The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของในหลวงรัชกาลที่ 10

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ผลงานเพื่อการศึกษา, 2020-07-27 15:39:14

ในหลวงรัชกาลที่ 10

พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของในหลวงรัชกาลที่ 10

Keywords: รัชกาลที่ 10

รัชกาลท่ี 10

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสินทร
มหาวชริ าลงกรณ มหศิ รภมู พิ ลราชวรางกูร กติ สิ ิริ
สมบรู ณ์อดุลยเดช สยามนิ ทราธิเบศรราชวโรดม
บรมนาถบพติ ร พระวชิรเกล้าเจ้าอย่หู วั

อ่านออกเสียงว่า [พรฺ ะ-บาด-สม-เดด็ -พรฺ ะ-ปะ-ระ-
เมน-ทะฺ -รา-มา-ทบิ -บอ-ด-ี สี-สนิ -มะ-หา-วะ-ช-ิ รา-ลง-
กอน-มะ-ห-ิ สอน-พ-ู ม-ิ พน-ราด-ชะ-วะ-ราง-กูน ก-ิ ต-ิ
ส-ิ ริ-สม-บูน-อะ-ดุน-ยะ-เดด สะ-หยาม-มนิ -ทรา-ท-ิ
เบด-ราด-วะ-โร-ดม บอ-รม-มะ-นาด-ถะ-บอ-พดิ พฺ
ระ-วะ-ช-ิ ระ-เกลฺ ้า-เจ้า-อยู่-หวั ]

พระราชประวัติ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดินทร
เทพยวรางกรู มีพระนามเม่ือแรกประสตู ิ วา่
“สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าวชิราลงกรณ
บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศร ธารงสุบริบาล
อภคิ ุณูประการมหติ ลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกูร
กติ ตสิ ิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตตยิ ราชกุมาร” เป็ นพระราชโอรสพระองค์
เดียวในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) และ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ ณ พระที่นั่ง
อมั พรสถาน พระราชวงั ดสุ ิต เม่ือวนั จนั ทร์ท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495
เวลา 17:45 น.

พ่นี ้อง

มีพระเชษฐภคินี 1 พระองค์ คือ สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าอุบลรัตนราช
กญั ญา สิริวัฒนาพรรณวดี และพระขนิษฐภคนิ ี 2 พระองค์ คือ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิ ยชาติ
สยามบรมราชกุมารี และสมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ าจุฬาภรณวลัยลักษณ์
อคั รราชกุมารี

การศกึ ษา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ทรงสาเร็จการศึกษา
ขนั้ ต้นในระดบั อนุบาล รุ่นท่ี 2 จากโรงเรียนจติ รลดา แล้วจงึ เสดจ็ ฯ ไปทรงศกึ ษาต่อ
ในระดบั ประถมศกึ ษาท่โี รงเรียนคงิ ส์มดี แคว้นซสั เซกส์ และศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษา
ท่โี รงเรียนมลิ ฟิ ลด์ แคว้นซอมเมอร์เซทประเทศองั กฤษ

หลังจากนัน้ ทรงศึกษาต่อวิชาทหารท่ีโรงเรียนคิงส์สกูล ซิดนีย์ ประเทศ
ออสเตรเลีย เสร็จแล้ว ทรงการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอักษรศาสตร์ (ด้าน
การทหาร) จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย เม่อื พ.ศ. 2519

โรงเรียนเสนาธิการทหารบก รุ่นท่ี 46

นอกจากนี้ ยงั ทรงศกึ ษาต่อท่โี รงเรียนเสนาธกิ ารทหารบก รุ่นท่ี 46 เม่ือปี พ.ศ. 2520
ทรงเข้าศึกษาในสาขาวิชานิตศิ าสตร์ รุ่นท่ี 2 มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช เม่ือพ.ศ.2525
ทรงสาเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) และปี พ.ศ. 2533 ทรงได้รับ
การศึกษา ณ วทิ ยาลัยป้ องกันราชอาณาจกั รแห่งสหราอาณาจักร

พระราชพธิ ีสถาปนาเฉลิมพระนามาภไิ ธย
“สมเดจ็ พระยุพราช”

เม่ือวนั ท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลย
เดช (รัชกาลท่ี 9) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตงั้ การพระราชพธิ ี
สถาปนาเฉลิมพระนามาภไิ ธย สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าวชิราลงกรณ ให้
ดารงพระอสิ ริยยศ สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร
ตามโบราณขัตตยิ ราชประเพณี เพ่อื รับราชสมบัตปิ กครองราชอาณาจกั รสืบสนอง
พระองค์ โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า ..
“สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ ามหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร สริ ิกิ
ตยิ สมบรู ณสวางควัฒน์ วรขัตตยิ ราชสันตตวิ งศ์ มหติ ลพงศอดุลยเดช จกั รีนเรศ
ยุพราชวิสุทธ สยามมกุฎราชกุมาร”

พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พระเจ้าอย่หู วั รัชกาลท่ี 10

พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกเป็ นการดาเนินการตามคตนิ ิยมของศาสนาพราหมณ์ เพ่อื "ป่ าว
ประกาศให้เทวดารู้ว่าบดั นีจ้ ะมีพระมหากษัตริย์ หรือพระผู้เป็ นเจ้าเกดิ ขนึ้ อีกพระองค์หน่ึงแล้ว"
สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ทรงเป็ น
"พระมหากษัตริย์โดยสมบรู ณ์" หลังเข้าพธิ ีสรงพระมุรธาภเิ ษก ทรงรับนา้ อภเิ ษก และทรงสวม
พระมหาพชิ ัยมงกุฎ ทรงเฉลิมพระปรมาภไิ ธยว่า "พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรี
สินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอย่หู วั "

พระราชกรณียกิจ

1. ด้านการบนิ

เม่ือวันท่ี 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ทรงปฏิบัติหน้าท่ีครูการบินเคร่ืองบินขับไล่
แบบเอฟ-5 อี/เอฟ และพ.ศ. 2552 ทรงปฏิบัตหิ น้าท่ีนักบนิ ท่ี 1 เคร่ืองบนิ โบอิง้
737 –400 ในเท่ยี วบนิ สายใยรักแห่งครอบครัว ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภยั และ
จัดหาอุปกรณ์ด้านการแพทย์ สาหรับโรงพยาบาลใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
(เท่ียวบินท่ี ทีจี 8870 กรุงเทพมหานครถึงจังหวัดเชียงใหม่ และเท่ียวบินท่ี ทีจี
8871 จังหวัดเชียงใหม่ถงึ กรุงเทพมหานคร)

2. ด้านการทหาร

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดาเนินไป
เย่ียมท่ีตัง้ กองทหารหน่วยต่างๆ อยู่เสมอ จากการท่ีได้ทรงศึกษาด้านวิชาทหารมานาน
ทรงมีความรู้เช่ียวชาญอย่างมาก และได้พระราชทานความรู้เหล่านัน้ ให้แก่ทหาร 3
เหล่าทัพ ทรงปฏิบัตพิ ระองค์เป็ นแบบอย่างแก่นายทหาร เอาพระทยั ใส่ในความเป็ นอยู่
ทุกข์สุขของทหารผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาอย่างท่ัวถึง รวมทัง้ พระราชทานพระราชทรัพย์
ส่วนพระองค์ เป็ นทุนการศึกษาแก่บุตรของทหาร ส่ิงเหล่านีล้ ้วนก่อให้เกิดความเทดิ ทนู
และความจงรักภกั ดแี ก่เหล่าทหารเป็ นอย่างย่งิ
ซ่ึงในปัจจุบนั ทรงดารงพระยศทางทหารของ 3 เหล่าทพั ได้แก่ พลเอก พลเรือเอก และ
พลอากาศเอก ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการทหาร และทรงเข้าร่วมปฏิบัติการ
รบในการต่อต้านการก่อการร้ ายในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศไทย รวมทัง้ การคุ้มกันพืน้ ท่ีในบริเวณรอบค่ายผู้อพยพชาวกัมพูชา ท่ีเขาล้าน
จงั หวดั ตราด อกี ด้วย

3. ด้านการศึกษา

พระองค์พระราชทานพระราชานุญาตให้ใช้อาคารของกรมทหารมหาดเล็กราชวลั ลภ
รักษาพระองค์ เป็ นท่ีตัง้ ของโรงเรียนอนุบาลช่ือว่า โรงเรียนอนุบาลทหารมหาดเล็ก
ราชวัลลภ โดยในระยะแรกได้จัดการเรียนการสอนเฉพาะชัน้ อนุบาล ต่อมาโรงเรียน
ได้ย้ายไปท่ีจังหวัดนนทบุรี และได้รับพระราชทานช่ือใหม่ว่า “โรงเรียนอนุราช
ประสิทธ์ิ” นอกจากนี้ ยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สมทบเป็ นค่ า
ก่ อสร้ างโรงเรี ยนมัธยมศึกษาท่ีตั้งอยู่ในชนบทห่ างไกลคมนาคมไม่ สะดวก
กระทรวงศึกษาธิการได้สนองพระราชประสงค์ด้วยการน้อมเกล้าฯ ถวายโรงเรียนใน
ระดบั มัธยมศกึ ษาจานวน 6 โรงเรียน เป็ นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์

4. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระ
กรุณาโปรดฯ ให้สร้ างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชขึน้ เพ่ือให้การ
รักษาพยาบาลผู้เจ็บป่ วยในถ่ินทุรกันดาร พระองค์ทรงเป็ นองค์นายก
กิตติมศักด์ิของมูลนิธิโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช พระองค์มีพระราช
ปณิธานให้เอาใจใส่รักษาพยาบาลพสกนิกรของพระองค์ให้ปลอดภยั จาก
ความเจบ็ ไข้โดยท่วั หน้าเสมอกัน

5. ด้านศาสนา

สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ทรงปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจแทนพระองค์
ทรงประเคนผ้าไตร ประกาศนียบตั ร และพัดยศ ในการตงั้ ภิกษุ และ สามเณรเปรียญ เน่ืองในการพระราชพิธี ทรง
บาเพ็ญพระราชกศุ ล วิสาขบชู า ณ พระอโุ บสถวดั พระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรม มหาราชวงั พ.ศ. 2551

สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ทรงแสดงพระองค์เป็นพทุ ธมามกะท่ีวดั
พระศรีรัตนศาสดาราม เม่ือวนั ท่ี 3 มกราคม พ.ศ. 2509 ก่อนเสด็จพระราชดาเนินไปทรงศกึ ษาตอ่ ที่ประเทศองั กฤษ

นอกจากนี ้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชศรัทธาทรงผนวชใน
พระพทุ ธศาสนา โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชโปรดฯ ให้จดั การพระราชพิธีผนวช ณ พทั ธ
สมี าวดั พระศรีรัตนศาสดาราม ในวนั ท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็ นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็ นพระ
กรรมวาจาจารย์ สมเด็จพระธีรญาณมนุ ี (ธีร์ ปณุ ฺณโก) ถวายอนศุ าสน์ ได้รับถวายพระสมณนามว่า “วชิราลงฺกรโณ”
และได้ประทบั อยู่ ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร ตลอดจนทรงลาสกิ ขาในวนั ท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521
สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ ไปปฏิบตั ิพระราชกิจ
ทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งสม่าเสมอ เช่น เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพทุ ธมหามณี
รัตนปฏิมากร ณ วดั พระศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดกู าล เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงบาเพ็ญพระราชกศุ ล
ในวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา อาทิ วนั วิสาขบชู า วนั อาสาฬหบชู า วนั เข้าพรรษา และการถวายผ้าพระกฐินหลวง
ตามวดั ตา่ งๆ เป็นต้น

6. ด้านการเกษตร

สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู
เสด็จพระราชดาเนินไปทรงทาป๋ ยุ หมกั จากผกั ตบชวาและวชั พืชอน่ื ๆ
เป็นปฐมฤกษ์ เพื่อพระราชทานแกเ่ กษตรกร สาหรับนาไปใช้ในการ
เพาะปลกู เป็นการเพ่ิมผลผลติ ทีบ่ ้านแหลมสะแก ต.เดิมบาง อ.เดิม
บางนางบวช จ.สพุ รรณบรุ ี เมื่อวนั ท่ี 23 มีนาคม พ.ศ. 2528

7. ด้านการต่างประเทศ

วันท่ี 16 มีนาคม พ.ศ. 2554 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดนิ ทรเทพยวรางกูร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศม์ิ
พระวรชายาฯ โปรดให้ พล.อ.ท.ภักดี แสงชูโต นาผ้าห่มกันหนาว
20,000 ผืน ไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเหตุการณ์แผ่นดินไหวและ
คล่ืนสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 ท่ีประเทศญ่ีป่ ุน โดยมีนายกษิต
ภริ มย์ เป็ นผู้รับมอบ


Click to View FlipBook Version