The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

DRT Newspaper ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2023

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdrt2021, 2023-02-28 05:31:17

DRT Newspaper ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2023

DRT Newspaper ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2023

ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2023 หน้า 2 เร ิ ม ่ แล ้ ว หน้า 6


เมื่อวันที่ 31 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2566 ดร.พิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กรมการ ขนส่งทางราง (ขร.) ติดตามความก้าวหน้าโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี-ปากน้ าโพ ที่สถานีลพบุรีสถานีลพบุรี2 สถานี หนองทรายขาว สถานีบ้านหมี่สถานีบ้านตาคลีสถานีนครสวรรค์สถานีปากน้ าโพ และศูนย์ควบคุมการเดินรถนครสวรรค์โดยมี ดร.อรรถพล เก่าประเสริฐ. วิศวกรอ านวยการศูนย์โครงการพิเศษและก่อสร้าง นายไชยา วงศ์สิทธิพรรุ่ง วิศวกรโครงการฯ และ นายวัชรเกียรติ สุทธิวรรณา ผู้ช่วยวิศวกรโครงการฯ ฝ่ายโครงการพิเศษและก่อสร้าง การรถไฟแห่งประเทศไทย พร้อมด้วยบริษัท ที่ปรึกษาควบคุมงานและบริษัทผู้รับจ้างก่อสร้างให้การต้อนรับ กรมรางลงพื้นที่ติดตามโครงการ รถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี - ปากน ้าโพ กรมการขนส่งทางราง Department of Rail Transport www.drt.go.th กรมการขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม ส าหรับโครงการรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี-ปากน้ าโพ แบ่งเป็น 3 สัญญา ได้แก่ - สัญญาที่ 1 ช่วงบ้านกลับ-โคกกระเทียม 29 กิโลเมตร (ทางรถไฟยกระดับ 19 กม. และระดับพื้น 1O กม.) มีการก่อสร้างสถานีใหม่ 1 แห่ง คือ สถานีลพบุรี 2 บนทางหลวงหมายเลข 366 มีความก้าวหน้า ร้อยละ 81.72 - สัญญา 2 ช่วงท่าแค-ปากน้ าโพ ระยะทาง 116 กม. เป็นโครงสร้างระดับพื้นทั้งหมด โดยก่อสร้างสถานีใหม่ 6 สถานี และก่อสร้างทดแทนสถานีเดิม 11 สถานี มีความก้าวหน้าร้อยละ 75.72 และอาคารควบคุมการเดินรถ (CTC) ที่สถานีนครสวรรค์ 1 แห่ง คาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปีนี้ - สัญญา 3 งานระบบอาณัติสัญญาณฯ มีความคืบหน้าร้อยละ 26.33 โดยสถานีลพบุรี 2 เป็นสถานียกระดับรองรับรถไฟทางไกลและรถสินค้า ที่ไม่ได้มีปลายทางที่จังหวัดลพบุรี ส่วนสถานีลพบุรีแห่งเดิม ยังคงเปิดให้บริการส าหรับขบวนรถไฟชานเมือง เส้นทางกรุงเทพฯ - ลพบุรีขบวนรถไฟท้องถิ่นทุกขบวน ที่ชาวลพบุรีใช้เดินทางใน ชีวิตประจ าวัน รวมทั้งขบวนรถไฟท่องเที่ยว (KIHA 183) จะยังคงให้บริการเช่นเดิม ที่สถานีเดิม ไม่มีแผนที่จะยกเลิกการใช้งานหรือ การย้ายสถานีแต่อย่างใดซึ่งจะประสานขนส่งจังหวัดลพบุรีจัดให้มีระบบขนส่งสาธารณะเชื่อมต่อระหว่างสถานีลพบุรีเดิมและสถานี ลพบุรี 2 เพื่ออ านวยความสะดวกและลดผลกระทบต่อประชาชนผู้ใช้บริการรถไฟ และในส่วนของสถานีนครวรรค์ จะเป็นสถานี สร้างใหม่ขนาดใหญ่ โดยตัวอาคารของสถานีเดิมจะปรับปรุงให้ส าหรับเจ้าหน้าที่เพื่อใช้ปฏิบัติการเดินรถและระบบอาณัติสัญญาณ ในส่วนสถานีปากน้ าโพ เป็นสถานีอนุรักษ์(Renovate Station) ซึ่งมีความก้าวหน้าประมาณ ร้อยละ 16 ทั้งนี้กรมการขนส่งทางรางและการรถไฟแห่งประเทศไทย จะได้ร่วมประสานเร่งรัดการก่อสร้างโครงการรถไฟทางคู่ช่วงลพบุรี- ปากน้ าโพ ให้แล้วเสร็จภายในปี2566 DRT NEWS 2


กรมการขนส่งทางราง (ขร.) จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA ) และแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย No Gift Policyประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เมื่อวันจันทร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 เวลา O8.3O–16.OO น. ณ ห้องประชุมมนังคสิลา ชัน้2 ขร. และผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์) 1) เป็ นการป้องกัน หรือลดโอกาส ในการรับสินบน ผลประโยชน์ทับซ้อนในรูปแบบต่างๆ แก่เจ้าหน้าที่ของ ขร. 2) เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ของ ขร. มีจิตส านึกในการ ปฏิเสธการรับของขวัญและของก านัลทุกชนิดจากการปฏิบัติ หน้าที่ 3) เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรคุณธรรมและโปร่งใสของ ระบบราชการ ให้เข้มแข็งและยัง่ยืน 4) เพื่อสนับสนุนและยกระดับการด าเนินการภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและแผนการ ปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งของแนวทางในการ ประเมิน ITA ITAเสมือนเป็นเครื่องมือตรวจสุขภาพ การท างานประจ าปีที่มี ประสิทธิภาพ ที่มุ่งพัฒนาระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์และ เป็นเครื่องมือที่ส าคัญมาก ท าให้ได้รับทราบถึงสถานะและปัญหา การด าเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใส ซึ่งผลการประเมิน ที่ได้จะช่วยให้สามารถน าไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มี ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ สามารถอ านวย ความสะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดียิง่ขึน้ ส าหรับนโยบาย “งดรับ งดให้” ของขวัญ ของก านัลทุก ชนิดจากการปฏิบัติหน้าที่ (No Gift Policy) ถือเป็นเรื่อง ที่ ขร. ให้ความส าคัญเป็นอย่างมากจึงได้ออกประกาศเรื่อง นโยบาย “งดรับ งดให้” ของขวัญ ของก านัลทุกชนิดจาก การปฏิบัติหน้าที่ (No Gift Policy) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎหมาย/ระเบียบที่ เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ ที่ส าคัญเพื่อ ที่ผ่านมา ขร. ได้เข้าร่วมการประเมิน ITA เมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นปีแรก ซึ่งผลการประเมินของ ขร. มีพัฒนาการที่ดีขึ้น ตามล าดับ โดยเฉพาะในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขร. ผ่านเกณฑ์ การประเมินอยู่ในระดับที่ดี (A) โดยมีคะแนนอยู่ที่ 91.7O คะแนน และได้รับรางวัลเป็นโล่เกียรติยศส าหรับหน่วยงานภาครัฐ ประเภทหน่ วยงานระดับกรมที่มีพัฒนาการสูงที่สุดจาก นายกรัฐมนตรีทั้งนี้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขร. ยังคง ด าเนินการปลูกฝังเจ้าหน้าที่ทุกคน ให้ความส าคัญในการปฏิบัติ ตามกฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และมาตรการต่างๆ ในการในการ ปอ้งกันการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างตัง้ใจจริง กรมการขนส่งทางราง Department of Rail Transport www.drt.go.th กรมการขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม DRT NEWS 3


เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 ดร. พิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการ ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้าทางราง ครั้งที่1/2566 พร้อมด้วยนายอธิภู จิตรานุเคราะห์ รองอธิบดีฯ แล ะผู้บริหารจากกรมการขนส่งทางราง ร่วมด้วยผู้แทนภาครัฐ ภาค เอกชน เข้าร่วม การประชุมดังกล่าวจัดขึ้น ณ ห้องประชุมมนังคศิลา กรมการขนส่งทางราง และผ่านช่องทางออนไลน์ ที่ประชุมได้ เสนอ (ร่าง) แผนปฏิบัติการการส่งเสริมการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้าทางราง ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566 – 257O) โดยมีกรอบการจัดท าแผนทั้งหมด 4 พันธกิจ ประกอบด้วย พั นธกิ จที่ 1 ก ารพั ฒนา โครงสร้ างพื้ นฐาo(Infrastructure Development) พันธกิจที่ 2 การบริหารจัดการ (Management) พั นธกิ จที่ 3 ก า รบ ริ ห า ร จั ดก า รค ว ามต้ องก า ร (Demand Management) พันธกิจที่ 4 การสนับสนุนกฎข้อบังคับ (Supportive Regulations) รวม 96 โครงการ/กิจกรรม วงเงินรวม 5O6,459.2O ล้านบาท ทั้งนี้ภาคเอกชนเสนอว่าในภาคกลางบริเวณแม่น้ าปา่สัก อ.นครหลวง จ.อยุธยา มีการขนส่งสินค้าเกษตรมาจากภาคอีสาน และภาคเหนือเป็นจ านวนมาก แต่เส้นทางรถไฟมาถึงแค่สถานีบ้านภาชี ท าให้เป็น Missing Link ประมาณ 17 กม. ที่ควร ต่อขยายเส้นทางรถไฟมาให้ถึงบริเวณนี้เพื่อให้สามารถขนสินค้า จากภาคเหนือและอีสานทางรางให้มาเชื่อมต่อกับทาง ล าน้ าปา่สัก-เจ้าพระยา และออกสู่ทะเล รวมทั้งในทางกลับกันด้วย และให้ภาครัฐเร่งจัดหาหัวรถจักร ให้เพียงพอต่อความ ต้องการของภาคเอกชนที่มีความต้องการขนส่งสินค้าทางรางจ านวนมาก โดยประธานการประชุมได้มอบหมายให้หน่วยงาน กลับไปพิจารณาและเสนอความเห็นกลับมายังกรมการขนส่งทางรางภายในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 เพื่อจัดท าแผนให้ แล้วเสร็จภายใน 2 เดือน กรมการขนส่งทางราง Department of Rail Transport www.drt.go.th กรมการขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม DRT NEWS 4


กรมการขนส่งทางราง ร่วมกับ สทร. และ สวทช. ผนึกก าลังขับเคลื่อนการวิจัย พัฒนา นวัตกรรมด้านมาตรฐานและการทดสอบส าหรับผลิตภัณฑ์ในระบบราง เพื่อการยกระดบัผลิตภัณฑใ์หส้อดคล้องกบัการพัฒนาด้านระบบรางในประเทศไทย กรมการขนส่งทางราง (ขร.) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน) (สทร.) ร่วมลง นามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการขับเคลื่อนการวิจัยและ พัฒนา นวัตกรรม ด้านมาตรฐานแล ะการทดสอบส าหรับ ผลิตภัณฑ์ในระบบราง เพื่อการยกระดับผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้อง กับการพัฒนาด้านระบบรางในประเทศไทย โดยการลงนามบันทึกข้อตกลงนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมมือ ผลักดันพัฒนาส่ง เส ริมมาตรฐานแล ะการทดสอบส าหรับ ผลิตภัณฑ์ในระบบราง เพื่อการยกระดับผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้อง กับการพัฒนาด้านระบบรางในประเทศไทย และเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ระบบขนส่งทางราง รวมทั้ง เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิต ในประเทศ และเตรียมพร้อมสู่การขยายโครงข่ายระบบขนส่งทาง รางในอนาคต รวมถึงเพื่อเป็นการการลงทุนพัฒนาระบบขนส่ง ทางราง ของหน่วยงานรัฐและภาคเอกชนให้เป็นไปตามกฎและ ระเบียบที่กฎหมายก าหนด ให้กับภาคการผลิตให้มีมาตรฐานการ ทดสอบเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และสามารถลดต้นทุน และ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบรางให้มีประสิทธิภาพ ความ ปลอดภัย มั่นคงให้บริการกับประชาชน ซึ่งในส่วนของขอบเขต บันทึกข้อตกลงนี้ประกอบไปด้วย 1. การร่วมกันขับเคลื่อนด้านมาตรฐานและการทดสอบ รับรอง ส าหรับผลิตภัณฑ์ระบบราง เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับ การพัฒนาด้านระบบรางในประเทศไทย ตลอดจนเพิ่มขีด ความสามารถการแข่งขันของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบ ขนส่งทางรางของประเทศไทยให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม 3.ส่งเสริมการจัดตั้งห้องปฏิบัติการทดสอบในประเทศ เพื่อให้บริการ ทดสอบ การตรวจสอบรับรองผลิตภัณฑ์ในระบบราง ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ระบบรางของไทย และ พัฒนาสถานะประเทศไทยจากประเทศผู้ซื้อ มาเป็นประเทศผู้ผลิตเพื่อ ความยั่งยืนของอุตสาหกรรมภายในประเทศ ตลอดจนช่วยขยายขีด ความสามารถของไทยให้กลายเป็นประเทศผู้ส่งออกชิ้นส่วนอุปกรณ์ รถ ไฟ ได้ ในอนาคต โดยการพัฒนาด้านการทดสอบ รับรอง มาตรฐาน ระบบขนส่งทางราง เพื่อลดภาระการน าเข้าสินค้า และ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศ เพื่อสู่การขยายโครงข่าย ระบบขนส่งทางรางในอนาคต 2. ร่วมกันวิจัยและพัฒนาด้านการคมนาคมขนส่งระบบรางของ ประเทศไทย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วน ระบบรางของไทยให้ได้มาตรฐานการทดสอบในระดับสากล และ สามารถรองรับการถ่ายทอด เทคโนโลยีและการลงทุนพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานระบบรถไฟทางคู่และรถไฟความเร็วสูง 4. ร่วมกันพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน เทคโนโลยี การวิจัย และการพัฒนาด้านมาตรฐาน การบริการ ทดสอบ การตรวจสอบและการรับรองผลิตภัณฑ์ด้านระบบราง เพื่อให้ได้บุคลากรที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพในการพัฒนาวงการ ทางการวิจัยและทดสอบผลิตภัณฑ์ด้านระบบราง กรมการขนส่งทางราง Department of Rail Transport www.drt.go.th กรมการขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม DRT NEWS 5


กรมการขนส ่ งทางราง ลงพ ื ้ นท ี ต ่ิดตามความค ื บหน ้ า กรมการขนส่งทางราง ลงพื้นที่งาน ก่อสร้างโครงการรถไฟฟ ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน – ราษฎร์บูรณะ (วงแหวน กาญจนาภิ เษก) หรือ สายสีม่วงใต้ เพื่อติดตา,ความก้าวหน้างานก่อสร้าง การบริหารจัดการจราจรบริเวณพื้นที่ ก่ อ ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งมาตรการปอ้งกัน อุบัติเหตุจากการก่อสร้าง อีกทั้ง สามารถเชื่อมต่อการเดินไปยังรถไฟฟา้ สายอื่นๆ ประกอบด้วย 1. สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เชื่อมต่อ สถานีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยของรถไฟฟ ้า สายสีส้ม (ช่วงศูนย์วัฒนธรรม-บางขุนนนท์) รถไฟฟ้าสายม่วงใต้นี้มีระยะทาง 23.63 กิโลเมตร จ านวน 17 สถานี แบ่งเป็น 1. โครงสร้างทางวิ่งใต้ดิน ระยะทาง 14.29 กิ โล เมตร สถานี ใต้ดิน 1O สถานี ได้แก่ สถานีรัฐสภา สถานีศรี ย่าน สถานีวชิรพยาบาล สถานีหอสมุด แห่งชาติ สถานีบางขุนพรหม สถานี อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สถานีสามยอด สถานีสะพานพุ ทธ สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีส าเหร่ 2. โครงสร้างทางวิ่งยกระดับ ระยะทาง 9.34 กิ โล เมตร สถานียกร ะดับ 7 สถานี ได้แก่ สถานีดาวคะนอง สถานี บางปะแก้ว สถานีบางปะกอก สถานี ประชาอุทิศ สถานีราษฎร์บูรณะ สถานี พระประแดง และ สถานีครุใน 2. สถานีสามยอด เชื่อมต่อสถานีสามยอดของ สายสีน้ าเงิน (ช่วงหัวล าโพง-บางแค (หลัก สอง)) 3.สถานีวงเวียนใหญ่เชื่อมกับสถานีวงเวียน ใ หญ่ ข อ ง ส า ย สี เ ขี ย ว (ช่ ว ง ส น า ม กี ฬ า แห่งชาติ-บางหว้า) และสถานีวงเวียนใหญ่ ของรถไฟทางไกลสายแม่กลอง รวมทั้งมี อาคารจอดแล้วจร (Park & Ride) 2 แห่ง ที่สถานีบางปะกอกและสถานีราษฎร์บูรณะ สามารถรองรับได้ประมาณ 1,7OO คัน โดย สัญญางานโยธา ปัจจุบันมีความคืบหน้างานโยธา ในภาพร วม ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2566 คิดเป็นร้อยละ 6.5O กรมการขนส่งทางราง Department of Rail Transport www.drt.go.th กรมการขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม DRT NEWS 6 (วงแหวนกาญจนาภิเษก) งานก่อสร้างรถไฟฟ ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน – ราษฎร์บูรณะ


DRT NEWS 7 กรมการขนส่งทางราง Department of Rail Transport www.drt.go.th กรมการขนส่งทางราง กระทรวงคมนาคม


Click to View FlipBook Version