม รายการแขงขันกีฬายุวชนเอเชีย ณ นานจิง สาธารณรัฐประชาชนจีน และการแขงขันเอเชี่ยน เกมส ณ อินชอน ประเทศเกาหลีใต ผูแทนสหพันธแฮนดบอลแหงเซาทอีสทเอเซีย รายการ South East Asian Championship ณ โฮจิมิน ประเทศเวียดนาม ผูแทนสหพันธกีฬาแฮนดบอลแหงเอเชีย ไดแก รายการแขงขัน กีฬาซีเกมส ครั้งที่ 30 และ ครั้งที่ 31 ผูบรรยาย หลักสูตรผูตัดสินกีฬาแฮนดบอลชายหาด ทั้งใน ประเทศและตางประเทศ วิทยากร อบรมผูตัดสินกีฬาแฮนดบอล ทั้งในประเทศและ ตางประเทศ


TnSu hIgHlIgHt มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ไดแตงตั้งคณะ กรรมการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ตามคำสั่งที่ 10/2566 โดยมีอำนาจหนาที่ในการศึกษานโยบาย งานบุคคลสำหรับคณาจารย ขาราชการและบุคลากรทางการศึกษา พิจารณากลั่นกรองเกี่ยวกับการบรรจุแตงตั้ง พิจารณากลั่นกรอง เกี่ยวกับเรื่องดำเนินการทางวินัยของขาราชการ สงเสริมสนับสนุน การเสริมสรางขวัญและกำลังใจ ปกปองคุมครองระบบ คุณธรรม การจัดสวัสดิการ การยกยองเชิดชูเกียรติ คณาจารย ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของมหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 8 คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประกอบดวย อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ เปนประธานกรรมการ นายปราโมทย แสนกลา และนายพัชระ ตั้งพานิช เปนรองประธานกรรมการ โดยมีประธานกรรมการบริหารประจำภาคเหนือ ประธานกรรมการบริหารประจำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประธานกรรมการบริหารประจำภาคกลาง ประธานกรรมการบริหารประจำภาคใต และรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ฝายบริหาร เปนกรรมการ ผูอำนวยการกองการเจาหนาที่ เปนกรรมการและเลขานุการ และเจาหนาที่กลุมบริหาร งานบุคคล เปนผูชวยเลขานุการ ในชวงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2566 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารงานบุคคลเพื่อ พิจารณาวาระที่สำคัญเกี่ยวกับการขอยายขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงอาจารย การขอยายขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงครูการใหขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ดำรงตำแหนงทางวิชาการ การใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ รายงานการดำเนินการทางวินัยไมรายแรงของขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา และการพิจารณาสั่งลงโทษขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สำหรับในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติมีขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา และลูกจางประจำเกษียณอายุราชการ ซึ่งเปนขาราชการผูทำประโยชนตอ หนวยงานที่ไดกาวสูหลักชัยของชีวิตราชการ รวมทั้งสิ้น 36 ราย ประกอบดวย คณาจารย 17 ราย ครู 9 ราย บุคลากรทางการศึกษา 4 ราย และลูกจางประจำ 6 ราย โดยมหาวิทยาลัยไดจัดกิจกรรม ถายทอดประสบการณของผูเกษียณอายุราชการเพื่อนำไปสูการพัฒนามหาวิทยาลัยตามโครงการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อรายงานผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 (สานประสบการณสูการพัฒนามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ) ในวันอังคารที่ 12 กันยายน 2566 ณ โรงแรมสองพันบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี


9วารสาร ม.กีฬา กิจกรรมที่ 1 สัมมนาถายทอดประสบการณสูการพัฒนามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ “เสวนาเรื่อง สุขใจ...วัยเกษียณ” ซึ่งไดรับเกียรติจาก นายการุณ สุทธิภูล ตำแหนงประธาน สภาวัฒนธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี และ ดร.ชาญชัย ทิพเนตร ตำแหนงประธานกรรมการ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย เปนวิทยากรในการสัมมนา เพื่อใหความรูเกี่ยวกับชีวิตหลังวัยเกษียณ โดยมี นางสาวเฉลียว อินยิ้ม ตำแหนง นักสื่อสารมวลชน ประจำสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย จังหวัดสุพรรณบุรี รับหนาที่เปนพิธีกร นอกจากนี้ มีการเชิญผูแทนผูเกษียณอายุราชการกลาวถึงความประทับใจและถายทอด ประสบการณเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ จำนวน 4 ทาน ไดแก ผูชวยศาสตราจารย ดร.อนุชิตร แทสูงเนิน ผูแทนผูบริหาร ผูชวยศาสตราจารย ดร. นพรัตน พบลาภ ผูแทนคณาจารย ดร.ธนกร มีหินกอง ผูแทนครู และนายลิขิต สุวรรณะ ผูแทนบุคลากรทางการศึกษา กิจกรรมที่ 2 “สานประสบการณสูการพัฒนามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ” ณ วัดเขา ทำเทียม อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ผูเกษียณอายุราชการไดชมพระพุทธรูปแกะสลักภูผา ใหญที่สุดในโลก ขนาดหนาตัก 65 เมตร สูง 84 เมตร มีชื่อวา สมเด็จพระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ หรือ หลวงพออูทอง ปางมารวิชัย ศิลปะอูทอง 1 และไดรวมทําบุญถวายสังฆทานเพื่อเปนการ เสริมสิริมงคลแกผูเกษียณอายุราชการ กิจกรรมที่ 3 พิธีมอบโลเกียรติคุณแกขาราชการผูทำประโยชนตอหนวยงาน ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ โดยมี นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่ อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ เปนประธานในพิธี ในการนี้มีผูเขารวมโครงการประกอบดวย รองศาสตราจารย ดร.ทิวัตถ มณีโชติ กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ผูทรงคุณวุฒิ คณะผูบริหาร บุคลากรจากวิทยาเขตและโรงเรียนกีฬา และบุคลากรสำนักงาน อธิการบดี ทั้งนี้ มีนิทรรศการประวัติ ผลงาน และการฉายวีดิทัศนเชิดชูเกียรติอายุราชการ การมอบของที่ระลึกและโลเกียรติคุณแกผูเกษียณอายุราชการ ซึ่งเปนขาราชการผูทำประโยชนตอหนวยงาน การมอบดอกไมมุติตาจิต แกผูเกษียณวิชาการ การกลาวแสดงความรูสึกจากผูแทนผูเกษียณ อายุราชการ การแสดงชุดพิเศษจากวิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี ทามกลางบรรยากาศที่เต็มไปดวยความรัก ความอบอุน และ ความปลื้มปติยินดีของสายใยนองพี่ลูกพระพลบดีแหงครอบครัว เขียว ขาว เหลือง มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ TnSu hIgHlIgHt


10 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ tNsU rEpOrT วันอังคารที่ 4 กรกฎาคม 2566 นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่ อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พรอมดวยคณะผูบริหาร มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ เขารวมพิธีลงนามถวายพระพร ถวายกระเชาดอกไม และนำนักศึกษาจากวิทยาเขตในภาคกลาง รวมจำนวน 100 คน รวมบริจาคโลหิตในกิจกรรมสานพระปณิธาน รวมพลังทำดีถวายเปนพระกุศล เนื่องในโอกาสวันคลายวันประสูติ สมเด็จพระเจานองนางเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ณ ชั้น 1 โรงพยาบาลจุฬาภรณ ขาว วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.30 น. นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ เปดกรวยกระทงดอกไมธูปเทียนแพ ถวายราชสักการะหนาพระบรม ฉายาลักษณ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว กลาวถวายพระพรชัยมงคล แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และนำกลาวคำถวายสัตยปฏิญาณ เพื่อเปนขาราชการที่ดีและพลังของแผนดิน พรอมดวยคณะผูบริหาร ครูอาจารย บุคลากร และนักเรียน นักศึกษาของมหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ รวมพิธี พรอมลงนามถวายพระพรชัยมงคล ณ ลานโถง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม 2566 เวลา 08.30 น. นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ เปนประธานในพิธีถวายพระชัยมงคล และเปดกรวยกระทงดอกไม ธูปเทียนแพ ถวายราชสักการะหนาพระบรมฉายาลักษณ สมเด็จพระนางเจา สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง และกลาวถวาย พระพรชัยมงคลแดสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง พรอมดวยคณะผูบริหาร ครูอาจารย บุคลากร ของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ จากวิทยาเขตชลบุรีรวมพิธี พรอมลงนามถวายพระพรชัยมงคล ณ ลานโถง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วันพฤหัสบดีที่ 28 กันยายน 2566 นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พรอมดวย คณะผูบริหาร ขาราชการ เจาหนาที่สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ เขารวมกิจกรรมเคารพธงชาติและรองเพลงชาติไทย เวลา 08.00 น. ณ บริเวณหนาเสาธงสำนักงานอธิการบดี เนื่องใน วันพระราชทานธงชาติไทย 28 กันยายน (Thai National Flag Day)


tNsU rEpOrT ระหวางวันที่ 6 - 17 กรกฎาคม 2566 นักศึกษาของมหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตสุโขทัย ไดรับการคัดเลือกจากสมาคมกีฬาวอลเลยบอล แหงประเทศไทย ใหเปนตัวแทนนักกีฬาวอลเลยบอลชายทีมชาติไทย รุนอายุไมเกิน 21 ป เขารวมการแขงขันวอลเลยบอลชายชิงแชมปโลก 2023 รุนอายุไมเกิน 21 ป (FIVB Volleyball men’s U21 World Championship Bahrain 2023) ผลการแขงขันได ลำดับที่ 8 ในรายการแขงขัน ณ ราชอาณาจักรบาหเรน ระหวางวันที่ 23 สิงหาคม - 3 กันยายน 2566 นางสาวสุธิมนต เชื้อทำดี นักกีฬาเรือพาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 (ประเภทเรือแคนู) โครงการจัดตั้งโรงเรียนกีฬาจังหวัดเชียงใหม เขารวมการแขงขันรายการ 2023 ICF CANOE MARATHON WORLD CHAMPIONSHIPS ณ ประเทศเดนมารก ผลการแขงขัน อันดับที่ 6 ระหวางวันที่ 7 – 13 สิงหาคม 2566 นักกีฬาเรือพาย (ประเภทเรือมังกร) โครงการ จัดตั้งโรงเรียนกีฬาจังหวัดเชียงใหม จำนวน 49 คน เขารวมการแขงขันเรือยาวมังกรชิงแชมปโลก ประจำป 2566 (16th IDBF World Dragon Boat Racing Championships Thailand 2023) ณ ศูนยฝกกีฬาเรือพายราชนาวี ตำบล สำนักทอน อำเภอบานฉาง จังหวัดระยอง โดยนักกีฬาเรือพายไดลงทำการแขงขันทั้งหมด 3 รุน ไดแก รุนอายุไมเกิน 18 ป (U18) รุนอายุ ไมเกิน 24 ป (U24) และรุนทั่วไป (Premier) ผลการแขงขัน 3 เหรียญทอง 9 เหรียญเงิน 8 เหรียญทองแดง ระหวางวันที่ 4 - 17 กันยายน 2566 นายธาดา สมบุญอวน นักศึกษาคณะ ศิลปศาสตร ชั้นปที่ 3 มหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตสุโขทัย เขารวม การแขงขันยกน้ำหนักชิงชนะเลิศแหงโลก ประจำป 2566 ณ กรุงริยาด ประเทศ ซาอุดีอาระเบีย โดยผลการแขงขันไดรับ 1 เหรียญทองแดง จากทาสแนทช รุน 55 กิโลกรัมชาย 11 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ


12 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ sHaRe & lEaRn กองวิจัยและประกันคุณภาพกรศึกษา เปนหนวยงานหลักในการสงเสริม สนับสนุนให ทุกหนวยงานของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ดำเนินงานตามภารกิจของมหาวิทยาลัยไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยมี 2 ภารกิจสำคัญ คือ ภารกิจ ดานการวิจัย ไดแก การเสริมสรางพัฒนาระบบ และกลไกการวิจัยของมหาวิทยาลัยใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมทั้งเปนศูนยกลางขอมูลสารสนเทศ ดานการวิจัย สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารย พัฒนางานวิจัยเพื่อไปสูการทำผลงานทางวิชาการ และภารกิจดานการประกันคุณภาพการศึกษา ไดแก การพัฒนาระบบงานประกันคุณภาพการศึกษา ใหมีประสิทธิภาพ และสงเสริมใหระบบประกันคุณภาพ เปนวัฒนธรรมองคกรในการปฏิบัติทุกพันธกิจ มหาวิทยาลัยมีการขับเคลื่อนนโยบาย ดานการวิจัยและนวัตกรรม ดังนี้ 1. ทบทวนระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายในปจจุบัน 2. ปรับปรุงระบบและกลไกการกำกับติดตาม งานวิจัยและนวัตกรรมใหเปนไปตามระเบียบวิธีวิจัย 3. จัดงบประมาณสนับสนุนการจัดการ ความรูและการผลิตผลงานนวัตกรรม โดยเฉพาะ นวัตกรรมดานศาสตรการกีฬา สูการวิจัย และ การนำไปใชประโยชน 4. สรางภาคีเครือขายที่ตอยอดงานวิจัยและ การนำไปใชประโยชนกับสมาคมกีฬา และสมาคมวิชาชีพ 5. สนับสนุนใหบุคลากร วิทยาเขต และ โรงเรียนกีฬารวมแลกเปลี่ยนงานวิจัยและนวัตกรรม บุคลากร องคความรูดานศาสตรการกีฬากับมหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและตางประเทศ กิจกรรมขับเคลื่อนนโยบายดานการวิจัย ในระหวางเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2566 1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวน ระเบียบ ขอบังคับดานการวิจัยและประกันคุณภาพ การศึกษา ระหวางวันที่ 3 – 5 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมเบลลา บี จังหวัดนนทบุรี มีวัตถุประสงค เพื่อทบทวน แนวปฏิบัติ ประกาศ และระเบียบเกี่ยวกับ ดานการวิจัยและนวัตกรรม และดานการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยใหสอดคลอง และเปนไปตามกฎหมายใหมที่ประกาศใชในป พ.ศ. 2565 โดยไดรับเกียรติจาก ศ.นพ.วุฒิชัย ธนาพงศธร และ รศ.ดร.ทิวัตถ มณีโชติ เปนวิทยากรในโครงการ 2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน เสริมสรางความเขมแข็งการบริหารจัดการแผนงานและ โครงการดานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 กิจกรรมที่ 2 การประชุมคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิเพื่อพัฒนา ขอเสนอโครงการวิจัยใหตอบโจทยของประเทศ กิจกรรมที่ 3 การสรางแนวทางการติดตามและ ประเมินผลการดำเนินงานเพื่อประสิทธิผลในการ ดำเนินงาน ระหวางวันที่ 28 – 29 สิงหาคม 2566 โดยไดรับเกียรติจาก รศ.ดร.สนธยา สีละมาด รศ.ดร.ฉัฐวีณ สิทธิศิรอรรถ รศ.ดร.นภพร ทัศนัยนา และ รศ.ดร.ทิวัตถ มณีโชติ เปนวิทยากรประจำกลุม 3. เขารวมมหกรรมงานวิจัยแหงชาติ 2566 THAILAND RESEARCH EXPO 2023 จัดบูธแสดง ผลงานวิจัยและนวัตกรรม รวมไปถึงถายทอดความรู ดานงานวิจัยของอาจารยมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ณ หอง Lotus Suite 7 ชั้น 22 บางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพฯ กิจกรรมขับเคลื่อนนโยบายดานการ ประกันคุณภาพการศึกษา ในระหวางเดือน กรกฎาคม - กันยายน 2566 1. กิจกรรมที่ 1 การประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน จากการจัดการศึกษาระดับหลักสูตร ปการศึกษา 2565 ณ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขต 17 แหง 2. กิจกรรมที่ 2 การประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน จากการจัดการศึกษาระดับคณะ ปการศึกษา 2565 ณ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขต 17 แหง 3. กิจกรรมที่ 3 การประเมินคุณภาพการศึกษา ภายใน จากการจัดการศึกษาระดับวิทยาเขต ปการศึกษา 2565 ณ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขต 17 แหง 4. กิจกรรมที่ 4 การประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน จากการจัดการศึกษา ระดับ มหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2565 ณ มหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ จังหวัดชลบุรี 5. กิจกรรมที่ 5 การประเมินคุณภาพ การศึกษาภายใน จากการจัดการศึกษา ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปการศึกษา 2565 ณ โรงเรียน กีฬา 13 โรง โดยมหาวิทยาลัยไดนำผลการประเมิน และขอเสนอแนะไปใชประโยชนเพื่อพัฒนาการ จัดการศึกษาและการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลตอไป


ม.กีฬา 13 วารสาร มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ eDuCaTiOn oVeRvIeW การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เปนการประเมิน การดำเนินงานดานการศึกษาของสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศ ซึ่งในกรอบแผนอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 – 2565) มีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับ คุณภาพอุดมศึกษาไทยและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศ โดยใชเกณฑ Education Criteria for Performance Excellence (EdPEx) ซึ่งเปนเครื่องมือที่ไดรับการยอมรับในระดับ สากลวาเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาปรับปรุงองคกร สูความเปนเลิศ มีความยืดหยุน เนนการแขงขันกับตนเอง ในปจจุบันมีหนวยงานระดับคณะวิชา หรือระดับสถาบันที่ เลือกใชเกณฑ EdPEx (EdPExV) สำหรับการประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน จำนวน 43 สถาบัน (ขอมูล ณ เดือนมีนาคม 2565) มหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ มีความมุงมั่นสูการเปนสถาบันการศึกษาคุณภาพ ดานศาสตรการกีฬาในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งหมายถึงการมีคุณภาพตามระบบ EdPEx จึงจำเปนจะตองเตรียมความพรอมระบบคุณภาพของหนวย งานระดับคณะวิชา หรือสถาบัน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. ขอความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย โดยผานการพิจารณาความพรอม และความเหมาะสมในการเลือกใชเกณฑ EdPEx เปนระบบคุณภาพของหนวยงาน 2. จัดทำหนังสือจากมหาวิทยาลัย พรอมมติสภาที่ไดเห็นชอบตามขอ 1 ไปยัง สป.อว. เพื่อรับทราบการเลือกใชดังกลาว 3. ดำเนินการตามแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับโรงเรียนกีฬา ระดับคณะ วิทยาเขต และระดับมหาวิทยาลัย ตามเกณฑ EdPExV ประกอบไปดวย 7 หมวด โดยมีการดำเนินการ ดังนี้ ปที่ 1 3.1 จัดสงโครงรางองคการ พรอมกำหนดเปาหมายในการพัฒนา สูความเปนเลิศตามวิสัยทัศนของแตละหนวยงาน เพื่อใชเปนเปาหมายในการ พัฒนาคุณภาพ (Goal-based) พรอมรายงานวิธีการนำเกณฑ EdPEx ไปใชใน หนวยงานวามีแนวทางในการดำเนินการอยางไร 3.2 จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามแนวทางการพัฒนา คุณภาพการศึกษาดวยเกณฑ EdPEx 3.3 จัดสงขอมูลพื้นฐาน Common Data Set เขาสูระบบ CHD QA Online ปที่ 2 3.4 จัดสงรายงานความกาวหนาของผลการดำเนินงานตามที่หนวยงาน กำหนดในปที่ 1 3.5 จัดสงขอมูลพื้นฐาน Common Data Set เขาสูระบบ CHD QA Online ปที่ 3 3.6 จัดสงรายงานความกาวหนาของผลการดำเนินงานตามที่หนวยงาน กำหนดในปที่ 1 3.7 จัดสงรายงานการประเมินตนเองดวยเกณฑ EdPEx ฉบับสมบูรณ 3.8 จัดสงขอมูลพื้นฐาน Common Data Set เขาสูระบบ CHD QA Online ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ จะเริ่มดำเนินการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน โดยจะใชแนวทางการดำเนินการ ตามที่ สำนักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว) กำหนดเปนฐานสำหรับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศตอไป


14 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ SpOrTs aNd ToUrIsM มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ไดดำเนินการจัดทำคำขอ โครงการสำคัญเพื่อขับเคลื่อนการบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติ ปงบประมาณ พ.ศ. 2567 จำนวน 4 โครงการ ไดแก โครงการพลศึกษาและกีฬากับการพัฒนาเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนใหมีสุขภาวะที่ดี มุงเนนการจัดกิจกรรม พลศึกษาและกีฬา ใหแกเด็ก เยาวชน และประชาชน โดยมอบหมาย ใหคณะในวิทยาเขต 17 แหง จัดกิจกรรมการใหบริการวิชาการ ตามความเชี่ยวชาญของคณะภายใตศาสตรการกีฬาในชุมชนอยางตอเนื่อง 8 สัปดาห เพื่อสงเสริมใหเด็ก เยาวชน และประชาชน ในชุมชนเปาหมาย มีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงการออกกำลังกาย ใชเวลาวางใหเปน ประโยชนดวยกิจกรรมพลศึกษาและกีฬา นำไปสูการมีสุขภาวะที่ดี โครงการสงเสริมการออกกำลังกาย กีฬา และนันทนาการ ใหกลายเปนวิถีชีวิตดวยรูปแบบกิจกรรมการละเลนพื้นบานและกีฬาไทย มุงเนนการจัดกิจกรรมออกกำลังกายและเลนกีฬา ควบคูกับการอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรมของทองถิ่น ใหแกเด็ก และเยาวชน โดยมอบหมายให วิทยาเขต 17 แหง จัดกิจกรรมการละเลนพื้นบานและกีฬาไทย เพื่อสงเสริม ใหเด็ก และเยาวชน ไดออกกำลังกาย เลนกีฬา และนันทนาการ ใหกลายเปน วิถีชีวิต ซึ่งผลลัพธที่ไดจะนำไปสูการสรางเสริมสุขภาพ ไดเรียนรู และอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย ทำใหเกิดความภาคภูมิใจในความเปนไทย สามารถสรางโอกาสและมูลคาทางวัฒนธรรมของกีฬาไทย โครงการจัดทำหลักสูตรพัฒนาบุคลากรดานการกีฬา มุงเนนการ พัฒนาหลักสูตรผูฝกสอนกีฬา ผูตัดสินกีฬา และนักวิทยาศาสตรการกีฬา ตามมาตรฐานของสมาคมกีฬา องคกรทางการกีฬา หรือองคกรวิชาชีพ ใหไดรับการรับรองเพื่อใชในการพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาใหมีคุณภาพ และมาตรฐานเพิ่มขึ้น โครงการการพัฒนาบุคลากรดานการกีฬา มุงสรางและพัฒนา บุคลากรดานการกีฬาทั้งผูฝกสอนกีฬา ผูตัดสินกีฬา และนักวิทยาศาสตร การกีฬาอยางเปนระบบและมีมาตรฐาน สามารถถายทอดความรูใหแก เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุมพิเศษ และผูดอยโอกาส ไดอยางถูกตอง และสามารถตอยอดศักยภาพในการพัฒนาเปนบุคลากร ดานการกีฬาที่มีมาตรฐานของประเทศ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ โดยโรงเรียนกีฬาจังหวัดลำปาง รวมกับ จังหวัดลำปาง จัดการแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬาแหงประเทศไทย ครั้งที่ 24 “นครลำปางเกมส” ระหวางวันที่ 22 - 31 กรกฎาคม 2566 โดยมีนักเรียนและเจาหนาที่จากโรงเรียนกีฬา สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ และโรงเรียนกีฬาสังกัดหนวยงานอื่น เขารวมการแขงขันฯ เชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น กระทรวงศึกษาธิการ และสังกัดกรุงเทพมหานคร รวมทั้ง โรงเรียนกีฬาในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน เชน บรูไน สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย มีผูเขารวมการแขงขันชาวไทย 7,877 คน และผูเขารวมชาวตางประเทศ 480 คน รวมทั้งสิ้น 8,357 คน มีการจางงานจากการแขงขัน 1,642 คน มีการใชจายของผูเขารวมงาน 146.56 ลานบาท เงินหมุนเวียนที่เกิดขึ้นจากการแขงขัน 156.73 ลานบาท และมีมูลคาทางเศรษฐกิจ 244.54 ลานบาท และมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตอางทองรวมกับจังหวัด อางทอง จัดการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ครั้งที่ 46 “พลศึกษาเกมส” ระหวางวันที่ 2 - 11 กันยายน 2566 มีผูเขารวมการแขงขันทั้งสิ้น 9,368 คน มีการจางงาน จากการแขงขัน 542 คน มีการใชจายของผูเขารวมงาน 29.50 ลานบาท เงินหมุนเวียน ที่เกิดขึ้นจากการแขงขัน 51.67 ลานบาท และมีมูลคาทางเศรษฐกิจ 83.02 ลานบาท


sPoRtS sCiEnCe tIpS 15 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ เมื่อนั่งทำงานแลวรูสึกตึง ปวด คอ บา ไหล เปนประจำ อาจเปนสาเหตุของปญหายอดฮิต ของคนวัยทำงาน ซึ่งอาการดังกลาว เปนกลุมอาการ ปวดกลามเนื้อและเยื่อพังผืดหรือทางการแพทย เรียกวา Myofascial Pain Syndrome (โรงพยาบาล ศิริราชปยมหาราชการุณย, 2564) การตึง ปวดกลามเนื้อ เกิดขึ้นไดจากนั่งทำงานในทาเดิมซ้ำ ๆ เปนเวลานาน โดยขาดการเคลื่อนไหวรางกาย เปลี่ยนอิริยาบท จึงสงผลใหกลามเนื้อมีการหดเกร็ง รวมถึงกลามเนื้อ บางสวนถูกยืดคางอยูในทาเดิม ทำใหเกิดการปวด กลามเนื้อ บริเวณดังกลาว (รัตนา มูลคำ, 2556) จนบางครั้งคลำพบกอนแข็งในมัดกลามเนื้อ หรือ จุดกดเจ็บ (Trigger point) มีงานวิจัยหลายชิ้น ชี้ใหเห็นวา เมื่อรางกายอยูในสภาวะนิ่ง เปนระยะเวลานาน จะมีโอกาสไดรับการบาดเจ็บที่กลามเนื้อและ กระดูกมากยิ่งขึ้น โดยปญหาที่พบมากที่สุดเปนเรื่อง อิริยาบถในการทำงาน รูปแบบที่ใชกลามเนื้อมัดเดิม ซ้ำ ๆ ตอเนื่องเปนระยะเวลานาน จากสถิติของกรม อนามัย พบวาคนวัยทำงาน รอยละ 60 มีภาวะ ของโรคออฟฟศซินโดรม (กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข, 2558) ปจจัยที่เปนสาเหตุของออฟฟศ ซินโดรมนั้นมี 2 สาเหตุ คือ 1) พฤติกรรมการนั่งทำงาน มีลักษณะไมเหมาะสม เชน นั่งหลังคอม นั่งไขวหาง นั่งกึ่งนอน การกมศีรษะเพื่อดูโทรศัพทมือถือหรือ นั่งทำงานอยูหนาจอคอมพิวเตอร และ 2) สภาพแวดลอม ที่ทำงานไมเหมาะสม เชน โตะ เกาอี้ไมเหมาะสม กับสรีระรางกายของตนเอง วิธีการที่ดีที่สุดที่จะปองกันอาการจาก “Office Syndrome” คือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และสภาพแวดลอมในการนั่งทำงานใหเหมาะสม ออกกำลังกายและพักผอนใหเพียงพอ สำหรับการ ออกกำลังกายมีดวยกันหลายรูปแบบ ซึ่งหนึ่งในวิธี ที่จะชวยปองกันอาการโรคออฟฟศซินโดรม คือ การบริหารรางกายเปนประจำ ทั้งการยืดเหยียด กลามเนื้อ (Stretching) ใหเกิดความยืดหยุนและ การออกกำลังเพื่อเสริมความแข็งแรง (Strength) ใหรางกายและกลามเนื้อมีความพรอมในการทำงาน โดยเฉพาะกลามเนื้อแกนกลางลำตัว (Core muscle) การบริหารรางกายดวยการยืดเหยียดกลามเนื้อ จะชวยใหเอ็นขอตอและเสนใยกลามเนื้อ ที่ไดรับการ ยืดเหยียด มีมุมการเคลื่อนไหวที่ดี การยืดเหยียด กลามเนื้อจะมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ หนึ่งในนั้น คือการยืดเหยียดแบบคางอยูกับที่ (Static stretching) จุดประสงคเพื่อชวยเพิ่มความยืดหยุน ลดการตึงตัว ของกลามเนื้อที่มักจะมีการหดเกร็งจากการใชงาน ติดตอกันอยางยาวนาน ซึ่งการยืดเหยียดนี้สามารถ เริ่มทำไดตั้งแตชวงที่ยังมีอาการปวดอยู ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการใชงานกลามเนื้อ ใหเหมาะสมโดย การบริหารตนคอ สะบัก ไหล แขน มือ เอวและหลัง อยางถูกวิธี โดยตองอาศัยความใสใจและความสม่ำเสมอ ระหวางนั่งทำงานใหเปลี่ยนอิริยาบทเพื่อผอนคลาย กลามเนื้ออยางนอยทุก ๆ 1 ชั่วโมง เพื่อใหรางกาย ไดพักไปในตัว สรุปการบริหารรางกายอยางถูกวิธี รวมถึง การจัดทาการทำงานใหเหมาะสม การจัดโตะทำงาน ตามหลักการยศาสตร (Ergonomics) จะลดความ เสี่ยงและชวยปองกันกลุมอาการโรคออฟฟศซินโดรม และทำใหสภาพแวดลอมการทำงานเหมาะสม มากยิ่งขึ้น ผูเรียบเรียงบทความ อาจารยปณณวิชญ เดนสุมิตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตยะลา


Click to View FlipBook Version