The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อกำหนดการออกแบบโครงสร้างสำหรับ
รถโบกี้บรรทุกตู้สินค้า (บทต.)
(Structural Requirements of Bogie
Container Flat Wagon)
มขร. - R - 003 -2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prdrt2021, 2022-09-23 10:04:40

ข้อกำหนดการออกแบบโครงสร้างสำหรับ รถโบกี้บรรทุกตู้สินค้า (บทต.)

ข้อกำหนดการออกแบบโครงสร้างสำหรับ
รถโบกี้บรรทุกตู้สินค้า (บทต.)
(Structural Requirements of Bogie
Container Flat Wagon)
มขร. - R - 003 -2565

มขร. – R – 001 -2563
มาตรฐานการทดสอบรถโบกีบ้ รรทุกตู้สนิ ค้า

(Bogie Container Flat Wagon, BCF)

กองมาตรฐานความปลอดภัยและบารุงทาง

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบกีบ้ รรทกุ ตู้สนิ ค้า หน้า 1

มขร – R – 001 - 2563
มาตรฐานการทดสอบรถโบกบี้ รรทกุ ต้สู ินคา้
(Bogie Container Flat Wagon, BCF)

PART I: การทดสอบความแข็งแรงของโครงประธานและการทดสอบแบบสถิต

1. ท่ัวไป
1.1 ขอบเขต
การทดสอบนี้เป็นการทดสอบเพื่อยอมรบั ตน้ แบบ (Prototype Test) รถโบก้บี รรทุกตู้สินค้า (บทต.)

ชนิด Ordinary two – axle wagons หรือ Ordinary bogie wagons หรือรถโบกี้บรรทุกที่มีวัตถุประสงค์
เปน็ ไปตามความตอ้ งการของผู้ใช้ซึง่ มนี ้าหนกั กดเพลาไมเ่ กนิ 20 ตนั

บทต. ท่ีใชใ้ นการทดสอบตอ้ งเปน็ คนั ใหม่ ทอ่ี ยา่ งนอ้ ยประกอบด้วย โครงประธาน, ช้ินสว่ นโครงแคร่,
ช้ินส่วนระบบห้ามล้อ และช้ินส่วนระบบต่อพ่วง โดยท่ีโครงประธานต้องประกอบข้ึนจากเหล็กกล้าหรือวัสดุ
ประเภทอ่ืนด้วยวิธีการเช่ือมหรือข้อต่อทางกล บทต. ต้องเป็นคันใหม่และทุกระบบต้องพร้อมใช้งาน อาทิ
การประกอบและการขันแน่น ช่องว่างที่เหมาะสมของอุปกรณ์ สีของรถ น้ามัน สารหล่อล่ืน ความดันอากาศ
มาตรวดั เป็นตน้

รายการทดสอบในมาตรฐานนี้อ้างอิงมาจากวิธีการตามมาตรฐาน International Union of
Railways (UIC577), British Standard (BS EN 12663-2:2010) และ Association of American Railroads
(AAR Section C M-1001) ซ่ึงรายการทดสอบสามารถเพ่ิมเติมได้ตามความต้องการเฉพาะของผู้ใช้เพื่อ
ให้เหมาะกบั ประเภทหรอื ชนิดของ บทต. ได้

การทดสอบตามมาตรฐานฉบบั นี้ จะใช้รถทดสอบจา้ นวน 2 คนั ส้าหรับการทดสอบ ดงั น้ี

คันที่ 1 : ส้าหรับการทดสอบแบบสถิต การทดสอบการโก่งตัว และแคมเบอร์ การทดสอบการยกในแนวดิ่ง
การทดสอบแนวดิง่ บรเิ วณจุดข้ึนแมแ่ รง และการทดสอบการกระแทก

คันที่ 2 : การส้าหรับการทดสอบการเลี้ยวโค้ง การทดสอบห้ามล้อแบบสถิต การทดสอบระยะห้ามล้อ
(ในเสน้ ทางของผใู้ ช)้ การทดสอบหา้ มลอ้ ขณะจอด และการทดสอบน้าหนักและการกระจายน้าหนัก

2. รายละเอียดของเคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวัด และการทดสอบ

ลา้ ดบั การทดสอบ เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการวดั / ขอ้ กา้ หนดของเคร่อื งมอื และอปุ กรณ์วัด
ทดสอบ / ทดสอบ

กอ้ นนา้ หนกั หรืออุปกรณ์ใหแ้ รงกระทา้ ตอ้ งมีใบสอบเทยี บ หรอื ใบทวนสอบ
แนวดงิ่

1 การทดสอบแบบสถิต อปุ กรณใ์ หแ้ รงกระทา้ แนวนอน ตอ้ งมีใบสอบเทียบ
และค่าความผดิ พลาดสงู สดุ ไมเ่ กนิ 1%
รายงานการค้านวณความแข็งแรงของ
โครงสรา้ ง หรอื การวิเคราะหด์ ว้ ย Finite ต้องมีการรับรองผลโดยวิศวกรท่ีมี
Element Analysis (FEA) ใบอนุญาต

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบกี้บรรทุกตู้สนิ ค้า หนา้ 2

ล้าดับ การทดสอบ เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ที่ใช้ในการวดั / ข้อก้าหนดของเคร่อื งมือและอปุ กรณ์วดั

ทดสอบ / ทดสอบ

สเตรนเกจ ( 1 แกน หรือ Rosette) Gauge factor +/- 2%

อปุ กรณ์บนั ทึกข้อมลู (วงจร Half Bridge , ต้องมีใบสอบเทยี บ หรอื ใบทวนสอบ

Full Bridge) เชน่ วธิ ี Shunt resistor

2 การทดสอบการโก่ง และแคมเบอร์

2.1 การทดสอบการโกง่ กอ้ นน้าหนัก หรอื อุปกรณ์ใหแ้ รงกระทา้ ตอ้ งมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ
แนวดงิ่
ต้องมีใบสอบเทยี บ
Dial indicator หรือ LVDT และค่าความผดิ พลาดสงู สดุ ไม่เกนิ 1%

2.2 การทดสอบแคมเบอร์ กลอ้ งวัดระดบั ตอ้ งมีใบสอบเทยี บ หรือ ใบทวนสอบ
และค่าความผดิ พลาดสงู สดุ ไมเ่ กิน 1%
Dial indicator หรอื LVDT
ต้องมีใบสอบเทยี บ
กอ้ นนา้ หนกั หรืออปุ กรณ์ให้ และค่าความผดิ พลาดสงู สดุ ไมเ่ กิน 1%
แรงกระทา้ แนวด่งิ
เครือ่ งมือวัดความยาว ต้องมใี บสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ

ต้องมีใบสอบเทยี บ หรือ ใบทวนสอบ

3 การทดสอบการยกแนวด่ิง รายงานการคา้ นวณความแข็งแรง ตอ้ งมีการรบั รองผลโดยวศิ วกร
ของโครงสรา้ ง หรือ การวเิ คราะหด์ ว้ ย ท่ีมใี บอนุญาต
Finite Element Analysis (FEA)
บรเิ วณจุดยกแนวดง่ิ

4 การทดสอบการยกแนวดิง่ สเตรนเกจ ( 1 แกน หรอื Rosette) Gauge factor +/- 2%
บรเิ วณจุดขนึ้ แมแ่ รง ต้องมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ
อุปกรณ์บนั ทกึ ข้อมูล (วงจร Half Bridge , เช่น วธิ ี Shunt resistor
Full Bridge)
กอ้ นน้าหนัก หรอื อุปกรณใ์ หแ้ รงกระทา้ ตอ้ งมีใบสอบเทยี บ หรอื ใบทวนสอบ
แนวดิ่ง
ต้องมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ
เคร่อื งมอื วัดความยาว
ตอ้ งมีการรับรองผลโดยวิศวกร
รายงานการค้านวณความแข็งแรง ทีม่ ีใบอนุญาต
ของโครงสรา้ ง หรือ Finite Element
Analysis (FEA) บรเิ วณจุดข้ึนแมแ่ รง Gauge factor +/- 2%
ต้องมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ
สเตรนเกจ ( 1 แกน หรือ Rosette) เชน่ วธิ ี Shunt resistor

อปุ กรณ์บันทกึ ข้อมลู (วงจร Half bridge ,
full bridge)

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบก้บี รรทกุ ตู้สนิ ค้า หนา้ 3

ล้าดับ การทดสอบ เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการวดั / ขอ้ กา้ หนดของเครอ่ื งมือและอุปกรณ์วัด
ทดสอบ / ทดสอบ
5 การทดสอบการเล้ยี วโค้ง
ทางรถไฟรัศมโี ค้งไมเ่ กิน 150 เมตร ต้องมรี ายงานการวดั ค่าความโค้ง
6 การทดสอบระบบหา้ มลอ้
เครื่องมอื ทดสอบตามรายการผผู้ ลติ กา้ หนด ตอ้ งมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ
6.1 การทดสอบระบบห้ามลอ้ (Test Rig)
แบบสถติ ก้อนน้าหนกั ตอ้ งมีใบสอบเทยี บ หรอื ใบทวนสอบ
ทางรถไฟลาดเอยี งไม่นอ้ ยกวา่ 1:100 หรอื ต้องมีใบสอบเทียบ หรอื ใบทวนสอบ
6.2 การทดสอบหา้ มล้อขณะจอด อุปกรณ์ใหแ้ รงกระท้าเทยี บเท่าแรงโนม้ ถ่วง และค่าความผดิ พลาดสงู สดุ
บนทางรถไฟลาดเอียงไม่น้อยกวา่ 1:100 ไม่เกนิ 1%
กอ้ นน้าหนัก ตอ้ งมีใบสอบเทียบ หรอื ใบทวนสอบ

7 การทดสอบการกระแทก อปุ กรณว์ ัดแรงท่ขี อพ่วง หรอื ใช้อุปกรณ์ ตอ้ งมีใบสอบเทียบ หรอื ใบทวนสอบ
วดั ความเร่ง

อปุ กรณว์ ัดความเรว็ รถ ต้องมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ
8 การทดสอบน้าหนัก และการกระจายน้าหนักของแคร่ และ บทต.

กอ้ นนา้ หนัก หรืออุปกรณใ์ หแ้ รงกระทา้ ต้องมใี บสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ

8.1 การทดสอบน้าหนัก แนวดิ่ง ต้องมใี บสอบเทยี บ และคา่ ความ
ผดิ พลาดสงู สดุ ไม่เกิน 1%
และการกระจายน้าหนักของแคร่ เครื่องวดั น้าหนกั ล้อรถไฟ
ตอ้ งมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ
การทดสอบน้าหนัก ก้อนน้าหนัก หรืออปุ กรณ์ใหแ้ รงกระท้า
8.2 และการกระจายน้าหนัก แนวดิง่ ตอ้ งมีใบสอบเทียบ และค่าความ
ผิดพลาดสูงสดุ ไม่เกิน 1%
ของ บทต. เคร่อื งวัดน้าหนกั ล้อรถไฟ

3. กระบวนการทดสอบ
3.1 การทดสอบแบบสถิต (Static Test)
3.1.1 ความตอ้ งการ

รายการค้านวณโครงสร้างที่สามารถระบุความเค้น ณ ต้าแหน่งต่างๆในโครงประธาน
โดยจะต้องจ้าลองการเคลื่อนตัวของกลางศูนย์เดือยแคร่ (Center Pivot) ให้มีลักษณะการเคล่ือนตัวสอดคล้องกับ
การใช้งานจริง การค้านวณต้องใช้คุณสมบัติของวัสดุท่ีได้จากการทดสอบแรงดึง โครงของเคร่ืองทดสอบ
จะต้องมีความแข็งเกร็ง (Rigidity) และวิธีการให้แรงกระท้าต้องสอดคล้องกับลักษณะแรงกระท้าที่เกิดขณะใช้งาน
โดยรายการทดสอบแบบสถติ มรี ายละเอียดดงั นี้

1) แรงกระท้าแนวด่ิงขนาด 1.3 เท่าของน้าหนักพิกัดขณะบรรทุกในรูปแบบกระจายน้าหนัก
ตามประเภทของน้าหนักบรรทุก โดยให้น้าหนักบรรทุกกระท้าที่จุดรับน้าหนักของโครงประธาน ซ่ึงขึ้นอยู่กับ
ประเภทของการบรรทกุ ดังน้ี

1.1) ตบู้ รรทุกสนิ ค้าขนาด 20 ฟุต จา้ นวน 2 ตู้

1.2) ตบู้ รรทกุ สนิ ค้าขนาด 40 ฟุต วางทีต่ า้ แหน่งบรเิ วณกง่ึ กลางของรถไฟบรรทุกสินคา้ จา้ นวน 1 ตู้

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบกบ้ี รรทกุ ตู้สนิ ค้า หนา้ 4

1.3) ตูบ้ รรทกุ สินคา้ ขนาด 20 ฟตุ วางที่ตา้ แหน่งบรเิ วณกึ่งกลางของรถไฟบรรทุกสนิ คา้ จ้านวน 1 ตู้

1.4) การบรรทกุ รูปแบบอนื่ ท่มี ีวัตถปุ ระสงคเ์ ป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้

2) แรงกระทา้ แนวนอนแบบกดขนาด 2,000 กโิ ลนวิ ตนั กระทา้ ตามแนวยาวที่จดุ ยึดชุด Draft gear

3) แรงกระท้าแนวนอนแบบดึงขนาด 1,500 กโิ ลนวิ ตัน กระท้าตามแนวยาวท่จี ุดยึดชุด Draft gear

3.1.2 การติดตั้งสเตรนเกจ (Strain Gauge)

1) ชนิดของสเตรนเกจแบบแผ่นฟอยล์ 1 แกน หรือแบบ Rosette ท่ีมีชนิดความต้านทาน
120 โอห์ม หรือ 350 โอห์ม มชี ว่ งการวดั (Gauge Length) 3 – 10 มลิ ลิเมตร

2) ติดต้ังสเตรนเกจบริเวณต้าแหน่งที่เกิดความเค้นสูงสุดและบริเวณที่มีค่าความเค้น
เกนิ ร้อยละ 50 ของความเค้น ณ จดุ ครากของวสั ดุ

2.1) ให้ใช้สเตรนเกจแบบ Rosette ติดในบริเวณท่ีเกิดความเค้นสูงสุดและบริเวณที่มี
คา่ ความเค้นเกนิ รอ้ ยละ50 ของความเค้น ณ จดุ ครากของวสั ดุ

2.2) ให้ใช้สเตรนเกจ 1 แกนส้าหรับวัดค่าความเค้นจุดอ่ืนๆ เพ่ือเป็นข้อมูลในการประเมิน
ความสอดคลอ้ งของรายการคา้ นวณโครงสรา้ งกบั ผลการทดสอบการรับแรงแบบสถติ

3) การเตรียมผิวช้ินงานบริเวณจุดติดตั้งสเตรนเกจจะต้องเป็นไปตามวิธีการมาตรฐาน
ในการติดต้ังสเตรนเกจ ดา้ เนนิ การโดยบคุ ลากรทม่ี ีทักษะและความเชีย่ วชาญ

4) อุปกรณ์บันทึกข้อมูลการวัดสเตรนเกจแบบจะต้องเป็นแบบ Half Bridge หรือ Full Bridge
และต้องมีการสอบเทียบค่าสเตรนด้วยค่ามาตรฐาน หรือด้วยวิธี Shunt resistor ณ ต้าแหน่งวัด โดยใช้ค่า
ความต้านทานขนานที่เหมาะสมกบั ยา่ นการวัด เช่น 60 – 120 กิโลโอหม์

5) ต้องมีการตรวจสอบผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ (Thermal Drift) ไม่น้อยกว่า
15 นาที โดยจะต้องไม่มีผลกระทบตอ่ คา่ การวัดอย่างมนี ัยส้าคัญ

6) อัตราการสุม่ ขอ้ มูล (sampling rate) ไม่น้อยกว่า 50 เฮริ ต์

3.1.3 การทดสอบ

1) โครงประธานท่ีติดต้ังชุดสเตรนเกจแล้วจะต้องประกอบบนชุดโครงแคร่ หรือประกอบ
เขา้ กับชดุ จบั ยดึ ท่ีบรเิ วณ Pivot โดยทัง้ หมดจะต้องวางอยู่บนพ้ืนทีม่ คี วามแขง็ แรงและมคี วามเรียบ

2) ให้แรงกระท้ารวมในแนวด่ิงค้างไว้ขนาดเท่ากับ 1.3 เท่าของพิกัดน้าหนักบรรทุกโดยที่
วิธีการให้แรงกระทา้ ต้องกระจายนา้ หนกั สม้่าเสมอ ณ ตา้ แหน่งจดุ รบั น้าหนกั บนโครงประธาน

3) ให้แรงกระท้าแนวนอนแบบกดอย่างสม่้าเสมอโดยควบคุมอัตราการให้แรงกระท้าไม่เกิน
150 กิโลนิวตันต่อนาที เพิ่มขึ้นจนถึงค่า 2,000 กิโลนิวตัน ทิ้งไว้ไม่น้อยกว่า 5 นาที จึงปลดแรงกระท้า
ในแนวนอนและแนวดง่ิ ตามลา้ ดับออกจนเปน็ ศูนย์

4) บันทึกคา่ ความเค้นในโครงประธานอยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดการทดสอบ

5) ทา้ การทดสอบตามขอ้ 2) ถงึ ขอ้ 4) ซ้าอีก 2 คร้งั โดยตงั้ ค่าศูนยส์ เตรนเกจก่อนการทดสอบ
น้าผลคา่ ความเคน้ ณ แรงกระท้าสูงสดุ และหลงั ปลดแรงกระท้ามาหาค่าเฉลย่ี เพ่ือรายงานผล

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบกี้บรรทุกต้สู นิ ค้า หน้า 5

6) ให้แรงกระท้าตามข้อ 2) หลังจากนั้นให้แรงกระท้าแนวนอนแบบดึงอย่างสม้่าเสมอ
โดยควบคุมอัตราการให้แรงกระท้าไม่เกิน 150 กิโลนิวตันต่อนาที เพิ่มขึ้นจนถึงค่า 1,500 กิโลนิวตัน ท้ิงไว้
ไม่นอ้ ยกว่า 5 นาที จงึ ปลดแรงกระท้าในแนวนอนและแนวด่ิงตามล้าดับออกจนเป็นศูนย์

7) บันทึกคา่ ความเคน้ ในโครงประธานอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดการทดสอบ

8) ทา้ การทดสอบตามข้อ 6) ถึงข้อ 7) ซ้าอกี 2 ครงั้ โดยตง้ั ค่าศูนยส์ เตรนเกจกอ่ นการทดสอบ
น้าผลคา่ ความเค้น ณ แรงกระทา้ สูงสุดและหลงั ปลดแรงกระท้ามาหาค่าเฉล่ยี เพ่ือรายงานผล

3.1.4 เกณฑ์การยอมรบั ผลการทดสอบ

1) ความเค้นแบบ Von Mises ในโครงประธานใหเ้ ป็นไปตามข้อกา้ หนดในตารางท่ี 2

2) ความเค้นในโครงประธานต้องสอดคล้องกับผลการค้านวณท้ังปริมาณและทิศทาง
โดยความแตกต่างระหว่างค่าการวัดและผลค้านวณของจุดวัดที่มีความเค้นสูงกว่าร้อยละ 50 ของความเค้น ณ
จดุ ครากตอ้ งไมเ่ กินร้อยละ 25 และความเคน้ ณ จุดอืน่ ๆ จะตอ้ งมปี ริมาณหรือทิศทางสอดคล้องกับผลการวัด
ไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจ้านวนจุดวัดที่มีความเค้นต่้ากว่าร้อยละ 50 หากไม่สอดคล้องกับข้อก้าหนดข้างต้น
ให้ตรวจสอบวิธีการคา้ นวณใหม่ และท้าการทดสอบใหม่

ตารางท่ี 2 เกณฑ์การยอมรับคา่ ความเค้นในโครงประธาน

คณุ ลกั ษณะของวัสดุ ค่าจา้ กัดความเค้น

Rp < 0.8 Rm σ = Rp

Parent Metal Rp > 0.8 Rm and A > 10% σ = Rp
Rp > 0.8 Rm and A < 10%
σ = Rm
Rp < 0.8 Rm 1.25

σ = RP
1.1

Parent Metal ในบรเิ วณ Rp > 0.8 Rm and A > 10% σ = RP
ใกลร้ อยเชอ่ื ม 1.1

Rp > 0.8 Rm and A < 10% σ = Rm
1.375

หมายเหตุ : Rp คือ ความเคน้ ณ จดุ ครากของโลหะน้ัน (Parent Metal)

Rm คอื ความเค้นประลยั ของโลหะน้ัน (Parent Metal)

A คือ การยืดตวั ของวโลหะน้ัน (Parent Metal)

3.2 การทดสอบการโก่ง และแคมเบอร์

3.2.1 ความตอ้ งการ

1) โครงประธานที่ต้องการทดสอบ

2) กล้องวดั ระดับหรอื Dial indicator หรือ LVDT

3) ชุดจบั ยดึ โครงประธานโดยต้องมีการจับยึดทบี่ ริเวณเดอื ยยึดโครงแคร่

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบกบ้ี รรทุกตู้สินค้า หนา้ 6

4) ชดุ ก้อนน้าหนักหรอื อปุ กรณ์ให้แรงแนวดง่ิ ขนาด 1.3 เท่าของนา้ หนกั พกิ ดั

3.2.2 การทดสอบ

1) โครงประธานท่ีท้าการทดสอบจะต้องประกอบเข้ากับชุดจับยึดที่มีความแข็งเกร็งท่ีบริเวณ
เดอื ยยึดโครงแคร่ โดยท้งั หมดจะตอ้ งวางอยู่บนพืน้ ทีม่ คี วามแขง็ แรงและมีความเรียบ

2) ติดตั้งเคร่ืองมือวัดระยะจ้านวน 14 จุด ณ ต้าแหน่งต่าง ๆ ได้แก่ ด้านข้าง (ซ้ายขวา)
ด้านปลาย (หน้าหลัง) โบลส์เตอร์โครงประธาน (หน้าหลัง) จุดก่ึงกลางโครงประธาน และจุดก่ึงกลางระหว่าง
โบลส์เตอรโ์ ครงประธานกบั จดุ กึ่งกลางโครงประธาน

3) ตัง้ ค่าศนู ย์เครือ่ งมอื วดั ระดบั กอ่ นการทดสอบ

4) วดั คา่ แคมเบอร์ขณะไมม่ ีแรงกระท้าแนวด่ิง โดยวัดระดบั ในแนวดง่ิ ณ ตา้ แหน่งทม่ี ีการโก่ง
สูงสุด ดงั ภาพท่ี 1

5) ให้แรงกระท้ารวมในแนวดิ่งค้างไว้ที่ขนาดเท่ากับ 1.3 เท่าของน้าหนักพิกัดขณะบรรทุก
โดยที่วิธีการให้แรงกระท้าต้องกระจายน้าหนักสม่้าเสมอ ณ ต้าแหน่งจุดรับน้าหนักบนโครงประธาน
ค้างไว้ไมน่ อ้ ยกว่า 24 ชวั่ โมง หรือเปน็ ไปตามข้อตกลงของผูใ้ ช้ จึงปลดแรงกระท้าออกเปน็ ศนู ย์

6) บันทึกการโก่งของโครงประธานระหว่างการทดสอบ และคา้ นวณค่าแคมเบอร์ทแ่ี รงกระท้า
แนวดง่ิ สงู สดุ

7) ท้าการทดสอบตามขอ้ 3) ถงึ ข้อ 6) ซา้ อีก 2 คร้งั นา้ มาหาคา่ เฉล่ยี

3.2.3 เกณฑ์การยอมรบั ผลการทดสอบ

ค่าแคมเบอร์ และคา่ การโกง่ ต้องเป็นไปตามเกณฑ์ทร่ี ะบุจากผู้ใช้งาน

ภาพท่ี 1 การทดสอบแคมเบอร์

3.3 การทดสอบยกแนวดิง่

3.3.1 ความตอ้ งการ

1) บทต. ที่ประกอบเสร็จเรียบร้อย อย่างน้อยประกอบดว้ ย โครงประธาน, ช้ินส่วนโครงแคร่,
ชิ้นส่วนระบบห้ามล้อ และชิ้นส่วนระบบต่อพ่วง โดยมีการติดต้ังสเตรนเกจ (Strain Gauge) บริเวณจุดยก
แนวดิ่ง ทั้งน้ีผู้ใช้สามารถร้องขอให้มีการติดตั้งสเตรนเกจ (Strain Gauge) ท่ีบริเวณท่ีต้องการตรวจสอบ
เพิ่มเติมได้ การตดิ ตงั้ สเตรนเกจตามขอ้ 3.1.2

2) รายการค้านวณความแข็งแรงของโครงสร้าง หรือ Finite Element Analysis (FEA)
ที่บรเิ วณจดุ ยกแนวด่งิ หรอื บรเิ วณอื่น ๆ ตามท่ีผูใ้ ชต้ อ้ งการ

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบกบี้ รรทุกต้สู นิ ค้า หน้า 7

3) ก้อนนา้ หนักหรอื อปุ กรณ์ให้แรงแนวด่ิง

4) เคร่อื งมอื วดั ความยาว

3.3.2 วิธกี ารทดสอบ

1) บทต. ท่ีบรรทุกน้าหนักพิกัดจะต้องวางบนรางหรือพื้นที่มีความแข็งแรงและมีความเรียบ
และวัดมติ ขิ อง บทต. กอ่ นการทดสอบ

2) ยกหรือดัน บทต. ขึ้นในแนวด่ิง ณ บริเวณท่ีเป็นไปตามข้อตกลงของผู้ใช้ และค้างไว้
เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 10 นาที หรือเป็นไปตามข้อตกลงของผู้ใช้ ดังภาพที่ 2 โดยบันทึกค่าความเค้น
ในโครงประธานอย่างต่อเนื่อง

3) ยกลง วัดมิติ และตรวจสอบความเสียหาย เช่น การแตกร้าวด้วยตาเปล่าหรือแว่นขยาย
กา้ ลังตา้่ และตรวจสอบการเสยี รูป ณ บรเิ วณท่ผี ใู้ ช้ก้าหนด โครงประธาน และตา้ แหน่งท่ีไดร้ บั การดัดสูงสดุ

4) ตรวจสอบความเคน้ ในโครงประธานตามความตอ้ งการของผูใ้ ช้งาน

3.3.3 เกณฑก์ ารยอมรบั ผลการทดสอบ

รถ บทต. ต้องไม่เกิดความเสียหาย และการเสียรูปอย่างถาวรในชิ้นส่วนและระบบใดๆ
โดยการตรวจสอบดงั ตอ่ ไปนี้

- โครงสร้างประธานตรวจสอบโดยการวัดแคมเบอร์เปรียบเทียบกับผลก่อนการทดสอบ
ตามการทดสอบการโก่ง และแคมเบอร์

- ตรวจสอบโดยการเปรียบเทียบมิติก่อนและหลังการทดสอบ โดยเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีระบุ
จากผใู้ ช้งาน

- เดอื ยยึดโครงแคร่โดยพจิ าราณาร่วมกบั การทดสอบการเล้ยี วโคง้

- อุปกรณ์และระบบห้ามล้อโดยการตรวจพินิจ เช่น ระบบห้ามล้อมีการท้างานถูกต้อง
ทอ่ ยางลมอัด (ทอ่ ขบวน) และทอ่ ยางลมดดู ตอ้ งไมม่ กี ารดงึ ร้ัง เป็นตน้

- ความเคน้ สูงสดุ ณ จดุ วกิ ฤตในโครงประธานจะต้องมีค่าไม่เกินความเค้น ณ จุดครากของวัสดุ

ภาพที่ 2 การทดสอบการยกในแนวดิง่

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบก้บี รรทุกต้สู นิ ค้า หน้า 8

3.4 การทดสอบยกแนวดง่ิ บรเิ วณจดุ ข้นึ แมแ่ รง

3.4.1 ความตอ้ งการ

1) บทต. ท่ีประกอบเสร็จเรียบร้อย อย่างน้อยประกอบด้วย โครงประธาน, ช้ินส่วนโครงแคร่,
ช้ินส่วนระบบห้ามล้อ และช้ินส่วนระบบต่อพ่วง โดยมีการติดตั้งสเตรนเกจ (Strain Gauge) บริเวณจุดขึ้น
แมแ่ รง ทงั้ น้ผี ู้ใช้สามารถร้องขอให้มีการติดตั้งสเตรนเกจ (Strain Gauge) ท่บี ริเวณทีต่ ้องการตรวจสอบเพ่ิมเติมได้
การตดิ ต้ังสเตรนเกจตามข้อ 3.1.2

2) รายการค้านวณความแข็งแรงของโครงสร้าง หรือ Finite Element Analysis (FEA)
ท่ีบรเิ วณจุดยกแนวด่ิง หรอื บรเิ วณอืน่ ๆ ตามทีผ่ ใู้ ช้ต้องการ

3) กอ้ นน้าหนักหรอื อปุ กรณ์ใหแ้ รงแนวดิง่

4) เคร่อื งมอื วดั ความยาว

3.4.2 วิธกี ารทดสอบ

1) บทต. ทบ่ี รรทุกน้าหนักพิกัดจะต้องวางบนรางหรือพื้นท่ีมีความแข็งแรงและมีความราบเรยี บ

2) ยกหรือดัน บทต. ขึ้นแนวด่ิงตรงบริเวณจุดยกที่ก้าหนด จนลอยสูงในระดับที่สามารถ
เปลี่ยนชุดแคร่ หรือชุดกันสะเทือนได้ตามปกติ และค้างไว้เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 10 นาที หรือเป็นไปตาม
ข้อตกลงของผใู้ ช้ ดงั ภาพที่ 3

3) ยกลง ตรวจสอบความเสียหาย เช่น การแตกร้าวด้วยตาเปล่าหรือแว่นขยายก้าลังต้่า
และตรวจสอบการเสียรปู ณ บริเวณจดุ ยก โครงประธาน และเดอื ยยึดโครงแคร่

4) ตรวจสอบความเค้นในโครงประธานตามความต้องการของผู้ใช้งาน

ภาพที่ 3 การทดสอบการยกในแนวด่ิงบริเวณจดุ ขึ้นแม่แรง
3.4.3 เกณฑก์ ารยอมรบั ผลการทดสอบ

ต้องไม่เกิดความเสียหาย และการเสียรูปอย่างถาวรในชิ้นส่วนและระบบใด ๆ ของ บทต.
โดยการตรวจสอบดังต่อไปนี้

- โครงสร้างประธานตรวจสอบโดยการวัดแคมเบอร์เปรียบเทียบกับผลก่อนการทดสอบ
ตามการทดสอบการโกง่ และแคมเบอร์

- ตรวจสอบจุดข้ึนแม่แรงโดยการเปรียบเทียบมิติก่อนและหลังการทดสอบ โดยเป็นไปตาม
เกณฑท์ รี่ ะบจุ ากผูใ้ ช้งาน

- เดอื ยยึดโครงแครโ่ ดยพจิ ารณารว่ มกับการทดสอบการเล้ยี วโค้ง

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบก้บี รรทุกตู้สินค้า หน้า 9

- อุปกรณแ์ ละระบบหา้ มล้อโดยการตรวจพนิ จิ เชน่ ระบบห้ามล้อมกี ารท้างานถูกต้อง ท่อยางลม
อัด (ทอ่ ขบวน) และทอ่ ยางลมดูดตอ้ งไมม่ ีการดงึ รัง้ เป็นต้น

- ความเคน้ สงู สุด ณ จดุ วิกฤตในโครงประธานจะต้องมีคา่ ไม่เกินความเค้น ณ จุดครากของวสั ดุ

3.5 การทดสอบการเลยี้ วโคง้

3.5.1 ความตอ้ งการ

บทต. ไม่น้อยกว่า 2 คันเข้าด้วยกัน และต่อด้านหน่ึงเข้ากับหัวรถจกั ร ท่ีทางรถไฟที่มีรัศมีโค้ง
ไม่เกนิ 150 เมตร

3.5.2 วธิ กี ารทดสอบ
จอด บทต. ตามข้อ 3.5.1 ให้นิ่งดังภาพท่ี 4 ท้าการห้ามล้อจากหัวรถจักรหรือท้าการห้ามล้อ

ด้วยแหล่งกา้ เนิดลมทมี่ ีแรงดันไม่น้อยกว่า 5 บาร์ และทา้ การตรวจสอบอุปกรณด์ ังตอ่ ไปนี้
- วดั ระยะของปากขอพ่วง
- การเคล่อื นตวั ของขอพ่วง
- วัดระยะของระยะห่างของระยางหา้ มล้อ
- ฟงั ก์ชน่ั การท้างานของระบบหา้ มล้อ
- วัดระยะของทอ่ ยางลมอัด (ท่อขบวน) และทอ่ ยางลมดดู

3.5.3 เกณฑก์ ารยอมรบั ผลการทดสอบ
ตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งด้วยตาเปล่าตามรายละเอียดดังต่อไปนี้
- ระยะของปากขอพ่วงอยู่ในระยะปกติ
- ชุดขอพ่วงตอ้ งเชื่อมตอ่ ได้ตามปกติ
- ระยะหา่ งของระยางหา้ มล้อจะต้องอยใู่ นต้าแหนง่ ทเ่ี หมาะสม
- ระบบห้ามล้อมกี ารท้างานถูกต้อง
- ทอ่ ยางลมอัด (ทอ่ ขบวน) และทอ่ ยางลมดูดต้องไมม่ กี ารดึงรงั้

รัศมที างโค้งรถไฟ 150 เมตร

ภาพท่ี 4 การทดสอบการเลย้ี วโคง้

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบก้บี รรทุกตูส้ นิ ค้า หนา้ 10

3.6 การทดสอบระบบห้ามล้อ

แบ่งการทดสอบออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่

3.6.1 การทดสอบระบบหา้ มล้อแบบสถิต

การทดสอบจะต้องเป็นไปตามรายการและวิธีการของผู้ผลิต และต้องพิสูจน์ว่าระบบห้ามล้อ
ท้างานเป็นไปตามคุณลักษณะทุกระบบ เช่น ปริมาณของเหลว อุณหภูมิ ความดัน แรงเบรค และการท้างาน
ของระบบห้ามล้อ เปน็ ตน้

3.6.2 การทดสอบห้ามล้อขณะจอด

1) ความต้องการ

บทต. บรรทุกน้าหนักเต็มพิกัดจ้านวน 1 คันท่ีจอดนิ่งบริเวณทางรถไฟลาดเอียงไม่น้อย
กว่า 1:100 หรือ บทต. จอดบนทางรถไฟแนวราบและถูกกระท้าด้วยภาระเทียบเท่าแรงโน้มถ่วงบนทางรถไฟ
ลาดเอียงไม่นอ้ ยกว่า 1:100

2) การทดสอบ

ข้ึนเบรกมือและปลอ่ ย บทต. ตามขอ้ 1) ท้ิงไว้ไม่นอ้ ยกวา่ 24 ชัว่ โมง

3) เกณฑก์ ารยอมรับผลการทดสอบ

เมอ่ื ปลอ่ ยท้ิงไวไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 24 ชวั่ โมง จะตอ้ งไม่มีการเล่ือนไถล

3.7 การทดสอบการกระแทก

3.7.1 ความตอ้ งการ

ภายหลังผ่านการทดสอบตามหัวข้อ 3.1 ถึง 3.6 ให้เตรียม บทต. จ้านวน 1 คัน ซ่ึงติดต้ัง
สเตรนเกจท่ีโครงประธานตามหัวข้อ 3.1 ส้าหรับท้าการทดสอบแรงกระแทกท่ีเกิดจาก บทต. บรรทุกน้าหนัก
พิกัด (รวมน้าหนักของรถไฟบรรทุกเปล่า) หรือตามที่ผู้ใช้ก้าหนด โดยการชนต้องท้าให้เกิดการต่อพ่วง
อย่างสมบูรณ์ที่แรงกระแทกไม่น้อยกว่า 1,500 กิโลนิวตัน หรือท่ีความเร็วไม่เกิน 12 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง
ติดตงั้ เครื่องวดั แรงกระแทกที่ขอพว่ งและบริเวณก่ึงกลางของ บทต. เครื่องวัดแรงกระแทกใช้เคร่ืองมือประเภท
Instrumented Coupler ที่ได้รับการสอบเทียบหรือทวนสอบค่าแรง หรืออุปกรณ์วัดแรงประเภทอ่ืน
เช่น หัววัดความเร่งซ่ึงต้องเลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสมได้แก่อุปกรณ์วัดความเร่งประเภท Piezoelectric
และอุปกรณ์เก็บข้อมูลต้องมีอัตราการชักสุ่มไม่น้อยกว่า 20 กิโลเฮิร์ต สามารถควบคุมการท้างานระยะไกล
หรือส่งผ่านข้อมูลไร้สายได้ และระบบเครื่องมือวัดดังกล่าวต้องสามารถรับแรงกระแทกได้โดยไม่ส่งผลต่อ
ความแม่นยา้ ของการวัด

3.7.2 การทดสอบแรงกระแทก

การทดสอบแบง่ ออกเปน็ 2 ลักษณะ ได้แก่

1. การทดสอบการกระแทกของ บทต. จอดนิง่ ไมบ่ รรทุก

2. การทดสอบแรงกระแทกของ บทต. จอดนงิ่ บรรทุกนา้ หนกั พิกดั

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบก้ีบรรทกุ ต้สู ินค้า หนา้ 11

โดยในการทดสอบในแต่ละลักษณะให้ท้าการทดสอบขั้นต้นเพ่ือหาเง่ือนไขการชนท่ีเหมาะสม
แลว้ ท้าการทดสอบจริง ตามตารางท่ี 3

ตารางท่ี 3 รายการทดสอบการกระแทก

การทดสอบขนั้ ต้นเพอ่ื หาเง่ือนไขการชนทเี่ หมาะสม การทดสอบจริง

1) กอ่ นการทดสอบให้ปลดการห้ามลอ้ ของ บทต. 1) ให้ท้าการชน 40 ครั้ง โดยมีเงื่อนไขการชน

2) ท้าการชน 10 ครั้ง โดยใช้ค่าความเร็วต่างกันเร่ิมจากความเร็ว ทหี่ าได้จากการทดสอบขน้ั ต้น

ต่้าจนถึง 12 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จนกระทั่งได้ค่าแรงกระแทกไม่ 2) ระหวา่ งการทดสอบให้บันทกึ คา่ ความเค้น

น้อยกว่า 1,500 กิโลนวิ ตัน 3) ตรวจสอบความเสียหาย

3) ในการชนท้ัง 10 คร้ัง ต้องมี 3 ครั้งที่มีความเร็วประมาณ 9

กโิ ลเมตรต่อชวั่ โมง

3.7.3 เกณฑก์ ารยอมรบั ผลการทดสอบ

1) จะตอ้ งไม่เกิดความเสยี หายกบั ชดุ ขอพ่วง และอุปกรณ์เชือ่ มตอ่ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

2) ความเค้นสงู สุดในโครงประธานจะต้องไมเ่ กินความเคน้ ณ จดุ คราก

3) ค่าความเครียดสะสมสงู สดุ (cumulative strain) ตลอดการทดสอบต้องไม่เกินรอ้ ยละ 0.2

3.8 การทดสอบนา้ หนัก และการกระจายนา้ หนักของแคร่ และ บทต.

3.8.1 การทดสอบน้าหนัก และการกระจายน้าหนักของแคร่ (การทดสอบใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ ตกลงของผใู้ ช้)

ชุดแคร่ส้าหรับประกอบ บทต. จ้านวน 2 ชุด โดยแต่ละชุดจอดบนเคร่ืองช่ังน้าหนักซ่ึงสามารถ
วัดน้าหนักแต่ละเพลาล้อแยกกันอิสระได้ทุกล้อพร้อมกัน ท้าการวัดน้าหนักขณะไม่บรรทุกและวัดน้าหนัก
ขณะใหแ้ รงกระทา้ แนวด่งิ บนชดุ แครเ่ ทา่ กบั พิกดั น้าหนักบรรทุกของแคร่ โดยการวัดน้าหนักจะตอ้ งดา้ เนินการวัด 3 ครั้ง

3.8.2 การทดสอบน้าหนัก และการกระจายนา้ หนกั ของ บทต. (การทดสอบใหเ้ ป็นไปตามขอ้ ตกลงของผใู้ ช้)

ต้องผ่านการทดสอบน้าหนักและการกระจายตัวของน้าหนักแคร่ก่อนท้าการทดสอบน้ี
โดยน้า บทต. ท่ีประกอบจากชุดแคร่จากการทดสอบหัวข้อที่ 3.8.1 จ้านวน 1 คัน จอดบนเครื่องช่ังน้าหนัก
ซ่ึงสามารถวัดน้าหนักแต่ละเพลาล้อแยกกันอิสระได้ทุกล้อพร้อมกัน หรือลาก บทต. เคล่ือนผ่านเครื่องวัด
น้าหนักท่ีสามารถวัดได้ทั้งเพลาพร้อมกันจนครบทุกเพลา ท้าการวัดน้าหนักขณะไม่บรรทุกและวัดน้าหนัก
ขณะบรรทุกน้าหนักพกิ ดั โดยการวัดน้าหนกั จะตอ้ งด้าเนนิ การวดั 3 ครั้ง

3.8.3 เกณฑ์การยอมรบั ผลการทดสอบ

1) นา้ หนกั ขณะไมบ่ รรทกุ ของแคร่ และ บทต. เปน็ ไปตามขอ้ ตกลงของผู้ใช้ (ถ้าม)ี

2) น้าหนักของ บทต. จะตอ้ งผิดพลาดไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 2 ของน้าหนักที่ทดสอบ

3) น้าหนกั ทก่ี ระจายลงแต่ละลอ้ จะตอ้ งมีความแตกต่างไมเ่ กินรอ้ ยละ 4

4) น้าหนกั ในแต่ละด้านของ บทต. จะต้องมีความแตกตา่ งไม่เกินร้อยละ ±2

5) น้าหนักในแตล่ ะเพลาลอ้ จะตอ้ งมคี วามแตกตา่ งไม่เกนิ ร้อยละ ±6

6) วดั ระยะของแคร่ และ บทต. เป็นไปตามขอ้ ตกลงของผู้ใช้ (ถ้ามี)

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบก้บี รรทกุ ตูส้ นิ ค้า หน้า 12

4. รายงานการทดสอบ

รายงานผลการทดสอบอย่างนอ้ ยต้องประกอบด้วยหวั ข้อดงั ต่อไปนี้

1. หน่วยงานทดสอบ
2. วนั และสถานท่ที ดสอบ
3. รายละเอยี ดข้อมูลของรถไฟบรรทกุ ทดสอบและแบบรปู ของรถไฟบรรทุก (Drawing)
4. ช่อื ผู้ผลติ และรายละเอยี ดขอ้ มูลอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ
5. ใบรบั รองการสอบเทยี บหรอื ใบทวนสอบ และรายละเอยี ดทางเทคนคิ ของเคร่ืองมือวัดและทดสอบ
6. ใบรบั รองอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการทดสอบ
7. รายละเอยี ดวิธกี ารทดสอบในแตล่ ะรายการ
8. ผลการทดสอบ และเกณฑก์ ารยอมรบั ในแตล่ ะการทดสอบ
9. ตารางข้อมูล กราฟ รูปภาพการทดสอบ และภาพผลการประเมนิ
10. ข้อมูลดบิ ตามแบบฟอรม์ บันทึกซง่ึ มีการลงนามรบั รองผล

มาตรฐานการทดสอบรถโบกีบ้ รรทกุ ตสู้ ินคา้
(Bogie Container Flat Wagon, BCF)

PART II: การทดสอบการวิ่ง (Running Test)

1. ท่ัวไป
1.1 ขอบเขต
การทดสอบน้ีเป็นการทดสอบเพ่ือยอมรบั ต้นแบบ (Prototype Test) รถโบกีบ้ รรทุกตู้สนิ ค้า (บทต.)

ชนิด Ordinary two – axle wagons หรือ Ordinary bogie wagons หรือรถโบก้ีบรรทุกที่มีวัตถุประสงค์
เปน็ ไปตามความต้องการของผู้ใช้ซงึ่ มนี ้าหนกั กดเพลาไมเ่ กนิ 20 ตนั

บทต. ทใี่ ชใ้ นการทดสอบต้องเป็นคนั ใหม่ ทีอ่ ยา่ งนอ้ ยประกอบด้วย โครงประธาน, ชนิ้ ส่วนโครงแคร่,
ชิ้นส่วนระบบห้ามล้อ และชิ้นส่วนระบบต่อพ่วง โดยที่โครงประธานต้องประกอบขึ้นจากเหล็กกล้าหรือวัสดุ
ประเภทอื่นด้วยวิธีการเชื่อมหรือข้อต่อทางกล บทต. ต้องเป็นคันใหม่และทุกระบบต้องพร้อมใช้งาน อาทิ
การประกอบและการขันแน่น ช่องว่างท่ีเหมาะสมของอุปกรณ์ สีของรถ น้ามัน สารหล่อล่ืน ความดันอากาศ
มาตรวดั เปน็ ตน้

รายการทดสอบในมาตรฐานนี้อ้างอิงมาจากวิธีการตามมาตรฐาน International Union of
Railways (UIC577), British Standard (BS EN 12663-2:2010) และ Association of American Railroads
(AAR Section C M-1001) ซ่ึงรายการทดสอบสามารถเพ่ิมเติมได้ตามความต้องการเฉพาะของผู้ใช้เพ่ือให้
เหมาะกับประเภทหรอื ชนดิ ของ บทต. ได้

การทดสอบตามมาตรฐานฉบบั น้ี จะใช้รถทดสอบจ้านวน 2 คัน ส้าหรบั การทดสอบ ดงั นี้

คันที่ 1 : ส้าหรับการทดสอบแบบสถิต การทดสอบการโก่งตัว และแคมเบอร์ การทดสอบการยกในแนวด่ิง
การทดสอบแนวด่งิ บริเวณจดุ ขึน้ แม่แรง และการทดสอบการกระแทก

มขร. – R – 001 -2563 มาตรฐานการทดสอบรถโบกี้บรรทุกตูส้ นิ ค้า หนา้ 13

คันที่ 2 : การส้าหรับการทดสอบการเลี้ยวโค้ง การทดสอบห้ามล้อแบบสถิต การทดสอบระยะห้ามล้อ
(ในเสน้ ทางของผู้ใช)้ การทดสอบหา้ มลอ้ ขณะจอด และการทดสอบน้าหนกั และการกระจายนา้ หนัก

2. รายละเอียดของเครอื่ งมือทใี่ ช้ในการวดั และการทดสอบ

ลา้ ดบั การทดสอบ เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ ข้อก้าหนดของเคร่ืองมือและอุปกรณว์ ดั
ท่ีใชใ้ นการวัด / ทดสอบ / ทดสอบ

ก้อนนา้ หนัก ต้องมีใบสอบเทียบ หรือ ใบทวนสอบ

1 การทดสอบระยะหา้ มล้อ อปุ กรณ์วัดความเรว็ รถ ต้องมีใบสอบเทียบ หรอื ใบทวนสอบ
(ในเส้นทางของผใู้ ช)้

อปุ กรณว์ ัดระยะทาง ตอ้ งมีใบสอบเทียบ หรอื ใบทวนสอบ

3. กระบวนการทดสอบ
3.1 การทดสอบระยะหา้ มล้อ (ในเสน้ ทางของผู้ใช)้

1) ความตอ้ งการ

บทต. บรรทุกน้าหนักเต็มพิกัดจ้านวน 1 คันเช่ือมหรือมากกว่า ต่อกับหัวรถจักรและเคล่ือนที่
จนมคี วามเร็ว 100 กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง หรือความเรว็ สูงสุดทผี่ ใู้ ชก้ ้าหนด เพื่อท้าการทดสอบระยะการห้ามลอ้

2) การทดสอบ

ทา้ การหา้ มล้อฉุกเฉนิ ของ บทต. ตามขอ้ 1)

3) เกณฑ์การยอมรับผลการทดสอบ

เมื่อมีการท้างานของห้ามล้อฉุกเฉิน ความเร็วของรถต้องลดอย่างต่อเน่ือง และมีระยะห้ามล้อ
ไม่เกนิ 700 เมตร หรือระยะทผี่ ู้ใช้ก้าหนด

4. รายงานการทดสอบ
รายงานผลการทดสอบอยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบด้วยหวั ข้อดงั ต่อไปนี้

1. หนว่ ยงานทดสอบ
2. วันและสถานท่ีทดสอบ
3. รายละเอยี ดข้อมลู ของรถไฟบรรทุกทดสอบและแบบรปู ของรถไฟบรรทุก (Drawing)
4. ช่อื ผผู้ ลิต และรายละเอียดขอ้ มูลอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการทดสอบ
5. ใบรับรองการสอบเทยี บหรอื ใบทวนสอบ และรายละเอียดทางเทคนคิ ของเครอื่ งมือวดั และทดสอบ
6. ใบรบั รองอุปกรณท์ ่ีใช้ในการทดสอบ
7. รายละเอียดวธิ ีการทดสอบในแต่ละรายการ
8. ผลการทดสอบ และเกณฑก์ ารยอมรบั ในแตล่ ะการทดสอบ
9. ตารางข้อมลู กราฟ รูปภาพการทดสอบ และภาพผลการประเมนิ
10. ขอ้ มูลดิบตามแบบฟอร์มบนั ทกึ ซึง่ มีการลงนามรับรองผ


Click to View FlipBook Version