The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่ม วารสารปีที่ 2 ฉบับที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gaiyasit boonyanupong, 2024-03-03 22:10:23

รวมเล่ม วารสารปีที่ 2 ฉบับที่ 4

รวมเล่ม วารสารปีที่ 2 ฉบับที่ 4

ปที่ 2 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2566 ปที่ 2 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2566 มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ขอแสดงความยินดี ขอแสดงความยินดี ดุษฎีบัณฑิตกิติมศักดิ์ ดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต และบัณฑิต มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ประจําปีการศึกษา 2565 ดุษฎีบัณฑิตกิติมศักดิ์ ดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต และบัณฑิต มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ ประจําปีการศึกษา 2565


PrEsIdEnT's tAlK SpOrTs AlL ArOuNd TnSu rEpOrT sHaRe & lEaRn สารบัญ ม.กีฬา วารสารมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ปที่ 2 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2566 บทบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ เลขที� 333 หมู่ 1 ถนนสุขุมวิท ตำบลหนองไม้แดง อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์ 0-3805-4235 เว็บไซต์ www.tnsu.ac.th 3 4 8 TnSu hAlL oF fAmE 13 sPoRtS sCiEnCe tIpS 14 eDuCaTiOn oVeRvIeW 6 10 7 cOvEr sToRy sPoRtS aNd tOuRiSm 12 15 สวัสดีปใหม พุทธศักราช 2567 วารสาร ม.กีฬา ฉบับนี้ เปนฉบับที่ 4 ปที่ 2 โดยไดกลาวถึงพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจำปการศึกษา 2565 ซึ่งในโอกาสนี้ กองบรรณาธิการ ขออำนวยพรใหบัณฑิตทุกทานประสบความสำเร็จในชีวิต นำความ ภาคภูมิใจมาสูตนเอง ครอบครัว และมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติตอไป นอกจากนี้ ยังขอกลาวอวยพรเนื่องในวาระดิถีขึ้นปใหม ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย จงดลบันดาลใหทานพรอมครอบครัว ประสบแตความสุข ความเจริญ ปราศจากทุกขโศก โรคภัยทั้งหลายทั้งปวง ตลอดป 2567 สำหรับวารสารฉบับนี้มีเนื้อหาที่นาสนใจประกอบดวย พิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ประจำปการศึกษา 2565 มหกรรมเอเชียนเกมสและเอเชียนพาราเกมส ขอมูลผลงานนักกีฬาเอเชียนเกมสและเอเชียนพาราเกมสของมหาวิทยาลัย รวมถึง ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ขาวคราวความเคลื่อนไหวของมหาวิทยาลัย การปรับปรุงหลักสูตรมหาวิทยาลัยการกีฬา แหงชาติ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568) แวดวงทองเที่ยวและกีฬา ตลอดจนเกร็ดนารู เกี่ยวกับ “คอรสดาบมือเดียว” การออกกำลังกายแบบประยุกตวิถีไทยดวยทากระบี่ กระบองสูการออกกำลังกายแบบกลุม สุดทายนี้หวังเปนอยางยิ่งวาวารสารฉบับนี้จะทำใหผูอานทุกทานรูจัก มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติมากขึ้น และขอขอบคุณที่ทานผูอานใหความสนใจ วารสาร ม.กีฬา พบกันใหมฉบับหนา นายบรรณากิจบรรจง ทองจำปา ที่ปรึกษา อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ 5 ฝาย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำวิทยาเขต 17 แหง ผูอำนวยการโรงเรียนกีฬา 11 โรง ผูประสานงานโครงการจัดตั้งโรงเรียนกีฬา 2 โรง คณบดี 3 คณะ ผูอำนวยการสำนักกีฬา ผูอำนวยการสถาบันพัฒนาบุคลากรทางการกีฬา ผูอำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผูอำนวยการกอง 9 กอง บรรณาธิการ นายบรรณากิจบรรจง ทองจำปา กองบรรณาธิการ ดร.อุไรวรรณ หวองสกุล ดร.ปภินวิชตฎ โพธิ์กาศ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไมตรี ไชยมงคล นายปติโชค จันทรหนองไทร นางสาวเมธารัต จุลละศร นางสาวขวัญชนก รอดภัย นางสาวฐิตยาพร สุระพล นายกายสิทธิ์ บุญญานุพงศ นายอันดานา จันทรสุข บรรณาธิการ tNsU HiGhTlIgHt


ม.กีฬา วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 3 นับตั้งแตผมไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ จนกระทั่งป พ.ศ. 2566 ผานพนไป ขึ้นสูปใหม พ.ศ. 2567 สิ่งหนึ่งที่ผมประจักษใจ คือ ความรูความสามารถ ความเชี่ยวชาญและศักยภาพที่หลากหลายของบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัย และเชื่อมั่นวา ถาบุคลากรของมหาวิทยาลัยหรือชาว มกช. ตั้งใจทำอะไรแลว จะมุงมั่นทุมเททำอยางเต็มที่จนสำเร็จไดเปนอยางดี สมดังคติพจนที่มีรวมกันวา “กยิรา เจ กยิราเถนํ” ทำอะไร ทำจริง ผมขอชื่นชมและขอขอบคุณคณะกรรมการปฏิบัติหนาที่แทน สภามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ คณะกรรมการสภาวิชาการ คณะกรรมการบริหาร ประจำภาค คณะกรรมการวิทยาเขต คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะกรรมการทุกชุด ที่ไดเสียสละและทุมเทการทำงานเพื่อมหาวิทยาลัย ตลอดจนผูบริหาร ครู คณาจารย เจาหนาที่ นักเรียน นักศึกษา และผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝายทุกภาคสวน ที่ไดเปนฟนเฟองสำคัญ ในการขับเคลื่อนการพัฒนาการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยมาอยางตอเนื่อง ในป พ.ศ. 2566 มีเรื่องราวที่เราทุกคนไดประทับใจและภาคภูมิใจหลากหลาย เหตุการณดวยรอยยิ้มแหงความสุข ไมวาจะเปนการจัดงานวันคลายวันสถาปนามหาวิทยาลัย การจัดการแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬาแหงประเทศไทย การจัดการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ “พลศึกษาเกมส’ การรวมเปนกำลังใจใหกับนักเรียน นักศึกษาและ บุคลากรของมหาวิทยาลัยในการเปนตัวแทนทีมชาติไทยเขารวมการแขงขันกีฬาซีเกมส เอเชียนเกมสและเอเชียนพาราเกมส การประสานความรวมมือและเชื่อมโยงการดำเนินงาน ในกิจกรรมโครงการตาง ๆ ที่สอดคลองตามนโยบายกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา และ การจัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกผูสำเร็จการศึกษา ประจำปการศึกษา 2565 ผมขอแสดงความยินดีกับทุกความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการรวมพลังของทุกคนทุกฝาย และขอแสดงความยินดีกับผูไดรับปริญญากิตติมศักดิ์และผูสำเร็จการศึกษาทุกคนที่จะเปน ผลผลิตที่ทรงคุณคาในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติสืบไป ในวาระดิถีปใหม พ.ศ. 2567 ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย บารมีแหง องคพระพลบดี และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทุกทานเคารพนับถือ ไดโปรดบันดาลประทานพรใหทุกทาน สุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล เจริญดวยอายุ วรรณะ สุขะ พละ และประสบความสำเร็จดังที่มุงมาด ปรารถนาทุกประการ PrEsIdEnT's tAlK


มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเปน ลนพนหาที่สุดมิได ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให นายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี เปนผูแทนพระองคในพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรแกผูสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำ ปการศึกษา 2565 ในวันที่ 18 ธันวาคม 2566 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี อาคาร 6 อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี การจัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรในครั้งนี้ เปนครั้งแรก ที่มีผูสำเร็จการศึกษาครบทั้งสามระดับปริญญา ไดแก บัณฑิตในระดับ ปริญญาตรี มหาบัณฑิตในระดับปริญญาโท และดุษฎีบัณฑิตในระดับ ปริญญาเอก โดยผูสำเร็จการศึกษาประจำปการศึกษา 2565 มีจำนวนทั้งสิ้น 3,755 ราย จำแนกตามคณะ ประกอบดวย คณะวิทยาศาสตรการกีฬาและ สุขภาพ เปนบัณฑิต จำนวน 648 ราย คณะศิลปศาสตร เปนบัณฑิต จำนวน 387 ราย และมหาบัณฑิต จำนวน 3 ราย รวม 390 ราย และคณะศึกษาศาสตร เปนบัณฑิต จำนวน 2,679 ราย มหาบัณฑิต จำนวน 37 ราย และดุษฎีบัณฑิต จำนวน 1 ราย รวม 2,717 ราย ซึ่งผูสำเร็จการศึกษาทุกคนจากทุกคณะ ลวนเปนลูกพระพลบดีแหงรั้วเขียวขาวเหลืองที่สรางความภาคภูมิใจใหกับ ชาวมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ที่สะทอนถึงผลผลิตที่มีคุณภาพซึ่งไดใช ความพากเพียร วิริยะอุตสาหะ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษา เปนผูมีความรู คุณธรรม จริยธรรม และทักษะวิชาชีพอยางเชี่ยวชาญ เพื่อนำไปรับใชสังคม ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่ไดสรางชื่อเสียงดานตาง ๆ ใหกับ ประเทศชาติ ดังอัตลักษณที่วา “ทักษะดี มีน้ำใจนักกีฬา พัฒนาสังคม” 4 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ cOvEr sToRy


5 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ cOvEr sToRy นอกจากนั้น สภามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติไดอนุมัติใหปริญญากิตติมศักดิ์ ปการศึกษา 2565 แกผูทรงคุณวุฒิที่สมควรไดรับปริญญากิตติมศักดิ์ จำนวน 2 ทาน ดังนี้ 1. ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอรรถ นานา ไดรับปริญญาวิทยาศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิทยาศาสตรการกีฬาและการออกกำลังกาย 2. นายธนา ไชยประสิทธิ์ ไดรับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา พลศึกษาและกีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติขอแสดงความยินดีกับผูทรงคุณวุฒิที่ไดรับปริญญา กิตติมศักดิ์ บัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตทุกทาน และขอขอบพระคุณในความรวมมือ เปนอยางดีจากคณะกรรมการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการดำเนินงาน คณะผูบริหาร คณาจารย บุคลากร ผูปกครองญาติมิตรของผูสำเร็จการศึกษา และสื่อมวลชนทุกแขนง ตลอดจนการใหความอนุเคราะหอยางดียิ่งจากฝายที่เกี่ยวของ อาทิ กองพระราชพิธี สำนัก พระราชวัง สำนักงานฝายเสนาธิการในพระองค กองบัญชาการทหารมหาดเล็กราชวัลลภ รักษาพระองค ผูวาราชการจังหวัดนนทบุรี ผูพิพากษาศาลจังหวัดนนทบุรี ผูบัญชาการ มณฑลทหารบกที่ 11 ผูบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดนนทบุรี หนวยงานภายในจังหวัด นนทบุรี ฯลฯ อันสงผลใหการจัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกผูสำเร็จการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำปการศึกษา 2565 สำเร็จลุลวงดวยดีและบรรลุ วัตถุประสงคทุกประการ


SpOrTs aLl aRoUnD วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 6 เอเชียนเกมส เอเชียนเกมส (Asian Games) เปนการแขงขันกีฬาหลากชนิดระหวาง ประเทศในทวีปเอเชีย แรกเริ่มของเอเชียนเกมสเกิดเมื่อป พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913) ภายใตการนำของ อี.เอส.บราวน ประธานสมาคมกีฬาแหงหมูเกาะฟลิปปนส ของสหรัฐอเมริกา (The Philippines Athletic Association) และผูจัดการ แขงขันกีฬาคารนิวัลแหงกรุงมะนิลา (Manila Carnival Games) เชิญชวนให สาธารณรัฐจีน และ จักรวรรดิญี่ปุน (ชื่อในขณะนั้น) เขารวมการแขงขันที่จัดภายใตชื่อ “กีฬาชิงชนะเลิศแหงตะวันออกไกล (Far East Games)” ทวาในเวลาตอมา เกิดปญหาทางการเมืองระหวางจีนกับญี่ปุน การแขงขัน จึงตองสิ้นสุดลงในป พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937) หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สิ้นสุดลง มีการประกาศเอกราชเกิดขึ้นเปนหลายประเทศใหม ซึ่งประเทศใน แถบเอเชียทั้งหมดตางก็คาดหวังจะเห็นการแขงขันกีฬาภายในทวีปรูปแบบใหม ที่ไมมีการใชอิทธิพลเขาครอบงำ หากแตจะรวมกันเสริมสรางความเขมแข็ง ภายใตความเขาใจซึ่งกันและกัน จากนั้นในป พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) กลุมนักกีฬาของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน และฟลิปปนส ซึ่งเขารวมแขงขันในโอลิมปกฤดูรอน ครั้งที่ 14 ที่กรุงลอนดอนแหงสหราชอาณาจักร ตองการที่จะฟนการแขงขันกีฬาตะวันออกไกล ขึ้นมาใหม และกูรู ดัตท สนธิ (Guru Dutt Sondhi) ผูแทนคณะกรรมการ โอลิมปกแหงอินเดีย (ขณะนั้น) มองเห็นวา ควรจะเปดกวางใหทุกประเทศ ในทวีปเอเชีย สามารถเขารวมการแขงขันไดอยางเทาเทียมกัน จึงเสนอใหราง ระเบียบขึ้น เพื่อจัดตั้งขึ้นในรูปสหพันธกีฬาแหงเอเชีย (The Asian Athletic Federation) ตอมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) ธรรมนูญ องคกรก็เสร็จสมบูรณ พรอมทั้งเปลี่ยนชื่อเปน สหพันธกีฬาเอเชีย (The Asian Games Federation) “เอเชียนเกมส” จึงถือกำเนิดขึ้นที่กรุงนิวเดลีแหงอินเดีย ซึ่งเปนเจาภาพการแขงขันครั้งที่ 1 ของเอเชียนเกมส เอเชียนเกมส จะจัดขึ้นทุก 4 ป และจะจัดการแขงขันกันเปนระยะเวลากวา 2 สัปดาห โดยเอเชียนเกมสเริ่มแขงขันครั้งแรกในป พ.ศ.2493 (ค.ศ. 1950) ณ กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย โดยมี 11 ประเทศเขารวม ผูเขารวมการแขงขัน จำนวน 489 คน 6 ชนิดกีฬา สำหรับครั้งตอไปซึ่งเปนคันที่ 20 จัดขึ้นในป พ.ศ. 2569 (ค.ศ. 2026) ณ เมืองนาโงยะ ประเทศญี่ปุน ตลอดระยะเวลาที่มีการแขงขัน เอเชียนเกมส ปรากฏวามีการแขงขันกีฬาทั้งหมด 45 ชนิด ประเทศที่เขารวมแขงขัน กีฬาในเอเชียนเกมสครบทุกประเภท มีทั้งหมด 7 ประเทศ ไดแก อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุน ฟลิปปนส ศรีลังกา สิงคโปร และไทย ซึ่งญี่ปุนและจีน เปนเพียงสองประเทศ ในประวัติศาสตร ที่ไดรับเหรียญรางวัลมากที่สุด เอเชียนพาราเกมส กีฬาเอเชียนพาราเกมส (Asian Para Games) เปนการแขงขันกีฬา สำหรับคนพิการระหวางประเทศของเอเชีย ซึ่งตามปกติจะมีการจัดแขงขันทุก 4 ป โดยคณะกรรมการพาราลิมปกเอเชีย (Asian Paralympic Committee หรือ APC) การแขงขันจัดขึ้นครั้งแรกในป พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ณ เมืองกวางโจว สาธารณรัฐ ประชาชนจีน หลังจากเอเชียนเกมสครั้งที่ 16 โดยมี 41 ประเทศเขารวม ผูเขารวมการแขงขัน จำนวน 2,405 คน 19 ชนิดกีฬา สำหรับครั้งตอไปเปน ครั้งที่ 5 จัดขึ้นในป พ.ศ. 2569 (ค.ศ. 2026) ณ เมืองนาโกยา ประเทศญี่ปุน ขอขอบคุณขอมูลและภาพจากกรมพลศึกษา


กวาจะเปนมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ tNsU hAlL oF fAmE 7 นางสาวสุกานดา เพชรรักษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตตรัง เหรียญเงิน กีฬากรีฑา นางสาวเสาวลักษณ หอมกลิ่น มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตกรุงเทพ เหรียญทองแดง กีฬาคูราช นางสาวจันทรแจม สุวรรณเพ็ง มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตสุโขทัย เหรียญเงิน กีฬามวยสากล นางสาวอรภา เสนาธรรม มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตชลบุรี เหรียญทองแดง กีฬายูยิตสู นางสาวดวงอักษร ใจดี มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตเชียงใหม เหรียญทองแดง กีฬายกน้ำหนัก นางสาวธิติมา สุขรัตน โรงเรียนกีฬาจังหวัดเชียงใหม เหรียญทองแดง กีฬาเรือพาย นางสาวนันธิดา กระจางแจม มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตเชียงใหม เหรียญทองแดง กีฬาเรือพาย นางสาวเบญจมาศ วรนุช มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตลำปาง เหรียญทองแดง กีฬาเรือพาย นางสาวจิราวรรณ หาญคำหลา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตเชียงใหม เหรียญทองแดง กีฬาเรือพาย นางสาวอนุธิดา แซเฮง มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตเชียงใหม เหรียญทองแดง กีฬาเรือพาย นายจักริน ดำมุนี มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตกระบี่ 2 เหรียญทอง กีฬากรีฑา นางสาวอรวรรณ ไกรสิงห มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตกรุงเทพ เหรียญเงิน กีฬากรีฑา นางสาวดารารัตน อาสายุทธ มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตชัยภูมิ เหรียญทองแดง กีฬาเทเบิลเทนนิส


TnSu hIgHlIgHt วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 8 การดำเนินงานของคณะกรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ดำเนินการโดยผานการประชุมเปนสำคัญ ซึ่งในรอบป พ.ศ. 2566 มีการประชุมรวม 17 ครั้ง สามารถสรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญ ไดดังนี้ 1. เห็นชอบแผนพัฒนามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พ.ศ. 2566 – 2570 และแผนพัฒนามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พ.ศ. 2566 – 2570 (ฉบับปรับปรุง) ปงบประมาณ พ.ศ. 2567 แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ป พ.ศ. 2566 – 2570 มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ แผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 และประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 นโยบายการกำกับดูแลองคการที่ดี (Organization Governance) มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 และประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2567 รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 2 (1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565) และประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 2 (1 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566) และรายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการกำกับดูแลองคการที่ดี มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 และประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. อนุมัติเปลี่ยนแปลงรายชื่ออาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและอาจารยประจำหลักสูตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ จำนวน 1 หลักสูตร คณะศิลปศาสตร จำนวน 16 หลักสูตร และคณะศึกษาศาสตร จำนวน 16 หลักสูตร 3. เห็นชอบการจัดกลุมสถาบันการอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ใหอยูในกลุม (5) กลุมผลิตและพัฒนาบุคลากรวิชาชีพ และสาขาจำเพาะ 4. รับทราบรายงานประจำป 2564 ของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน จากการจัดการศึกษา ปการศึกษา 2565 รายงานผลการตรวจสอบรายงานการเงิน สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 ของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ แผนการรับนักศึกษามหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ ปการศึกษา 2567 รายงานขอมูลบุคลากรและนักกีฬา สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ที่เขารวมการแขงขันกีฬาระดับนานาชาติ เดือนกันยายน 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2566 ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 การแขงขันกีฬาซีเกมส ครั้งที่ 32 การแขงขันกีฬาอาเซียนพาราเกมส ครั้งที่ 12 การแขงขันกีฬาโรงเรียนกีฬา แหงประเทศไทย ครั้งที่ 24 “นครลำปางเกมส” การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ครั้งที่ 46 “พลศึกษาเกมส” การแขงขันกีฬาเอเชียนเกมส ครั้งที่ 19 “หางโจวเกมส 2022” และการแขงขันกีฬาเอเชียนพาราเกมส 2022 ครั้งที่ 4 และรายงานขอมูลบุคลากรที่ไดรับการพัฒนาดานผูฝกสอนกีฬา ผูตัดสินกีฬา และนักวิทยาศาสตรการกีฬา ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 5. อนุมัติการใหปริญญาแกผูสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ปการศึกษา 2565 จำนวน 3,755 ราย และปการศึกษา 2566 จำนวน 128 ราย และเห็นชอบมอบปริญญากิตติมศักดิ์ ปการศึกษา 2565 แกผูทรงคุณวุฒิ จำนวน 2 ราย ไดแก ศาตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอรรถ นานา ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตรการกีฬาและการออกกำลังกาย และนายธนา ไชยประสิทธิ์ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาพลศึกษาและกีฬา และเห็นชอบใหขยายเวลาการศึกษาของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม จำนวน 5 ราย 6. พิจารณาใหความเห็นชอบผูสมควรดำรงตำแหนงอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ 7. แตงตั้งรองอธิการบดี 3 ราย และรองอธิการบดีประจำวิทยาเขต 17 ราย และแตงตั้งรักษาการในตำแหนงคณบดีคณะวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ คณบดีคณะศิลปศาสตร และคณบดีคณะศึกษาศาสตร 8. แตงตั้งใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ดำรงตำแหนงรองศาสตราจารย โดยวิธีปกติ จำนวน 4 ราย และตำแหนงผูชวยศาสตราจารย โดยวิธีปกติ จำนวน 17 ราย 9. อนุมัติคำขอตั้งงบประมาณรายจาย (เงินรายได) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 และคำขอตั้งงบประมาณรายจาย (เงินรายได) ระหวางปงบประมาณ พ.ศ. 2566 และอนุมัติกันเงินงบประมาณรายจายเงินรายไดไวจายเหลื่อมป ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 และปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของหนวยงานในสังกัด มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ รวมทั้งรับทราบสรุปการขยายระยะเวลาการกันเงินงบประมาณรายจายเงินรายไดไวจายเหลื่อมป ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 10. พิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ดังนี้ 10.1 อนุมัติตั้งคณะกรรมการประเมิน เพื่อประเมินขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงครู ใหมีและเลื่อนวิทยฐานะ 10.2 อนุมัติตั้งคณะกรรมการประเมิน เพื่อประเมินขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงผูบริหารสถานศึกษา ใหมีและเลื่อนวิทยฐานะ 10.3 แตงตั้งใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงครู มีวิทยฐานะครูชำนาญการ จำนวน 38 ราย และตำแหนงครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ใหเลื่อนเปนวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ จำนวน 8 ราย 10.4 อนุมัติยายขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงคณาจารย จำนวน 5 ราย และตำแหนงครู จำนวน 3 ราย 10.5 เห็นชอบหลักเกณฑและวิธีการสอบแขงขันเพื่อบรรจุ และแตงตั้งบุคคลเขารับราชการเปนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงครูผูชวย สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ 10.6 เห็นชอบหลักเกณฑและวิธีการเตรียมความพรอมและพัฒนาอยางเขม ครูผูชวย โรงเรียนกีฬา สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ 10.7 อนุมัติบรรจุและแตงตั้งผูสอบแขงขันได ใหดำรงตำแหนงครูผูชวย จำนวน 14 ราย 10.8 อนุมัติคืนและจัดสรรอัตราวางของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ที่เกษียณอายุราชการ เมื่อสิ้น ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 30 อัตรา 11. แตงตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ คณะกรรมการสรรหาคณบดีคณะวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ คณะกรรมการการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ คณะกรรมการกลั่นกรองระเบียบและขอบังคับของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ คณะกรรมการพิจารณาตำแหนงทางวิชาการ คณะกรรมการพิจารณาคำขออนุมัติใชจายเงินรายไดของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ และผูปฏิบัติหนาที่ประธาน กรรมการบริหารประจำภาค อันอยูในหนาที่และอำนาจของสภามหาวิทยาลัย


TnSu HiGhLiGhT 9 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ “ ขอขอบคุณคณะกรรมการปฏิบัติหน�าที่แทนสภามหาวิทยาลัยการกีฬาแห�งชาติ คณะผู�บริหาร ข�าราชการครูและ บุคลากรทางการกีฬาของมหาวิทยาลัยการกีฬาแห�งชาติทุกคน ที่�ด�ปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2566 ที่ผ�านมาได�เรียบร�อย เป็นอย�างดี และขออำนวยอวยพรเนื่องในโอกาสวาระดิถีขึ้นปี�หม� พ.ศ. 2567 ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก โปรดจงดลบัลดาลประทานพรให�คณะกรรมการปฏิบัติหน�าที่แทนสภามหาวิทยาลัย การกีฬาแห�งชาติ ผู�บริหารมหาวิทยาลัยการกีฬาแห�งชาติ คณาจารย� ข�าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เจ�าหน�าที่ และนักเรียนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยการกีฬาแห�งชาติทุกคน จงมีความสุขตลอดปี พ.ศ. 2567 ” (พลตำรวจเอกสุนทร ซายขวัญ) ประธานกรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภามหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ นายถกล นันธิราภากร กรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พลเอกพอพล มณีรินทร นายแพทยพิชญา นาควัชระ นางญาใจ พัฒนสุขวสันต นายกุศล แยมสอาด นางศรีสุดา วนภิญโญศักดิ์ นายวิษณุ ไลชะพิษ กรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ กรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ กรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ กรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ กรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ กรรมการปฏิบัติหนาที่แทนสภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ


10 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ tNsU rEpOrT วันจันทรที่ 4 ธันวาคม 2566 เวลา 08.09 น. นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พรอมคณะผูบริหาร ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ นอมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 5 ธันวาคม “วันพอแหงชาติ” โดยมีพิธีบำเพ็ญกุศล พิธีถวายพานพุมและราชสักการะ และกิจกรรมจิตอาสา “เราทำความดีดวยหัวใจ” ณ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ขาว วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤศจิกายน 2566 ลงนามบันทึกทำขอตกลง ความรวมมือกับสมาคมกีฬาฟนดาบแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ณ เอฟ.บี.ที สปอรตคอมเพล็กซ จำกัด วันอาทิตยที่ 23 ธันวาคม 2566 ลงนามบันทึกทำขอตกลง ความรวมมือกับสมาคมกีฬาแฮนดบอลแหงประเทศไทย ณ โรงแรม เดอะซีซันส พัทยา จังหวัดชลบุรี วันอังคารที่ 26 ธันวาคม 2566 ลงนามบันทึกทำขอตกลง ความรวมมือกับสมาคมกีฬาคาราเตแหงประเทศไทย และสมาคม กีฬาเชียรแหงประเทศไทย ณ การกีฬาแหงประเทศไทย ระหวางวันที่ 13 - 15 ธันวาคม 2566 นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ไดรับเชิญเปนเกียรติ เขารวมงานการนิทรรศการและสัมมนา“ทิศทางกีฬาไทย” เนื่องใน โอกาสวันกีฬาแหงชาติ ประจำป 2566 โดยมีคณะผูบริหารมหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติสวนกลาง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ผูอำนวยการโรงเรียนกีฬา บุคลากรสำนักกีฬา และผูมีสวนเกี่ยวของ เขารวมชมงานนิทรรศการและสัมมนา และรับเกียรติบัตรในงานครั้งนี้ ซึ่งวัตถุประสงคในการจัดงานครั้งนี้ เพื่อนอมรำลึกถึงพระปรีชาสามารถของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ทรงชนะเลิศไดรับเหรียญทองในการแขงขันเรือใบ ในกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 และเพื่อใหคนไทยเห็นคุณคาของการกีฬา รวมทั้งเปนการเผยแพร ผลการดำเนินงานของคณะกรรมาธิการการกีฬา วุฒิสภา ที่สรางเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู แนวคิด ประสบการณ และแนวทางในการขับเคลื่อนและพัฒนาการกีฬาของชาติจาก ทุกภาคสวนที่เกี่ยวกับการกีฬาตอไป ณ หองโถงและหองจัดประชุม สัมมนา B1-1 ถึง B1-6 ชั้น B1 อาคารรัฐสภา วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน 2566 คณะผูบริหารจากมหาวิทยาลัย Chuxiong Normal University สาธารณรัฐประชาชนจีน ไดเดินทางมา ประชุมเจรจาความรวมมือและศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรูกับมหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ โดย นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ พรอมดวยรองอธิการบดีประจำวิทยาเขตชลบุรี ผูอำนวยการ โรงเรียนกีฬาจังหวัดชลบุรี คณะผูบริหารสวนกลาง คณาจารยและบุคลากรที่ เกี่ยวของไดเขารวมประชุมความรวมมือและใหการตอนรับอยางอบอุน ซึ่งทั้งสองฝายไดวางแผนในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา การแลกเปลี่ยนคณาจารย และบุคลากรโดยเฉพาะอยางยิ่งผูฝกสอนในชนิดกีฬาที่แตละฝายมีความเชี่ยวชาญ การทำงานวิจัยและนวัตกรรมรวมกัน การแลกเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณและ เทคโนโลยีตาง ๆ รวมถึงการเยือนและเขารวมกิจกรรมระหวางกัน ณ สำนักงาน อธิการบดี มหาวทิยาลัยการกีฬาแหงชาติ


tNsU rEpOrT ระหวางวันที่ 28 – 31 ตุลาคม 2566 นางสาวนิราวรรณ ตังจิว นักศึกษาชั้นปที่ 1 คณะวิทยาศาสตรการกีฬาและสุขภาพ มหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตชัยภูมิ เปนตัวแทนนักกีฬาทีมชาติไทย เขารวม การแขงขันกีฬาตอสูโลก World Combat Games 2023 โดยผลการแขงขัน ควาเหรียญทองมวยไทยสมัครเลน รุน 48 กิโลกรัมหญิง ณ กรุงริยาด ประเทศซาอุดิอาระเบีย ระหวางวันที่ 7 - 9 ธันวาคม 2566 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนกีฬา จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 2 คน เปนตัวแทน ยุวชนทีมชาติไทย เขารวมการแขงขันรายการ Athletics Association of Thailand 5th SEA Youth Athletic Championships 2023 ณ สนามศุภชลาศัย ประเทศไทย โดยผลการแขงขัน นายกิตติศักดิ์ เสวะกะ ควา 1 เหรียญทอง ประเภทกระโดดสูง ชาย ดวยสถิติ 1.99 เมตร และนายอับบาส วงศศักดิ์ ควา 1 เหรียญทองแดง ประเภทขวางคอน ชาย ดวยสถิติ 50.66 เมตร ระหวางวันที่ 4-10 ธันวาคม 2566 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนกีฬา จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 2 คน เปนตัวแทน ทีมชาติไทย เขารวมการแขงขันกีฬามวยปล้ำ Southeast Asian Wrestling Championship 2023 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา โดยผลการแขงขัน นางสาวสุวรรณกัลยา ศรัทธาอนันต ควา 1 เหรียญทอง ประเภท ฟรีสไตลหญิง รุนน้ำหนัก 53 กิโลกรัม และ นายเจษฎา รัตนพันธ ควา 1 เหรียญเงิน ประเภทฟรีสไตลชาย รุนน้ำหนักไมเกิน 57 กิโลกรัม ระหวางวันที่ 18 - 19 พฤศจิกายน 2566 มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขต มหาสารคาม นำทัพนักกีฬารักบี้ฟุตบอล และ คณะผูฝกสอน เขารวมการแขงขันกีฬารักบี้ Rugby Vientians 10s International Championship 2023 ผลการแขงขันประเภท ทีมชาย ควารางวัลชนะเลิศ และประเภท ทีมหญิง ควารางวัลรองชนะเลิศ ณ นครหลวง เวียงจันท สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 11 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ


12 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ sHaRe & lEaRn การออกแบบหลักสูตรตามกรอบของการจัดการศึกษามุงที่ผลลัพธ Outcome Based Education หรือ OBE มีกรอบแนวคิดเริ่มจากการสรางผลลัพธการเรียนรูของ หลักสูตร Program Learning Outcome หรือ PLOs ที่ไดจากความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย ซึ่งมีอิทธิพลและสงผลกระทบตอหลักสูตร และแสดงใหเห็นวาบัณฑิตที่สำเร็จ การศึกษาจากหลักสูตรสามารถทำอะไรไดบาง และตองบรรลุผลลัพธการเรียนรูของหลักสูตรทุกขอ จากนั้นนำ PLO มาออกแบบโครงสรางและเนื้อหาสาระหลักสูตร เพื่อให บรรลุ PLO ที่กำหนดไว หลักสูตรตองเชื่อมโยง PLO ลงสูผลลัพธการเรียนรูระดับรายวิชา ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู และการประเมินผลลัพธการเรียนรูใหสอดลองกับ PLO รายละเอียดการออกแบบหลักสูตร 1. Stakeholder Requirement การระบุความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย เปนกระบวนการในการระบุ Key Stakeholders ทั้งภายในและภายนอก มีอิทธิพล และสงผลกระทบตอหลักสูตร เชน ความตองการจำเปนของผูใชบัณฑิต เสียงสะทอน จากศิษยเกา ทักษะในศตวรรษที่21 ผลลัพธของผูเรียนตามกรอบมาตรฐานอุดมศึกษา (Desired Outcome of Education) หรือ DOE กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ หรือ TQF สภาวิชาชีพ วิสัยทัศนและอัตลักษณของมหาวิทยาลัย ผลลัพธการเรียนรูในกลุมวิชา ศึกษาทั่วไป (GE) เปาหมายและวัตถุประสงคของหลักสูตร และทักษะการเรียนรู ตลอดชีวิต เพื่อนำความตองการที่จำเปนของผูมีสวนไดสวนเสียดังกลาวมากำหนด เปนองคความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) เจตคติ (Attitude) ที่จำเปนตองมี ของบัณฑิตที่ตอบสนองความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย แลวนำขอมูลนั้น มาทำการวิเคราะห สังเคราะหเพื่อหาขอสรุปเพื่อกำหนดคุณลักษณะของบัณฑิต ที่พึงประสงคในขั้นตอนที่ 2 2. Perfect Graduates at the end of Program กำหนดคุณลักษณะที่เปนเลิศของบัณฑิตหลังจากจบหลักสูตร เปนกระบวนการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลจาก Stakeholder Need ในขอที่ 1 เพื่อคนหาประเด็นที่สำคัญของคุณลักษณะที่พึงประสงค (Attribute) ของบัณฑิต ที่สำคัญและจำเปน และคุณลักษณะที่พึงประสงคตองมี อัตลักษณที่โดดเดน และแตกตางจากคูแขงขันหรือสถาบันอื่นที่สอนในหลักสูตรเดียวกัน และตอบสนองความตองการจำเปน ของ Stakeholder ไดครอบคลุม การกำหนด Perfect Graduate เปนการกำหนดภาพรวมของบัณฑิตที่จบที่เปนนามธรรม (Abstract) และตองนำทุกประเด็นในคุณลักษณะ ที่พึงประสงคมากำหนด PLO ใหครบทุกประเด็น และเพื่อใหเปนรูปธรรม สังเกตและวัดผลได จะตองมีการถอดคุณลักษณะดังกลาวใน PLO ที่จะกำหนดในขั้นตอนที่ 3 3. Program Learning Outcome (PLO) ผลลัพธการเรียนรูในหลักสูตร เปนกระบวนการในการนำขอมูลที่ไดจาก ขอ 2 ที่ระบุไวขางตนมาทำการกำหนดเปน PLO โดยการเขียน PLO ตามกรอบของ OBE ประกอบไปดวย 2 กลุม ไดแก ผลลัพธการเรียนรูเฉพาะดาน (Subject Specific LO) เปนสิ่งที่ผูเรียนในสาขาทำได และในสาขาอื่นทำไมได และผลลัพธการเรียนรูทั่วไป (Subject Generic LO) เปนสิ่งที่ ผูเรียนตางสาขากันสามารถทำเหมือนกันได ในการเขียนแตละ PLO จะตองเขียนเปนประโยคที่บงชี้วาผูเรียนที่จบจากหลักสูตรสามารถทำอะไรไดและผูเรียนตองเขาใจในแตละ PLO การเขียน PLO ประกอบดวย 3 สวนที่สำคัญ ไดแก Action Verb (Bloom’s Taxonomy) + Object + Qualifying Phrase ในการเขียน Action Verb สามารถนำ Bloom’s Taxonomy มาใชเปนแนวทางในการเขียนทั้งลำดับขั้น Cognitive Domain ลำดับขั้น Psychomotor Domain และลำดับขั้น Affective Domain โดยในแตละ PLO ตองมี Action Verb ประเด็นเดียว และเปนการสะสมผลลัพธการเรียนรูของบัณฑิตตลอดที่เรียนในหลักสูตรจนกระทั่งจบในหลักสูตร และในแตละ PLO ตองสามารถ สังเกต และวัดประเมินผลผลลัพธการเรียนรูได โดย PLO ตองสะทอน Stakeholder Requirement ที่ครบทุกประเด็น


13 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ eDuCaTiOn oVeRvIeW 4. PLO Breakdown การขยายผลลัพธการเรียนรูในหลักสูตรออกเปนขั้นตอน เนื่องจาก PLO ในแตละขอตองใชหลายขั้นตอนและกระบวนการในการที่ จะบรรลุผลลัพธการเรียนรูดังกลาว ทำใหตองมีการ Breakdown PLO ออกมา เปนขั้น ๆ โดยจะมีวิธีการในการ Breakdown ที่หลากหลายแตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับศาสตรแตละศาสตรมีรูปแบบการเรียนรูในรูปแบบไหน โดยทั่วไปจะมี การ Breakdown ตามลำดับขั้นการเรียนรูของ Bloom Taxonomy ทั้งองคความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) และ เจตคติ (Attitude) (KSA) เมื่อสามารถเขียน ออกมาไดทั้งหมด จะทำใหสามารถจัดกลุมออกมาเปนรายวิชา หรือ Module หรือ รายวิชาบังคับ (Core Subject) ควรประกอบไปดวยวิชาอะไรบาง จากขั้นตอนนี้ จะเริ่มเห็นความสัมพันธหรือเกี่ยวของกับ PLO ตรงไหน อยางไร โดยในขั้นตอนนี้ ทำใหหลักสูตรสามารถกำหนดชื่อรายวิชา การเขียนคำอธิบายรายวิชา (Course Description) ที่สามารถเห็นความเชื่อมโยงกับ PLO ได 5. Curriculum Mapping การกำหนดแผนผังผลลัพธการเรียนรูในหลักสูตร นำขอมูลในขั้นตอนที่ 4 มาใชกำหนดแผงผังผลลัพธการเรียนรู โดยในขั้นตอนนี้จะเริ่มเห็นความสัมพันธของรายวิชากับ PLO และเห็นลำดับขั้นของรายวิชาวา วิชาไหนควรเรียนกอน หรือวิชาไหนควรเรียนทีหลัง สามารถจัดเรียงลำดับของรายวิชาออกมาเปน Module หรือ ผลลัพธการเรียนรูรายป (Yearly Learning Outcome) ในขั้นตอนนี้จะทำใหอาจารยผูสอนสามารถนำรายวิชาตาง ๆ ที่กำหนดไวในแผนผังผลลัพธการเรียนรู ไปออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล ใหสอดคลองกับผลลัพธกับเรียนรูดังกลาว (Constructive Alignment) 6. Constructive Alignment ความสอดคลองของ PLO กับ การจัดการเรียนการสอนและการประเมินผล ในขั้นตอนนี้ อาจารยผูสอนในรายวิชาตาง ๆ เริ่มนำ PLO ไปใชในการออกแบบหลักสูตรในเรื่องของการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลลัพธการเรียนรู โดยทั้ง PLO รูปแบบการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลจะตองสอดคลองกัน 7. Outcome Verification การทวนสอบผลลัพธการเรียนรู ในขั้นตอนนี้เปนการตรวจสอบผลลัพธการเรียนรูวาเปนไปตามที่วางแผนไวหรือไมอยางไร โดยทั่วไปการประเมินผลลัพธการเรียนรูสามารถประเมินในระหวาง กระบวนการ (Formative Assessment) และการประเมินหลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการ (Summative Assessment) เพื่อดูวาจะมีแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง ในกระบวนการการจัดการเรียนการสอนมีขอบกพรองอยางไร (Formative Assessment) แลวผลลัพธการเรียนรูของนักศึกษาควรปรับและพัฒนาอยางไร (Summative Assessment) เพื่อใหบรรลุผลลัพธการเรียนรูตามที่ระบุและวางแผนไว มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติไดดำเนินการออกแบบหลักสูตรตามกรอบของการจัดการศึกษามุงที่ผลลัพธ Outcome Based Education หรือ OBE โดยเริ่ม จากการสรางผลลัพธการเรียนรูของหลักสูตร Program Learning Outcome หรือ PLOs ที่ไดจากความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย จากนั้นนำ PLO มาออกแบบ โครงสรางและเนื้อหาสาระหลักสูตรเพื่อใหบรรลุ PLO ที่กำหนดไว โดยไดมีการจัดกิจกรรมพัฒนาหลักสูตรและมีความคืบหนาในการปรับปรุงหลักสูตรดังนี้ 1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2568) กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการยกรางหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ระหวางวันที่ 8 – 11 พฤศจิกายน 2566 ณ โรงแรมอลิซาเบธ กรุงเทพมหานคร กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการวิพากษหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ระหวางวันที่ 6 – 8 ธันวาคม 2566 ณ โรงแรมมิโด โฮเทล กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ การประชุมทั้ง 2 กิจกรรมดังกลาว ไดรับความรวมมือคณะกรรมการพัฒนาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ซึ่งเปนอาจารยมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ที่รับผิดชอบรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจากวิทยาเขต 17 แหง อีกทั้งไดรับเกียรติจากวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ ไดแก รองศาสตราจารย ดร.สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล และ ดร.มรกต กำแพงเพชร รวมเปนวิทยากรในการวิพากษหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2568) 2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568) กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการยกรางหลักสูตรมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2568) ระหวางวันที่ 20 – 24 พฤศจิกายน 2566 ณ โรงแรมรอยัลซิตี้ กรุงเทพมหานคร ในการประชุมดังกลาว ไดรับความรวมมือจากคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งเปนตัวแทนอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรจาก มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขต 17 แหง โดยการประชุมครั้งนี้ไดรับเกียรติ นางสาวนุชนภา รื่นอบเชย ที่ปรึกษาดานมาตรฐานอุดมศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และกรรมการสภาวิชาการ ใหเกียรติในการใหคำแนะนำแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2568)


14 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ SpOrTs aNd ToUrIsM วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พรอมดวย คณะผูบริหาร และบุคลากร เขารวมพิธีถวายผาพระกฐิน ณ วัดทาโพธิ์ (พระอารามหลวง) ตำบลทาวัง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมี นางสาวสุดาวรรณ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา เปนประธานในพิธี พรอมดวย หัวหนาสวนราชการ ผูบริหาร บุคลากรจากหนวยงาน ในสังกัด รวมทั้งพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราชเขารวมพิธี ดวยจิตศรัทธาอยางเนืองแนน พิธีถวายผาพระกฐินพระราชทาน ประจำป 2566 ณ วัดทาโพธิ์ (พระอารามหลวง) จังหวัดนครศรีธรรมราช วันที่ 2 ธันวาคม 2566 นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดี มหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ พรอมดวยบุคลากรกองกิจการนักเรียน นักศึกษา และกิจการพิเศษ คณาจารย และนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตภาคกลาง (กรุงเทพ สุพรรณบุรี สมุทรสาคร และอางทอง) เขารวม กิจกรรม Run for Unity วิ่งรวมใจไทยเปนหนึ่ง โดยมีเลขานุการรัฐมนตรี วาการกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา เปนประธานในพิธีเปดกิจกรรม Run for Unity พรอมกันทั่วประเทศ Run for Unity วิ่งรวมใจไทยเปนหนึ่ง วันที่ 2 ธันวาคม 2566 นายวิษณุ ไลชะพิษ ปฏิบัติหนาที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ เขารวมกิจกรรม Amazing Thailand Marathon Bangkok วิ่งผาเมือง โดยมีคณาจารย และนักศึกษา จากมหาวิทยาลัย การกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตชลบุรี เปนอาสาสมัครในกิจกรรมดังกลาว โดยทำหนาที่เปนเจาหนาที่ดูแลจุดใหน้ำ ในเสนทางแขงขัน และจุดบริการอาหารหลังเสนชัย Amazing Thailand Marathon Bangkok วิ่งผาเมือง


sPoRtS sCiEnCe tIpS 15 วารสาร ม.กีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ การอนุรักษศิลปะการตอสูดวยอาวุธไทยนับเปนสวนหนึ่งของมรดก วัฒนธรรมที่มีความเปนเอกลักษณของประเทศไทย ณ ปจจุบัน มีการทำงานใน หลายมิติ เชน การทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมผานเอกสาร ตำรา และสื่อมัลติมีเดีย สมัยใหม โครงการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม รวมถึงการนำเอาศิลปะการตอสูไทย ไปใชในกลุมออกกำลังกาย เพื่อสรางการรักษาสุขภาพที่มีความหลากหลาย และสนุกสนาน ในบริบทของมหาวิทยาลัยการกีฬาแหงชาติ ดานการทะนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม มีการสืบสานศิลปวัฒนธรรมการตอสู การปองกันตัวสมัยโบราณ ไวในลักษณะการละเลนของไทย ทั้งในหลักสูตรการสอนทางพลศึกษาและกีฬาไทย และโครงการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม รวมถึงการพัฒนารูปแบบการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพ ที่นำเอาการออกกำลังกายแบบประยุกตวิถีไทยดวยทากระบี่กระบอง ที่เปนศิลปวัฒนธรรมไทยมาพัฒนาตอยอดองคความรูและบูรณาการเขากับ การออกกำลังกายแบบกลุม (Group Exercises) เรียกวา “คอรสดาบมือเดียว” (One-Handed Sword Course) การออกกำลังกาย "คอรสดาบมือเดียว" นำเอารูปแบบการตอสูและ ศิลปวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับวิชาดาบไทยและวิชากระบี่กระบอง ที่มีความเปนเอกลักษณ เฉพาะตัวในดานการรายรำและตอสูดวยดาบ เรียกวา “ไมรำ และ ไมตี” (Phutthaphimsen, 2020) มาบูรณาการและพัฒนาการเคลื่อนไหวให เขากับจังหวะดนตรี ที่นิยมใชในการออกกำลังกายแบบกลุมในปจจุบัน แบงเปน 3 ชุด ไดแก ชุด 1 พื้นฐานการโจมตีดวยดาบ ชุด 2 พื้นฐานการปองกันดวยดาบ และ ชุด 3 พื้นฐานการตอสูดวยมวยไทย (Chomsahai et al., 2022) ดังนี้ •Track ระดับงาย เปนการเคลื่อนไหวเพื่อทักษะพื้นฐานในการใชดาบ ควบคูกับการออกกำลังกาย โดยเนนการจดจำทาพื้นฐานในชุดที่ 1 - 3 •Track ระดับปานกลาง เปนการประยุกตทาทางเลียนแบบการตอสู มีการเคลื่อนไหวตอเนื่อง จำนวน 16 เคาะ หรือจังหวะดนตรี •Track ระดับยาก เปนการประยุกตทาทางเลียนแบบการตอสู มีการเคลื่อนไหว ตอเนื่อง จำนวน 32 เคาะ หรือจังหวะดนตรี และมีความหลักในการออกแรงที่เร็ว ทำใหมีความหนักในการออกกำลังกายสูง การทดลองโปรแกรมการออกกำลังกายแบบกลุม “คอรสดาบมือเดียว” ที่มีตอสมรรถภาพทางกาย (Chomsahai et al., 2022) ผูที่เขารวมการทดลอง มีความสัมพันธกับองคประกอบของสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธกับสุขภาพ ดานความแข็งแรงของกลามเนื้อ และความอดทนของกลามเนื้อมีการพัฒนาที่ดีขึ้น อีกทั้งประสบการณที่ไดรับจากการเขาคอรสออกกำลังกาย “ดาบมือเดียว” ในเชิงการอนุรักษศิลปะการตอสูดวยอาวุธไทย คอรสออกกำลังกาย “ดาบมือเดียว” เปนประสบการณใหมที่ผูเขารวมการออกกำลังกายไดเรียนรูศิลปะการตอสูดวยอาวุธไทย ไดเรียนรูทักษะการใชอาวุธดาบไทยและนำมาประยุกตใชเปนอุปกรณออกกำลังกาย เริ่มตนดวยการถวายบังคมเพื่อเคารพบูชาครูตามศิลปวัฒนธรรมไทย ซึ่งเปนการปฏิบัติ ที่สำคัญและเปนการแสดงความเคารพตอครูและสิ่งที่มีคาในวัฒนธรรมไทย จากนั้นเขาสูสวนของการออกกำลังกาย กลุมตัวอยางจะไดเรียนรูทาทางการใช อุปกรณดาบ รวมถึงรูปแบบการโจมตีและการปองกันดวยดาบ เปนการฝกพื้นฐาน การตอสู เชน การตัดและการแทงดวยดาบไทย ประกอบกับการหลบเลี่ยง การปองกันตัว การบังคับดาบไมทำใหเกิดความเสียหาย หรือ การตอสู ใกลชิดดวยดาบ เปนสวนหนึ่งของการถายทอดศิลปวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับวิชาดาบไทย และวิชากระบี่ กระบอง (Phutthaphimsen, 2020) นับวาเปน Sofe power ที่มีเอกลักษณ เฉพาะตัวในดานการรายรำ และตอสูดวยกระบี่ ทำใหมีการตอบสนองดานสุขภาพกาย ดานจิตใจ ดานสัมพันธภาพทางสังคม และดานสิ่งแวดลอมดีขึ้น การพัฒนาคอรสออกกำลังกายที่ใชวิชากระบี่กระบอง เปนศาสตร การตอสูไทยเปนแนวคิดที่นำเอาศิลปะการตอสูที่มีความเปนเอกลักษณของไทย มาใชในกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพทั้งในดานรางกายและจิตใจ โดยเปาหมายหลัก คือ การผสมผสานระหวางศิลปะการตอสูทางไทย และกิจกรรม ทางกายเพื่อสรางประสบการณที่นาสนุก และมีประโยชนตอสุขภาพของผูเรียน นอกจากนี้ยังสงเสริมความรูและความเขาใจในศิลปะและวัฒนธรรมไทยอีกดวย ทา 1 ตีบนขวา-ซาย ทา 2 ตีลางขวา-ซาย ทา 3 ตีกลางขวา-ซาย ทา 4 ตีบนกลาง ทา 5 แทงกลาง ทา 6 กันบนขวา-ซาย ทา 7 กันลางขวา-ซาย ทา 8 กันกลางขวา-ซาย ทา 9 กันบนกลาง ทา 10 กันแทงกลาง ทา 11 เตะขวา-ซาย ทา 12 ถีบขวา-ซาย ทา 13 เขาขวา-ซาย ทา 14 หมัดตรงซาย ทา 15 ศอกซาย ชุด 1 พื้นฐานการโจมตีดวยดาบ ชุด 2 พื้นฐานการปองกันดวยดาบ ชุด 3 พื้นฐานการตอสูดวยมวยไทย


คติพจน์ “กยิรา เจ กยิราเถนํ” ทําอะไรทําจริง FACEBOOK.COM /TNSUCENTER TEL.0-3805-4235 TNSU.AC.TH


Click to View FlipBook Version