The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถานที่ท่องเที่ยว 15

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by No name Channel, 2020-02-20 00:24:56

สถานที่ท่องเที่ยว 15

สถานที่ท่องเที่ยว 15

0

BURIRAM

0

คำนำ

จงั หวดั บรุ ีรัมยม์ กี ำรทอ่ งเทยี่ วและมีประวตั ศิ ำสตร์เมอ่ื งโบรำณและมีกำรจดั ให้มนี กั ท่องเทย่ี วมำเท่ียว
ท่ีจงั หวดั บรุ ีรมั ยก์ นั มำกข้นึ กำรส่ือสำรภำษำกม็ สี ่วนสำคญั ในกำรติดต่อพดู คุย แน่นำจงั หวดั ใหก้ บั
นกั ท่องเท่ยี วไดร้ ู้จกั วฒั นธรรมของจงั หวดั บรุ ีรัมยก์ นั มำกข้นึ กำรศกึ ษำเรียนรู้ภำษำองั กฤษจึงเป็นเรื่อง
สำคญั ในกำรเตรียมควำมพร้อมใหก้ บั นกั เรียน นกั ศกึ ษำ และผทู้ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง ท้งั น้ีเพ่ือให้เกิดควำมพรอ้ ม
และกำรปรบั ตวั ให้ทนั ต่อกำรเปลย่ี นแปลงทีเ่ กดิ ข้นึ

ผจู้ ดั ทำรำยงำนฉบบั น้ีจงึ ไดจ้ ดั ทำรำยงำน ภำษำองั กฤษเพื่อให้ง่ำยตอ่ กำรศึกษำตอ่ ไปในอนำคต และ
ผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอย่ำงยง่ิ ว่ำ รำยงำนฉบบั น้ีจะนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ต่อไป

นำงสำว ฉตั รติกำ หอมนวล
. ผจู้ ดั ทำ

สำรบญั 1-3
ทมี่ ำของสถำนที่ท่องเที่ยว 3-17
สถำนท่ีทอ่ งเท่ยี ว 18-22
สถำนทส่ี ำคญั ทำงประวตั ศิ ำสตร์ 23-27
บุรีรมั ย์ คำสเซ่ิล 28-40
อยุทยำนตำ่ งๆ 41-45
หมู่บำ้ นทอ่ งเที่ยว 46-61
สำนกั งำนทอ่ งเท่ียวและกฬี ำจงั หวดั บรุ ีรมั ย์

1

ทเี่ ทย่ี วบรุ ีรัมย์ หน่ึงในจงั หวดั ทอ่ งเที่ยวภำคอีสำนทนี่ ่ำสนใจ หลำกหลำยดว้ ยสถำนท่ที อ่ งเท่ียว เอำใจ
นกั ทอ่ งเทย่ี วท่อี ยำกเดนิ ทำงมำเทย่ี วบรุ ีรัมย์ ใหไ้ ดไ้ ปเชก็ อนิ กนั ถงึ ที่

บุรีรัมย์ นบั เป็นอกี หน่ึงท่ีเทยี่ วภำคอีสำนทใี่ นชว่ งระยะหลงั มำน้ีฮอตในหมนู่ กั ท่องเทีย่ วแบบสุด
ๆ ดว้ ยเพรำะมสี ถำนที่ทอ่ งเที่ยวมำกมำย ไลเ่ รียงมำต้งั แต่ทเี่ ทยี่ วมรดกวฒั นธรรมแบบด้งั เดิม ตลอดจน
ที่เทีย่ วยคุ ใหม่ ที่ผสมกลมกลืนไดอ้ ย่ำงลงตวั เหล่ำน้ีเป็นเสน่ห์ดึงดดู ให้บุรีรมั ยก์ ลำยเป็นอีกหน่ึง
จงั หวดั น่ำเท่ียวไปโดยปริยำยบุรีรัมยเ์ ป็นเมอื งแห่งควำมรื่นรมย์

ตำมควำมหมำยของชื่อเมืองที่น่ำ
อยสู่ ำหรบั คนในทอ้ งถิ่นและเป็นเมืองที่น่ำมำเยอื นสำหรับคนตำ่ งถิน่
เมอื งปรำสำทหินในเขตจงั หวดั บรุ ีรมั ยม์ ำกมไี ปดว้ ย ปรำสำทหินใหญ่นอ้ ย อนั หมำยถึงควำมรุ่งเรืองมำ
แตอ่ ดีต จำกกำรศึกษำของ
นกั โบรำณคดพี บหลกั ฐำนกำรอยู่อำศยั ของมนุษยม์ ำต้งั แตส่ มยั กอ่ นประวตั ิศำสตร์สมยั ทรำวดี และที่
สำคญั ทีส่ ุดพบกระจำยอยทู่ วั่ ไป ในจงั หวดั บรุ ีรมั ยม์ ำกคือ หลกั ฐำนทำงวฒั นธรรมของเขมรโบรำณ
ซ่ึงมที ้งั ปรำสำทอิฐ และปรำสำทหินเป็นจำนวนมำกกวำ่ 60 แห่ง รวมท้งั ไดพ้ บแหลง่ โบรำณคดที ี่
สำคญั คอื เตำเผำ ภำชนะดนิ เผำ และภำชนะดนิ เผำแบบทเี่ รียกวำ่ เครื่องถว้ ยเขมร ซ่ึงกำหนดอำยไุ ด้
ประมำณพทุ ธศตวรรษที่ 15 ถึง 18 อยทู่ ว่ั ไปหลงั จำกสมยั ของวฒั นธรรมขอมหรือเขมรโบรำณ
แลว้ หลกั ฐำนทำงประวตั ิศำสตร์ของจงั หวดั บรุ ีรมั ย์ เริ่มมีข้ึนอีกคร้ังตอนปลำยสมยั กรุงศรีอยุธยำ โดย
ปรำกฏช่ือว่ำเป็นเมอื งข้ึนของเมืองนครรำชสีมำและปรำกฏช่ือตอ่ มำในสมยั กรุงธนบุรีถึงสมยั กรุง
รตั นโกสินทร์วำ่ บุรีรมั ยม์ ฐี ำนะเป็นเมือง ๆ หน่ึง จนถงึ พ.ศ.2476 ไดม้ ีกำรจดั ระเบียบรำชกำรบริหำร

2

ส่วนภมู ภิ ำคใหม่ จึงไดช้ ่ือเป็นจงั หวดั บรุ ีรัมยม์ ำจนถงึ ปัจจุบนั น้ีช่ือเมืองบุรีรัมย์ ไมป่ รำกฎในเอกสำร
ประวตั ิศำสตร์สมยั อยุธยำและธนบรุ ีเฉพำะช่ือเมอื งอืน่ ซ่ึงปัจจบุ นั เป็นอำเภอในจงั หวดั บุรีรัมย์ ไดแ้ ก่

เมืองนำงรองเมอื งพทุ ไธสง และเมืองประโคนชัย พ.ศ. 2319 รชั สมัยสมเดจ็ พระเจำ้ ตำกสินมหำรำช
กรุงธนบุรี กรมกำรเมืองนครรำชสีมำ มใี บยอกเขำ้ มำว่ำ พระยำนำงรองคบคิดเป็น กบฏร่วมกบั เจำ้ โอ
เจำ้ อิน และอปุ ฮำดเมอื งจำปำศกั ด์ิ จงึ โปรดให้ พระบำทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้ำจฬุ ำโลกมหำรำช เม่อื
ยงั ดำรงคำแหน่ง เจำ้ พระยำจกั รี เป็นแมท่ พั ไปปรำบจบั ตวั พระยำนำงรองประหำรชีวิตและสมทบ
เจำ้ พระยำสุรสีห์ (สมเด็จพระบวรรำชเจำ้ มหำสุรสิงหนำท) คมุ กองทพั หัวเมืองฝ่ ำยเหนือยกไปตเี มือง
จำปำศกั ด์ิ เมอื งโขง และเมืองอตั ปื อ ไดท้ ้ัง 3 เมือง ประหำรชีวิต เจำ้ โอ เจำ้ อนิ อุปฮำด เมืองจำปำศกั ด์ิ
แลว้ เกล้ียกลอ่ มเมอื งตำ่ ง ๆใกลเ้ คยี งใหส้ วำมิภกั ด์ิ ไดแ้ ก่ เขมรป่ ำดง ตะลบุ สุรินทร์ สังขะ และเมืองขุ
ขนั ธ์ รวบรวมผูค้ นต้งั เมืองข้นึ ในเขตขอมรำ้ เรียกว่ำ เมืองแปะ แต่งต้งั บุรีรัมยบ์ ุตรเจำ้ เมืองผไทสมนั
(พทุ ไธสง)ใหเ้ ป็นเจำ้ เมือง ซ่ึงต่อมำไดเ้ ป็นพระยำนครภกั ดี ประมำณปลำยรัชกำลพระบำทสมเด็จพระ
จอมเกลำ้ เจำ้ อยู่หวั หรือตน้ รำชกำร พระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลำ้ เจำ้ อย่หู ัวไดเ้ ปลี่ยนช่ือเมอื งแปะ
เป็นบรุ ีรมั ยด์ ว้ ยปรำกฎวำ่ ไดม้ ีกำรแตง่ ต้ัง พระสำแดงฤทธิรงคเ์ ป็นพระนครภกั ดีศรีนครำ ผูส้ ำเร็จ
รำชกำรเมอื งบุรีรัมย์ ข้ึนเมืองนครรำชสีมำใน พ.ศ. 2411

เมอื งบรุ ีรัมยแ์ ละเมืองนำงรองผลดั กนั มีควำมสำคญั เร่ือยมำ พ.ศ. 2433 เมอื งบุรีรัมยโ์ อนข้ึนไปข้ึนกบั
หวั เมืองลำวฝ่ ำยเหนือ มีหนองคำยเป็นศูนยก์ ลำง และเมอื งบรุ ีรมั ยม์ ีเมอื งในสงั กดั 1 แห่ง คือเมอื ง
นำงรอง ต่อมำประมำณ พ.ศ. 2440-2441 เมอื งบรุ ีรัมยไ์ ดก้ ลบั ไปข้ึนกบั มณฑลนครรำชสีมำเรียกว่ำ"
บริเวณนำงรอง" ประกอบดว้ ย เมอื งบุรีรัมย์ นำงรองรัตนบุรี ประโคนชยั และพุทไธสง พ.ศ. 2442 มี
ประกำศเปลย่ี นช่ือ มณฑลลำวเฉียงเป็น มณฑลฝ่ ำยตะวนั ตกเฉียงเหนือมณฑลลำวพวนเป็นมณฑลฝ่ ำย
เหนือ มณฑลลำวเป็นมณฑลตะวนั ออกเฉียงเหนือ มณฑลเขมร เป็ นมณฑลตะวนั ออกและในครำวน้ี
เปลย่ี นช่ือ บริเวณนำงรองเป็น "เมืองนำงรอง"มีฐำนะเป็นเมอื งจตั วำ ต้งั ทีว่ ่ำกำรอย่ทู ีเ่ มืองบรุ ีรัมย์ แต่
ตรำตำแหน่งเป็นตรำผวู้ ่ำกำรนำงรอง กระทรวงมหำดไทยจงึ ไดป้ ระกำศเปลีย่ นชื่อเมอื งเป็น "บุรีรัมย"์
และเปลย่ี นตรำตำแหน่งเป็นผวู้ ่ำรำชกำรเมืองบุรีรมั ย์ ต้งั แตว่ นั ที่ 3 สิงหำคมพ.ศ. 2444 เป็นตน้ มำ พ.ศ.
2450

3

กระทรวงมหำดไทยปรับปรุงหัวเมืองในภำคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ใหม้ ณฑลนครรำชสีมำ
ประกอบดว้ ย 3 เมือง 17 อำเภอ คอื เมืองนครรำชสีมำ 10 อำเภอ เมอื งชยั ภูมิ 3 อำเภอ และเมอื งบรุ ีรัมย์
4 อำเภอ คอื นำงรอง พุทไธสง ประโคนชยั และรตั นบุรี ต่อมำไดม้ ีกำรตรำพระรำชบญั ญตั ิระเบียบ
บริหำรแห่งรำชอำณำจกั รสยำม พ.ศ. 2476 ข้นึ ยุบมณฑลนครรำชสีมำ จดั ระเบยี บบริหำรรำชกำรส่วน
ภมู ภิ ำคออกเป็นจงั หวดั และอำเภอ เมืองบุรีรมั ยจ์ ึงมฐี ำนะเป็น "จงั หวดั บุรีรมั ย"์ ต้งั แตน่ ้นั เป็นตน้ มำ

1.อทุ ยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

อุทยำนประวตั ิศำสตร์พนมรุง้ หรือ ปรำสำทหินพนมรุง้ เป็นหน่ึงในปรำสำทหินในกลุ่มรำชมรรคำ
ต้งั อยทู่ หี่ มทู่ ี่ 2 (บำ้ นดอนหนองแหน) ตำบลตำเป๊ ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่ำงจำกตวั เมอื งบุรีรัมยล์ ง
มำทำงทศิ ใตป้ ระมำณ 77 กโิ ลเมตร ประกอบไปดว้ ยโบรำณสถำนสำคญั ซ่ึงต้งั อยบู่ นยอดภูเขำไฟทดี่ บั
สนิทแลว้ สูงประมำณ 200 เมตรจำกพืน้ รำบ (ประมำณ 350 เมตรจำกระดบั น้ำทะเลปำนกลำง) คำวำ่
พนมรุ้ง น้นั มำจำกภำษำเขมร คำวำ่ วนรุง แปลว่ำ ภูเขำใหญ่

ปัจจบุ นั ปรำสำทหินพนมรุง้ กำลงั อยู่ในเกณฑ์กำลงั พิจำรณำเป็นมรดกโลก เช่นเดียวกบั ปรำสำทหิน
ในกลุ่มรำชมรรคำ ปรำสำทหินพนมรุง้ เป็นหน่ึงในปรำสำทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมำกทสี่ ุด เป็น
สถำนท่ีทอ่ งเทีย่ วทส่ี ำคญั ท่สี ุดแห่งหน่ึงของจงั หวดั บรุ ีรัมย์ และถือเป็นสญั ลกั ษณท์ สี่ ำคญั ของจงั หวดั
บุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภำพพ้นื หลงั ตรำสัญลกั ษณข์ องสโมสรฟุตบอลบรุ ีรัมย์ ยูไนเตด็ อีกดว้ ย

4

2. ปราสาทหนิ เมืองต่า

ต้งั อย่ทู บ่ี ำ้ นโคกเมือง ตำบลจรเขม้ ำก อำเภอประโคนชยั เป็นเมืองโบรำณร่วมสมยั กบั ปรำสำท
เขำหินพนมรุ้ง นบั เป็นปรำสำทหินของโบรำณท่ีมขี นำดใหญ่มำกอกี แห่งหน่ึงของจงั หวดั ภำยใน
ประกอบดว้ ยอำคำรสถำปัตยกรรมต่ำง ๆ เชน่ กำแพงแกว้ , ลำนปรำสำทหินเมอื งตำ่ และสระน้ำ,
ระเบียงคดและซุม้ ประตู,กลุ่มปรำสำทอิฐ, บรรณำลยั และบำรำย เป็นตน้ ปรำสำทเมอื งตำ่ อยหู่ ่ำงจำก
ปรำสำทเขำหินพนมรุ้งเพียง 8 กโิ ลเมตร นกั ท่องเที่ยวสำมำรถเท่ยี วชมโบรำณสถำนท้งั 2 แห่งไดอ้ ย่ำง
สะดวก

5

3. วัดเกาะแก้วธดุ งคสถาน (วัดระหาน)

ต้งั อย่ทู ตี่ ำบลบำ้ นดำ่ น อำเภอบำ้ นดำ่ น ภำยในวดั ประดษิ ฐำนพระมหำธำตรุ ัตนเจดีย์ สรำ้ งข้นึ
จำกดำริของหลวงป่ จู นั ทร์แรม เขมสิริ พระเกจิช่ือดงั เพอื่ เป็นปูชนียสถำนระลกึ ถงึ องคส์ มเด็จพระ
สมั มำสัมพุทธเจำ้ และใชเ้ ป็นทบี่ รรจพุ ระบรมสำรีริกธำตุ ที่หลวงป่ ูจนั ทร์แรม อญั เชิญมำจำกประเทศ
ศรีลงั กำ ภำยในวดั สงบร่มร่ืน เหมำะสำหรบั เป็นทที่ ี่พุทธศำสนิกชนเดินทำงมำทำบญุ และปฏบิ ตั ธิ รรม
รวมถึงยงั จะไดเ้ ห็นฝงู นกยงู จำนวนมำกภำยในวดั อกี ดว้ ย

6

4. วดั เขาพระอังคาร

ต้งั อยู่บนยอดเขำองั คำร ในอำเภอเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวดั บุรีรมั ย์ สันนิษฐำนวำ่ สร้ำงในสมยั
เดียวกบั ปรำสำทหินพนมรุ้ง เป็นวดั ที่มคี วำมสวยงำม ใหญโ่ ตแห่งหน่ึงของจงั หวดั บุรีรมั ย์ มสี ่ิงท่ี
น่ำสนใจมำกมำย เช่น โบสถ์ 3 ยอด ซ่ึงภำยในโบสถม์ ภี ำพจิตรกรรมฝำผนงั และเร่ืองรำวชำดกเป็น
ภำษำองั กฤษ, ใบเสมำพนั ปี , พระพฆิ เนศงำเดยี ว, พระพทุ ธ 109 องค,์ พระตำหนกั ศกั ด์สิ ิทธ์ิ และ
เทวรูปเจำ้ เมอื งขอม เป็นตน้

7

5. พระเจ้าใหญ่ วดั หงส์

พระพทุ ธรูปศกั ด์สิ ิทธ์ิ เป็นท่ีเลื่อมใสศรทั ธำของชำวบุรีรมั ยแ์ ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ประดษิ ฐำนอยู่
ทีว่ ดั หงษ์ ตำบลมะเฟื อง อำเภอพุทไธสง องคพ์ ระพุทธรูปประทบั ขดั สมำธิ ปำงมำรวิชยั ก่อดว้ ยอิฐถอื
ปนู ศิลปะลำว สร้ำงข้นึ ในสมยั อยธุ ยำตอนปลำย หรือตน้ รตั นโกสินทร์ รำวพทุ ธศตวรรษท่ี 24-25 เม่ือ
ถงึ วนั เพญ็ เดือนสำม (กมุ ภำพนั ธ์-มีนำคม) ชำวบำ้ นจะจดั งำนเทศกำลเพื่อเฉลิมฉลอง 5 วนั 5 คนื เป็น
ประจำทุกปี แด่พระเจำ้ ใหญ่

8

6. สนาม i-mobile stadium

ต้งั อย่ทู อี่ ำเภอเมือง เป็นสถำนทีท่ ่องเท่ยี วที่วนั น้ีไม่มีใครไม่รู้จัก และยงั เป็นสนำมเหยำ้ ของ
สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเตด็ สโมสรฟตุ บอลช่ือดงั ของจงั หวดั ภำยในสนำมกวำ้ งขวำง สำมำรถจุ
ไดถ้ งึ 32,600 ทน่ี ง่ั โดดเดน่ ดว้ ยโลโกส้ โมสรทีต่ ้งั เด่นเป็นสง่ำตดั กบั พ้ืนหญำ้ สีเขยี ว สวยงำม ทนั สมยั
และยง่ิ ใหญต่ ำมระดับมำตรฐำนสำกล ประหน่ึงวำ่ กำลงั เดินดูสนำมฟตุ บอลในต่ำงประเทศเลยทีเดยี ว
ค่ะ (สอบถำมขอ้ มูลเพิม่ เตมิ ไดท้ ่ี เวบ็ ไซต์ buriramunited.com)

9

7. เพ ลา เพลิน

ต้งั อยู่ทอี่ ำเภอคูเมือง เป็นแหล่งพกั ผอ่ นและแหลง่ เรียนรูท้ ส่ี มบูรณ์แบบแห่งเดียวในภำค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภำยในมที ้งั บตู กิ รีสอร์ท สถำนทจ่ี ดั สมั มนำ จดั ทศั นศึกษำแบบพกั แรมและ
แบบเชำ้ ไป-เยน็ กลบั สำหรบั เยำวชน ประกอบไปดว้ ยหลำกหลำยโซน เชน่ โซนเดก็ , โซนสวนสไตล์
องั กฤษ, โซนฟำร์มมำ้ แคระนำเขำ้ จำกองั กฤษ และฟำร์มแกะ เป็นตน้ เรียกไดว้ ำ่ ทุกมมุ ใน "เพ ลำ
เพลิน" คุณจะไดพ้ บแต่ควำมสุขและควำมสนุก พรอ้ มดว้ ยควำมประทบั ใจจำกกำรไดม้ ำพกั ผอ่ นทีน่ ี่
อยำ่ งแน่นอน (สอบถำมขอ้ มลู เพิ่มเติมไดท้ ี่ เวบ็ ไซต์ playlaploen.com หรือ เฟซบกุ๊ Play La Ploen)

10

8. วนอุทยานเขากระโดง

ต้งั อยูใ่ นอำเภอเมอื ง เป็นท้งั แหลง่ ท่องเท่ยี ว ศกึ ษำประวตั ิศำสตร์ ธรณีวทิ ยำและชีววทิ ยำทสี่ ำคญั
ของจงั หวดั บรุ ีรมั ย์ เพรำะเป็นทีต่ ้งั ของภเู ขำไฟท่ียงั คงปรำกฏร่องรอยปำกปลอ่ งใหเ้ ห็นชดั เจน ภำยใน
วนอุทยำนเขำกระโดงมสี ถำนทท่ี ่ีน่ำสนใจมำกมำย ไมว่ ่ำจะเป็น "พระสุภทั รบพิตร" พระพุทธรูปองค์
ใหญค่ ู่เมอื งบรุ ีรมั ย์ และ "สะพำนพสิ ูจนศ์ รัทธำสำธุชน" (บนั ไดนำครำช) ซ่ึงเป็นทำงเดนิ ข้ึนไป
สักกำรบชู ำพระสุภทั รบพติ ร ซ่ึงต้งั อยู่บนยอดเขำกระโดง จำนวน 297 ข้นั

11

9. เข่อื นลานางรอง

ต้งั อยทู่ ต่ี ำบลนำงรอง อำเภอโนนดนิ แดง แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วพกั ผอ่ นของชำวจงั หวดั บุรีรมั ย์ มี
ลกั ษณะเป็นเขอื่ นดนิ ที่มีถนนลำดยำงบนสนั เขอื่ น ทกุ ปี ในชว่ งหนำ้ ร้อน เข่อื นลำนำงรองจะเป็นท่ีเที่ยว
สุดฮิตคลำยร้อนของชำวบรุ ีรัมย์ กจิ กรรมส่วนใหญม่ กั หนีไม่พน้ กำรเลน่ น้ำบำ้ งกพ็ ำครอบครัวมำปั่น
จกั รยำนชิล ๆ หรือบำ้ งก็มำเดินเล่นมองวิถชี ีวิตยำมเยน็ ไปเรื่อย ๆ มองไปมองมำกเ็ พลินอยู่ไมน่ ้อยเลย
ทีเดยี ว

12

10. จดุ ชมววิ ผาแดง

ต้งั อยทู่ อี่ ำเภอโนนดินแดง เป็นอกี หน่ึงจุดชมวิวชว่ งหน้ำหนำวสุดฟิ น ทใ่ี ห้นกั ทอ่ งเท่ยี วได้
สัมผสั อำกำศและธรรมชำตแิ สนสวย พรอ้ มทะเลหมอกทป่ี กคลุมผืนป่ ำดงใหญ่-เทอื กเขำบรรทดั เมือ่
มองลงมำจะเห็นตวั หมบู่ ำ้ นใหม่ไทยถำวร โดยนกั ทอ่ งเทย่ี วสำมำรถเดนิ ทำงจำกท่ที ำกำรอุทยำน
แห่งชำติตำพระยำ ไปทำงอำเภอโนนดินแดง ระยะทำงประมำณ 4 กโิ ลเมตร ถงึ จุดตรวจตำรวจ
ชำยแดน เล้ยี วขวำเป็นทำงลูกรังเขำ้ ไปประมำณ 1 กิโลเมตร แนะนำวำ่ ใหไ้ ปเที่ยวช่วงหนำ้ หนำว บอก
เลยว่ำคุณจะตอ้ งประทบั ใจสุด ๆ

ผำแดง อยู่ในเขตป่ ำสงวนแห่งชำติดงใหญ่ บำ้ นหนองเสมด็ ต.ลำนำงรอง อ.โนดนิ แดง จ.บุรีรมั ย์ เป็น
เขตตดิ ตอ่ ระหวำ่ ง อ.โนนดินแดง กบั อ.ตำพระยำ จ.สระแกว้ เป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทำงธรรมชำติแห่ง
ใหมข่ องจงั หวดั บรุ ีรัมย์ นกั ท่องเท่ียวท่รี กั ธรรมชำติสำมำรถมำสัมผสั อำกำศบริสุทธ์ิ ชมดวงอำทติ ยต์ ก
ทศั นียภำพของผนื ป่ ำธรรมชำติอนั กวำ้ งใหญ่สวยงำมของเทือกเขำบรรทดั และป่ ำสงวนแห่งชำตดิ ง
ใหญ่ โดยเฉพำะช่วงทีม่ อี ำกำศหนำวเยน็ ในช่วงเดอื นพฤศจกิ ำยนถงึ กุมภำพนั ธ์ นกั ทอ่ งเท่ยี วจะไดพ้ บ
กบั ทะเลหมอกปกคลมุ ป่ ำดงใหญ่ - เทอื กเขำบรรทดั อนั ซับซ้อนสวยงำมดว้ ย นอกจำกน้ี ยงั เป็นจุดพกั
รถของคนเดินทำงผำ่ นจงั หวดั บุรีรัมย์ ไปยงั จงั หวดั ต่ำง ๆ ในภำคตะวนั ออกดว้ ย ซ่ึงช่วงน้ีในแตล่ ะวนั
ไดม้ นี กั ทอ่ งเท่ียวและผทู้ ่ีเดินทำงแวะมำเทย่ี วชมพกั ผ่อน ถ่ำยภำพเป็นทรี่ ะลึกเป็ นจำนวนมำก ไม่แพ้
แหล่งทอ่ งเท่ียวทำงธรรมชำติอน่ื ๆ แหล่งทอ่ งเท่ียวดงั กลำ่ วสำมำรถเช่ือมโยงกบั แหลง่ ท่องเท่ียวอนื่ ๆ
ในพื้นทอ่ี ำเภอโนนดนิ แดงอีกดว้ ย

13

11. ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้

ต้งั อยดู่ ำ้ นหน้ำมหำวทิ ยำลยั รำชภฏั บุรีรัมย์ ประกอบดว้ ยอำคำร 2 หลงั คอื หอวฒั นธรรมสองช้นั
และอำคำรหอประชุมภำยในมีกำรจดั แสดงนิทรรศกำรตำ่ ง ๆ เชน่ นิทรรศกำรภูมศิ ำสตร์แสดงสภำพ
ภูมศิ ำสตร์อสี ำนใตแ้ ละจงั หวดั บุรีรมั ย,์ นิทรรศกำรแหลง่ ที่ต้งั ชุมชนโบรำณของจงั หวดั บุรีรัมย,์
นิทรรศกำรโบรำณวตั ถสุ มยั ต่ำง ๆ, นิทรรศกำรประวตั ิศำสตร์จงั หวดั สุรินทร์, นิทรรศกำรชำ้ งกบั ส่วย,
นิทรรศกำรศำสนำและควำมเชื่อ และนิทรรศกำรผำ้ และวถิ ชี ีวติ เป็นตน้

14

12. หาดปราสาททอง

ต้งั อยูท่ ่ีอำเภอหนองกี่ เพง่ิ เปิ ดเป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วไปเมอ่ื ชว่ งเดือนมกรำคม 2559 เป็นอกี หน่ึงท่ี
เที่ยวพกั ผ่อนของชำวจงั หวดั บุรีรัมย์ บรรยำกำศร่มร่ืนดว้ ยแนวตน้ ไมร้ ิมหำด รวมถงึ ยงั มที ำงเดนิ ริม
หำดเอำไวใ้ ห้คุณนงั่ เล่นเดนิ เลน่ แบบชิล ๆ ส่วนใหญแ่ ลว้ ท่ีน่ีจะคึกคกั ในชว่ งวนั หยุด เพรำะครอบครวั
จะพำกนั จงู มือลกู หลำนมำเทย่ี ว มำเลน่ น้ำ ถอื เป็นอกี หน่ึงท่ีเทยี่ วแลนดม์ ำร์กบรุ ีรัมยท์ ่นี ่ำสนใจอยู่ไม่
นอ้ ย

15

13. สวนนก

ต้งั อยูต่ ำบลสะแกซำ อยูใ่ นบริเวณอำ่ งเกบ็ น้ำหว้ ยตลำด นกั ท่องเท่ียวจะไดพ้ บเห็นฝูงนกชนิดตำ่ ง
ๆ กว่ำ 100 ชนิดทบ่ี นิ มำอำศยั โดยเฉพำะในช่วงฤดูแลง้ ต้งั แต่เดือนพฤศจิกำยน-เมษำยน จะมีฝูงนกมำ
อำศยั อยู่มำกเป็นพเิ ศษ บำงชนิดใกลส้ ูญพนั ธุแ์ ละหำดูไดย้ ำก เช่น นกเป็ดหงส์ นกเป็ดกำ่ และนก
กำบบวั เป็นตน้ ถำ้ หำกวำ่ คุณเป็นคนทชี่ ่ืนชอบธรรมชำติ ชอบท่จี ะดูนกเพลนิ ๆ เคลำ้ กบั บรรยำกำศดี
ๆ ทน่ี ี่เหมำะสำหรบั เป็นท่ีเที่ยวท่ีน่ำสนใจมำก ๆ อีกท่หี น่ึงคะ่

16

14. ถนนคนเดนิ เซราะกราว

ต้งั อยู่บริเวณหน้ำจวนผวู้ ่ำรำชกำรจงั หวดั บุรีรัมย์ นกั ท่องเท่ียวจะสนุกและเพลิดเพลินไปกบั กำร
เดินเลือกซ้ือของและเลือกซ้ือสินคำ้ พื้นบำ้ น ของฝำกที่ระลกึ และชมกำรแสดงศลิ ปหัตถกรรมทเ่ี ป็น
เอกลกั ษณ์ของชำวจงั หวดั บรุ ีรมั ย์ นอกจำกจะมีของใหเ้ ลอื กซ้ือมำกมำยแลว้ บรรยำกำศของทน่ี ่ีกช็ ิ
ลสุด ๆ เพรำะต้งั อยู่ริมคลองละลม ใครท่ีเดนิ เทยี่ วจนเมอื่ ยขำ กแ็ วะมำนง่ั ชิล ๆ รบั ลมเยน็ ๆ หรือจะนง่ั
รบั ประทำนอำหำรอร่อย ๆ ก็ไดค้ ะ่ เปิ ดทุกวนั เสำร์-อำทิตย์ เวลำ 17.00-22.00 น. (สอบถำมขอ้ มลู
เพ่ิมเติมไดท้ ่ี โทรศพั ท์ 044 602 345 หรือ เฟซบกุ๊ ถนนคนเดนิ เซรำะกรำว วอลค์ กิ้ง สตรีท)

17

15. บ้านสวนนอก

ต้งั อย่ทู ่ีอำเภอห้วยรำช เป็นหมบู่ ำ้ นเล็ก ๆ ทีจ่ ะพำคุณไปสมั ผสั กบั แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ววิถีชีวติ ผลิต
ไหม ต้งั แตก่ ำรปลูกหม่อน, เก็บหมอ่ น, กำรเล้ียงไหม, ชมและเรียนรูก้ ำรเล้ียงไหม รวมถึงให้อำหำรตวั
ไหม เรียกไดว้ ำ่ ครบถว้ นถึงวงจรกำรผลิต รวมถงึ เยีย่ มชมผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนท่ีน่ำสนใจ กินอำหำรอร่อย
ประจำทอ้ งถนิ่ และถำ้ ใครตดิ ใจ ท่ีนี่กย็ งั มที พี่ กั โฮมสเตยไ์ วค้ อยบริกำรนกั ทอ่ งเท่ยี วอกี ดว้ ยนะคะ
สำนกั งำนท่องเท่ยี วและกฬี ำจงั หวดั

18

อาเภอเมืองบุรีรัมย์
สถำนทส่ี ำคญั ทำงประวตั ิศำสตร์
ศูนยว์ ฒั นธรรมอีสำนใต้ เป็นสถำนทีจ่ ดั แสดงโบรำณวตั ถุ และเป็นแหล่งคน้ ควำ้ วจิ ยั เกี่ยวกบั
ประวตั ศิ ำสตร์ทอ้ งถิ่น เปิ ดเมื่อวนั ที่ 16 เมษำยน พ.ศ. 2536
พระบรมรำชำนุสำวรียพ์ ระบำทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช เป็นพระบรมรำชำนุสำวรีย์ที่
ชำวบุรีรมั ยไ์ ดร้ ่วมกนั สร้ำงข้ึน ดว้ ยควำมสำนึกในพระมหำกรุณำธคิ ุณแห่งผสู้ ถำปนำเมอื งบรุ ีรมั ย์ และ
เพอ่ื เป็นอนุสรณ์สกั กำระ รวมท้งั ศูนยร์ วมจิตใจทแี่ สดงถึงควำมจงรกั ภกั ดีต่อสถำบนั พระมหำกษตั ริย์
ไทยและรำชวงศจ์ กั รี
ศาลหลักเมืองบรุ ีรัมย์

บำ้ นโนนสำรำญ หมูบ่ ำ้ นท่องเทยี่ วของจงั หวดั บุรีรัมย์ มีกำรทอผำ้ ไหมเพ่ือจัดจำหน่ำยวนอุทยำนเขำ
กระโดง ต้งั อยู่ทบี่ ำ้ นน้ำซับ ตำบลเสม็ด อดีตรู้จกั กนั ในช่ือ "พนมกระดอง" มีควำมหมำยวำ่ "ภูเขำ
กระดองเต่ำ" เพรำะคลำ้ ยกระดองเตำ่ ซ่ึงตอ่ ไดเ้ รียกเพ้ยี นเป็น "กระโดง" บนยอดเขำมพี ระสุภทั ร
บพิตร
ซ่ึงเป็นพระพทุ ธรูปก่ออฐิ ฉำบปูนขนำดใหญ่ หนำ้ ตกั กวำ้ ง 12 เมตร ฐำนยำว 14 เมตร สร้ำงข้นึ เม่ือ
พ.ศ. 2512 เดมิ องคพ์ ระเป็นสีขำว แต่เมอ่ื โดนแดดทำใหค้ ลำ้ ยสีดำ จงึ แกเ้ ป็นสีทอง นอกจำกน้นั ยงั มี
บนั ไดนำครำช, พระพทุ ธบำทจำลอง, ปรำสำทเขำกระโดง, ปำกปลอ่ งภูเขำไฟ และอำ่ งเก็บน้ำเขำ
กระโดง (อำ่ งเก็บน้ำวฒุ สิ วสั ด์)ิ บริเวณหน้ำที่ทำกำรวนอุทยำน

19

อ่างเกบ็ น้าและชลประทาน

อำ่ งเกบ็ น้ำห้วยตลำด เป็นแหลง่ ดูนกน้ำแห่งหน่ึงของจงั หวดั บุรีรัมย์ มพี นื้ ที่ 4,434 ไร่ มีนกกระสำปำก
เหลอื งอำศยั อยู่ นอกจำกน้ียงั พบนกกระสำดำ, นกกำบบวั , นกอำ้ ยงวั่ , เป็ดเทำ และนกน้ำตำ่ ง ๆ อีก
มำกมำย

อำ่ งเกบ็ น้ำหว้ ยจรเขม้ ำก เป็นทะเลสำบน้ำจดื ขนำดใหญ่ สร้ำงข้ึนเพอ่ื กำรชลประทำนและกำรประปำ
มีพ้นื ที่ 3,876 ไร่

อยู่ในตำบลบำ้ นบวั ตำบลเสม็ด และตำบลสะแกโพรง มีไมพ้ น้ื เมอื งยนื ตน้ นกประจำถน่ิ และนก
อพยพตำมฤดกู ำลเป็นจำนวนมำกกว่ำ 170 ชนิด

20

ศูนย์กฬี าของบุรีรัมย์ ยไู นเต็ด

ชำ้ งอำรีนำ (เดิมคอื ไอ-โมบำย สเตเดียม) เป็นสนำมฟตุ บอลที่ไดม้ ำตรฐำนแห่งแรกและแห่งเดยี วใน
ประเทศไทยทไ่ี ม่มีลู่วิ่งคน่ั สนำมและผำ่ นมำตรฐำนสหพนั ธฟ์ ุตบอลนำนำชำติ (FIFA) สำมำรถจดั เกม
กำรแขง่ ขนั ระดบั ชำติได้ เป็นสนำมทส่ี วยงำมอกี แห่งหน่ึงของเมอื งไทย ปัจจุบนั เป็นสนำมเหยำ้ ของ
ทีมบุรีรัมย์ ยไู นเต็ด

21

ช้าง อินเตอร์เนช่ันแนล เซอร์กิต

เป็นสนำมแข่งรถมำตรฐำนสมำพนั ธ์รถยนต์นำนำชำติ และเป็นสนำมแขง่ รถที่ใหญ่ทส่ี ุดในประเทศ
ไทย

บุรีรมั ย์ อินเตอร์เนชนั แนล เซอร์กิต (องั กฤษ: Buriram International Circuit , ยอ่ : BRIC) หรือ ชำ้ ง
อนิ เตอร์เนชน่ั แนล เซอร์กติ (ชื่อตำมบริษทั เบียร์ชำ้ ง ซ่ึงเป็นผสู้ นบั สนุนหลกั ของสนำมในปัจจบุ นั )
เป็นสนำมแข่งรถมำตรฐำนสมำพนั ธร์ ถยนต์นำนำชำติ (FIA) ในประเทศไทย ต้งั อยู่ดำ้ นทศิ ตะวนั ตก
ของนิวไอโมบำยสเตเดียม ตำบลอิสำณ อำเภอเมอื งบุรีรัมย์ จงั หวดั บรุ ีรมั ย์

ในวนั ท่ี 24 กนั ยำยน 2557 สนำมชำ้ งไดร้ บั กำรรบั รองจำกสมำพนั ธ์รถยนต์นำนำชำติ ว่ำเป็น
สนำมแข่งรถระดบั มำตรฐำน เอฟไอเอ เกรด 1 (FIA Grade 1) ซ่ึงเป็นระดบั สนำมทอ่ี นุญำตใหใ้ ช้
จดั กำรแข่งขนั รถสูตรหน่ึง (ฟอร์มูลำวนั ) ได้1

ในวนั ท่ี 7 ตลุ ำคม 2557 สนำมชำ้ งไดร้ ับกำรรับรองจำกสมำพนั ธ์จกั รยำนยนต์นำนำชำติ (FIM) วำ่ เป็น
สนำมแข่งรถระดบั มำตรฐำน เอฟไอเอม็ เกรด เอ (FIM Grade A) ซ่งึ เป็นระดบั สนำมทอ่ี นุญำตให้ใช้
จดั กำรแขง่ ขนั โมโตจพี ีได[้ 2]

เมอ่ื วนั ที่ 29 สิงหำคม 2557 กิจกรรม "พฒั นำเมอื งบุรีรัมย์ สู่เมืองกีฬำมำตรฐำนโลก" นำยเนวิน ชิด
ชอบ ประธำนที่ปรึกษำโครงกำรสนำมแข่งรถชำ้ ง อนิ เตอร์เนชน่ั แนล เซอร์กติ ร่วมกบั หอกำรคำ้
จงั หวดั บุรีรมั ยจ์ ดั ข้ึน เพอื่ เป็นกำรปลกุ ใหช้ ำวบุรีรมั ยต์ น่ื ตวั กบั กำรลงทนุ ทำธุรกิจ และร่วมกนั พฒั นำ
เมืองบรุ ีรมั ยส์ ู่กำรเป็นเมืองทอ่ งเท่ียวหลกั พรอ้ มท้งั ประกำศยกระดบั เมืองบรุ ีรัมยส์ ู่กำรเป็นมหำนคร
แห่งกีฬำระดบั โลก ท้ังน้ี นำยเนวินไดเ้ ปิ ดใหช้ ำวบรุ ีรัมยเ์ ขำ้ ชมสนำมแขง่ รถระดบั โลกมูลคำ่ กวำ่ 2

22

พนั ลำ้ นบำท แห่งแรกและแห่งเดยี วในไทย ซ่ึงมกี ำหนดกำรเปิ ดสนำมแขง่ ขนั อย่ำงเป็นทำงกำร ใน
วนั ท่ี 4 ตลุ ำคม พ.ศ. 2557[3]
กำรแขง่ ขนั โมโตจพี ี ฤดูกำล 2018 จะจดั ข้นึ ทส่ี นำมชำ้ ง อินเตอร์เนชน่ั แนล เซอร์กิต ระหวำ่ งวนั ท่ี 5-7
ตุลำคม พ.ศ. 2561 ซ่ึงเป็นสนำมที่ 15 จำกท้งั หมด 19 สนำม นบั เป็นกำรจดั แข่งขนั โมโตจีพคี ร้ังแรก
ในประเทศไทย โดยมีกำรเซน็ สัญญำจดั กำรแขง่ ขนั เป็นเวลำ 3 ปี (พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2563)

23

บรุ ีรัมย์ คาสเซ่ิล

เป็นแหล่งกำรคำ้ แห่งใหม่ของบุรีรัมย์ ต้ังอย่รู ะหวำ่ งชำ้ งอำรีนำ กบั ชำ้ งเซอร์กติ มปี รำสำทหินพนมรุ้ง
จำลอง สวนศิวะ 12 และมีรำ้ นคำ้ รำ้ นอำหำรตำ่ ง ๆ

หลงั จากเป็ นข่าวฮือฮากันมากสาหรับ "สวนศิวะ 12" [อ่านข่าว เนวิน ยนั รูปป้ันร่วมเพศ 12 ท่า ไม่ใช่
เร่ืองแปลก ได้ไอเดียจากปราสาทหินพนมรุ้ง] วนั น้เี ราจะพาทกุ คนไปทาความรู้จกั กบั "บรุ ีรัมย์ คาส
เซิล" ไลฟ์ สไตล์คอมมูนติ แี้ ห่งใหม่ในจงั หวัดบรุ ีรัมย์ท่ีเพ่งิ เปิ ดตัวกันไปหมาด ๆ แห่งนกี้ นั ส่วนจะสวย
ครบครันท้ังท่ชี ้อป ท่กี นิ ท่ีพักผ่อนหย่อนใจขนาดไหนตามไปชมแบบเต็ม ๆ กนั เลยค่ะ

บริษทั ศวิ ะ บำร์ณำ จำกดั นำโดย นำยเนวนิ ชิดชอบ เปิ ดตวั "บุรีรัมย์ คาสเซิล" คอมมนู ิต้มี อลล์
แห่งใหม่ กนิ ..เท่ยี ว..ท่ีเดยี วจบ

24

บรุ ีรัมย์ คาสเซิล แหลง่ อำรยธรรมใหม่ทจี่ ะสร้ำงควำมตืน่ ตำต่ืนใจแบบที่ไมส่ ำมำรถพบไดท้ ี่
ไหนมำกอ่ น เพรำะเป็นแหลง่ รวมหัวใจของบรุ ีรัมยไ์ วท้ ่เี ดยี ว ดว้ ยเงนิ ลงทนุ กว่ำ 370 ลำ้ นบำท เปิ ดตวั
พรอ้ มให้เขำ้ ใชบ้ ริกำรต้งั แตใ่ นวนั ที่ 13 กุมภำพนั ธ์ 2559

โดย "บุรีรัมย์ คาสเซิล" พืน้ ท่ขี นำด 93,000 ตำรำงเมตร ต้งั อยู่ระหวำ่ ง i-Mobile Stadium และ
สนำมแขง่ รถ ชำ้ ง อินเตอร์เนชนั่ แนล เซอร์กติ เป็นโครงกำรท่อี อกแบบ โดยอิงรูปแบบจำกหมูบ่ ำ้ น
ชุมชนรอบปรำสำทหินในอดตี ภำยในแบง่ พ้นื ทอี่ อกเป็น Avenue Area ตำรำงเมตร, ปรำสำทหินพนม
รุ้งจำลอง 14,000 ตำรำงเมตร, สวนไมด้ อก ไมป้ ระดบั และสวนตะบองเพชร 35,000 ตำรำงเมตร
CarParking 8,000 ตำรำงเมตร

25

ซ่ึงทำง "บุรีรัมย์ คาสเซิล" ไดส้ ร้ำง "ปราสาทสายฟ้า" ข้ึน เพอื่ เป็นศูนยก์ ลำงของแหลง่ อำรย
ธรรมใหม่น้ี ซ่ึงกำรสรำ้ ง "ปราสาทสายฟ้า" ไดก้ ่อสรำ้ งตำมรูปแบบของปรำสำทขอมในอดตี โดย
ช่ำงฝีมือซ่ึงแกะสลกั หินทกุ กอ้ นดว้ ยควำมประณีต ละเอียดลออ และจดั เรียงหินทกุ กอ้ นตำมหลกั กำร
สร้ำงปรำสำทโบรำณ อกี ท้งั ยงั ไดค้ ำนวณพระอำทิตยต์ กส่องผ่ำนประตเู ช่นเดยี วกบั ปรำสำทหินพนม
รุ้ง โดยภำยในปรำสำทจะเป็นหอเกยี รติยศ เก็บถ้วยรำงวลั ท่ีชำวบรุ ีรมั ยภ์ ำคภูมใิ จ

และดว้ ยพื้นท่โี ดยรวมกว่ำ 35,268 ตำรำงเมตร ของ "บุรีรัมย์ คาสเซิล" ท่เี น้นรองรับกำร
ขยำยตวั ของนกั ท่องเทีย่ วทเ่ี พม่ิ ข้นึ แบบยง่ั ยนื ท้งั ผูช้ มท่ีมำชมฟตุ บอลหรือแขง่ ขนั รถยนต์ก็สำมำรถมำ
เทย่ี วได้ พรอ้ มกบั ร้ำนขำยของท่รี ะลึก ซ่ึงพฒั นำจำกสินคำ้ ทอ้ งถิ่นในจงั หวดั บรุ ีรัมยน์ ำมำทำแบรนด์
สินคำ้ ใหมใ่ ห้ดทู นั สมยั และเขำ้ ถึงกล่มุ ผูซ้ ้ือมำกย่ิงข้ึน ส่วนภำยใน Community mall แบ่งเป็นโซนต่ำง
ๆ ไดแ้ ก่

26

- โซนร้านอาหาร
ศูนยร์ วมของร้ำนอำหำรช่ือดงั พรอ้ มฟู้ดคอร์ทท่ีรวบรวมรำ้ นอร่อยของเมอื งบรุ ีรัมยไ์ ว้
- โซน Shopping เสื้อผ้า, แฟชั่น, ของทร่ี ะลกึ , motor sport Apprel
รวมรำ้ นขำยสินคำ้ และรำ้ นขำยของทร่ี ะลกึ
- โซน Kidzone โรงเรียนพเิ ศษ Playground, SPA, Beauty

- โซน Service, It, Bank(SCB), Ticket (การเดินทาง)
- โซน Night life
แหลง่ แฮงก์เอำทข์ องแฟนฟุตบอล คลบั ของชำว GU12 สำหรบั กองเชียร์แฟนฟุตบอลพนั ธุ์แท้
ของทมี บรุ ีรมั ย์ ยไู นเตด็ ที่บรุ ีรัมย์ คำสเซิลทกุ ๆ รำ้ น ให้ส่วนลดพิเศษ โดยไม่ตอ้ งมีบตั รแคใ่ ส่เส้ือท่ี
มโี ลโกส้ โมสรบุรีรมั ย์ ยูไนเตด็ เทำ่ น้นั ถือเป็นแหล่งพบปะสังสรรคข์ องแฟนกฬี ำฟตุ บอล และยงั มี
สิทธิพเิ ศษต่ำง ๆ เอำใจแฟนฟุตบอลขนำนแท้

27

- โซนสวนสาธารณะ

ยงั มีอีกหน่ึงไฮไลท์นนั่ คือ "สวนศิวะ 12" สวนสำธำรณะที่เป็นพ้นื ที่สีเขยี วผนื ใหมข่ องบุรีรมั ย์
ประกอบไปดว้ ยสวนกระบองเพชรขนำดใหญ่ กลว้ ยไม้ และพนั ธุ์ไมห้ ำยำก อีกท้งั ยงั เป็นท่ีต้ัง
ของ "มหาศิวลึงค์" ทำจำกหินทรำย สูงกว่ำ 9 เมตร ซ่ึงใหญ่ที่สุดในโลก รำยรอบดว้ ยแผ่นศิลำหิน
ทรำย "กามาสูตร" ซ่ึงเปรียบด่ังจดุ กำเนิดแห่งจกั รวำล พร้อมเส้นทำงวิง่ ออกกำลงั กำยโดยรอบ
สำหรับใหช้ ำวบรุ ีรมั ยแ์ ละนกั ท่องเที่ยวมำช่ืนชมควำมสวยงำม และพกั ผอ่ นหยอ่ นใจอีกดว้ ย

เรียกไดว้ ่ำ "บุรีรัมย์ คาสเซิล" จะเป็นแลนด์มำร์กแหล่งท่องเทยี่ วแห่งใหม่ ทน่ี กั ทอ่ งเทีย่ ว
จะตอ้ งมำถ่ำยรูป และแชร์รูปภำพ เพ่ือประชำสมั พนั ธบ์ รุ ีรัมยแ์ ละประเทศไทยใหโ้ ด่งดงั ไปทวั่ โลก
EVERY GREAT THING ALWAYS HAPPENS…HERE สิ่งทยี่ งิ่ ใหญเ่ กิดข้ึนไดเ้ สมอ…ท่นี ่ี ท้งั น้ี
สำมำรถดขู อ้ มูลและรำยละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ได้ท่ีเวบ็ ไซต์ buriramguru.com หรือ เฟซบกุ๊ Buriram Castle

28

อุทยานลาน้ามาศ

ศูนย์ข่าวนครราชสีมา – บุรีรมั ยเ์ ปิ ด“อุทยำนเกำะลำน้ำมำศ”

อ.ลำปลำยมำศ เป็นแหล่งทอ่ งเทีย่ วทำงน้ำแห่งใหมแ่ ห่งแรกของจงั หวดั ส่งเสริมดึงดูดนกั เท่ียวเขำ้ มำ
เท่ยี วพกั ผ่อน ลอ่ งเรือชมทศั นียภำพธรรมชำติอนั สวยงำมตำม “ลำน้ำมำศ” กวำ่ 7 กม.และศกึ ษำพนั ธุ์
ไมห้ ำยำกตำมเกำะตำ่ งๆ ถึง 6 เกำะบนพน้ื ทก่ี ว่ำ 3,000 ไร่ เพ่ือกระตนุ้ เศรษฐกิจทำเงินสร้ำงรำยได้
ใหก้ บั ประชำชนในทอ้ งถ่ิน

ผสู้ ื่อขำ่ วรำยงำนจำกจงั หวดั บุรีรัมย์ วำ่ ทำงอำเภอลำปลำยมำศ จ.บุรีรมั ย์ ร่วมกบั องคก์ รบริหำรส่วน
ตำบล (อบต.) หนองคูไดเ้ ปิ ดแหลง่ ท่องเทยี่ ว “อุทยำนเกำะลำน้ำมำศ” บริเวณ บ.ไผน่ อ้ ย ต.หนองคู
ถนนสำยลำปลำยมำศ-ห้วยแถลง ห่ำงจำกตวั อำเภอลำปลำยมำศประมำณ 1 กโิ ลเมตร เป็นแหลง่
ทอ่ งเทย่ี วทำงน้ำแห่งแรกของจงั หวดั เพือ่ ใหป้ ระชำชน นกั ท่องเที่ยวมำเทยี่ วชมและพกั ผอ่ น โดยกำร
ลอ่ งเรือ ป่ันจกั รยำนน้ำ สมั ผสั กลนิ่ อำยธรรมชำติ ชมทศั นียภำพตำมลำน้ำมำศ ระยะทำงยำวกว่ำ 7
กโิ ลเมตร

พร้อมท้งั ชมและศึกษำพนั ธุ์ไมห้ ำยำกตำมเกำะต่ำงๆ ถงึ 6 เกำะ บนเน้ือท่ีกว่ำ 3,000 ไร่ โดยเฉพำะ
ควำมงดงำมของดอกบวั “เบญจมำศ” ขนำดเลก็ ท่สี ุดและหำชมไดย้ ำก ซ่ึงเกดิ ข้ึนตำมธรรมชำติบำน
สะพร่งั ทอดยำวไปตำมลำน้ำ นอกจำกน้นั ยงั จดั ให้มสี วนสัตวเ์ ปิ ด ประกอบดว้ ยสัตวห์ ลำกหลำยชนิด
ซ่ึงเป็นจดุ ขำยทีจ่ ะสรำ้ งควำมประทบั ใจใหแ้ ก่ประชำชน และนักท่องเทยี่ วท่ีมำทอ่ งเที่ยว และพกั ผ่อน
ไดไ้ มน่ อ้ ย

29

นำยสถำพร ชุมอุปกำร นำยอำเภอลำปลำยมำศ กลำ่ วว่ำ กำรเปิ ดแหล่งทอ่ งเท่ียวอุทยำนเกำะลำน้ำมำศ
เป็นกำรส่งเสริมกำรทอ่ งเทยี่ ว เพ่อื ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทย่ี วใหเ้ ขำ้ มำเทีย่ วชมแหล่งท่องเทย่ี วทำงน้ำ
เช่ือมโยงกบั แหลง่ ท่องเทยี่ วธรรมชำติ และโบรำณสถำนทมี่ ีอย่หู ลำยแห่งในจงั หวดั บรุ ีรมั ยไ์ ดอ้ ีกทำง
หน่ึงดว้ ย

นอกจำกจะเป็นกำรส่งเสริมกำรทอ่ งเทีย่ วของจงั หวดั แลว้ ยงั เป็นกำรกระตนุ้ เศรษฐกจิ สรำ้ งงำน สรำ้ ง
รำยไดใ้ ห้แก่ประชำชนในทอ้ งถิน่ ส่วนรำยไดจ้ ำกกำรเท่ยี วชมของนกั ทอ่ งเทยี่ วจะนำไปพฒั นำทอ้ งถนิ่
และปรับปรุงบูรณะสถำนที่ท่องเทยี่ วใหเ้ กิดควำมงดงำม ประทบั ใจแกผ่ ูม้ ำเยือนใหม้ ำกยิ่งข้นึ

ดำ้ น นำยสุวรรณ์ ประเสริฐ นำยก อบต.หนองคู กลำ่ ววำ่ แรก อบต.ไดน้ ำสมำชิก กำนนั ผใู้ หญ่บำ้ น
ผนู้ ำชุมชน เขำ้ มำร่วมในกำรพฒั นำ เน่ืองจำกมีงบประมำณนอ้ ยจนเห็นผลเป็นรูปธรรม จนกลำยเป็ น
แหลง่ ท่องเที่ยวแห่งหน่ึงของอำเภอ และจงั หวดั โดยชำวบำ้ นก็จะมีรำยไดจ้ ำกกำรนำสินคำ้ ผลติ ภณั ฑ์
ชุมชนทท่ี ำข้นึ เอง และอำหำรที่ข้นึ ช่ือของอำเภอลำปลำยมำศ มำจำหน่ำยใหก้ บั ประชำชน และ
นกั ทอ่ งเทยี่ วท่เี ดนิ ทำงเขำ้ มำท่องเทีย่ วในแหลง่ ท่องเทีย่ วแห่งน้ี

ท้งั น้ี เชื่อว่ำจะสำมำรถดึงดดู นกั ทอ่ งเที่ยวท่ชี ื่นชอบเทย่ี วชมสัมผสั ธรรมชำติใหเ้ ขำ้ มำท่องเทย่ี ว นำเงนิ
มำใชจ้ ่ำยสะพดั กอ่ ใหเ้ กิดรำยไดใ้ นชุมชนไดเ้ ป็นอย่ำงดี ซ่ึงรำยไดส้ ่วนหน่ึงที่ไดจ้ ำกกำรทอ่ งเทีย่ ว จะ
นำไปพฒั นำแหล่งท่องเทย่ี ว และนำไปซ้ืออำหำรสัตว์ ท้งั พฒั นำทอ้ งถนิ่ ใหเ้ จริญรุดหน้ำอยำ่ งเชน่
จงั หวดั อน่ื ๆ

ดำ้ น นำยสมชำย ภทั รำนนทอ์ ุทยั ในฐำนะนกั ทอ่ งเทยี่ ว และเป็นชำวอ.ลำปลำยมำศ จ.บุรีรมั ย์ กล่ำววำ่
รู้สึกภูมิใจทท่ี ำงอำเภอ และ อบต. ไดร้ ่วมกนั พฒั นำลำน้ำมำศให้เป็นแหลง่ ท่องทำงน้ำท่ีสำคญั ของ
อำเภอลำปลำยมำศได้ มที ้งั เกำะ สวนสัตว์ จกั รยำนน้ำ เรือ ใหน้ งั่ ชมววิ ทวิ ทศั นท์ ี่สวยงำม และมีซุ้มนงั่
พกั ผ่อน และรำ้ นอำหำรพน้ื บำ้ นใหล้ มิ้ รสตำมริมน้ำไดอ้ ย่ำงมีควำมสุข

30

พระธาตุทะเมนชัย

วดั หนองหญำ้ ปลอ้ ง (วดั ป่ ำทะเมนชยั ) สำมเณรจำกวดั หนองป่ ำพง มำปักกรดบริเวณป่ ำชำ้ แลว้
พิจำรณำวำ่ สำมำรถเป็นวดั และรกั ษำสถำนทแ่ี ห่งน้ีไว้ ญำติโยมทเี่ ลอ่ื มใสในขอ้ วตั รปฏิบตั ิของพระ
สำยวดั ป่ ำจงึ กรำบนิมนตใ์ ห้อยู่ ต่อมำสำมเณรไดน้ ิมนตพ์ ระสำยวดั ป่ ำมำเป็นประธำนสงฆ์ คือพระครู
กิตตธิ รรมธร เจำ้ อำวำสองคป์ ัจจุบนั แรกเริ่มเมือ่ ท่ำนมำอยู่กส็ ำรวจสิ่งของเครื่องใชใ้ นวดั ไดค้ น้ พบ
พระอบท่ีใส่พระบรมสำรีริกธำตุ อย่หู ลงั พระประธำนในศำลำคำดวำ่ ประธำนสงฆ์องคเ์ ดมิ คงนำมำ
เกบ็ รกั ษำไว้ ท่ำนเจำ้ อำวำสจึงกรำบเรียนหลวงพ่อ เจำ้ คณะอำเภอม่วงสำมสิบ จงั หวดั อบุ ลรำชธำนี
ศษิ ยเ์ อกหลวงพ่อชำ มำเป็นทป่ี รึกษำ

31

เมอื่ เดอื นมิถุนำยน ปี 2532 เจำ้ อำวำสนำพระสงฆ์พร้อมญำตโิ ยมสวดพระพทุ ธมนต์ ทำวตั ร เชำ้ -เยน็
เป็นเวลำ 9 วนั 9 คืน เพือ่ ถอนทตี่ รงน้นั แลว้ กำหนดเอำวนั เพญ็ เดอื น 6 เป็นวนั วำงศลิ ำฤกษส์ ร้ำงพระ
เจดยี ์ ซ่ึงตรงกบั วนั วิสำขบชู ำ พระเดชพระคุณหลวงพ่อไดแ้ นะนำใหส้ ร้ำงรูปทรงพระธำตุพนม คือ
จำลองแบบยอ่ จำกพระธำตพุ นม เพื่อรกั ษำศิลปวฒั นธรรมอสี ำนไว้ กำหนดควำมกวำ้ งฐำนพระเจดยี ์
เป็นส่ีเหลยี่ มจตั รุ สั กวำ้ ง 5 เมตร ยำว 5 เมตร สูง 29 เมตร รวมท้งั ฉัตรท้งั หมด 31 เมตร รวม
งบประมำณกำรกอ่ สร้ำงจำกกำรอนุโมทนำบญุ ญำติโยมในชุมชน และจำกทุกสำรทิศไดม้ ำร่วม
อนุโมทนำก่อสร้ำง ท้งั สิน 1,500,421 บำท ระยะเวลำ 2 ปี แลว้ เสร็จ วนั ท่ี 3 พฤษภำคม พ.ศ.2533 ตรง
กบั วนั ข้ึน 15 คำ่ เดอื น 6 ไดอ้ ญั เชิญพระบรมสำรีริกธำตมุ ำประดิษฐำนไว้ ตรงยอดพระเจดยี ป์ ระมำณ
100,000 องค์ มีพระพทุ ธรูปประดษิ ฐำน หนำ้ ตกั กวำ้ ง 50 น้ิว นำมหลวงพ่อเพชร มีกำแพงพญำนำค
ลอ้ มรอบประตูท้ังส่ีทศิ

โดยคืนกอ่ นวนั วำงศลิ ำฤกษ์ พระเณร ญำติโยมทจ่ี ดั เตรียมงำน ไดป้ ระจกั ษส์ ิ่งมหัศจรรย์ คอื มีลกู แกว้
ขนำดเท่ำไข่เป็ดลอยมำทำงอำกำศ ไปตกตรงทำงทิศเหนือห่ำงจำกพระเจดยี ์ หลวงพอ่ กล่ำววำ่ เป็นนิมติ
หมำย

อนั จะนำมำซ่ึงควำมเจริญรุ่งเรืองในวนั ขำ้ ง หนำ้ หลวงพอ่ ประธำนสงฆ์ไดต้ ้งั ช่ือพระเจดียใ์ หม่ว่ำ
“พระมหำเจดยี ศ์ รีทะเมนชยั ”

32

สะพานไม้หนองผะองค์

สะพำนไมห้ นองผะองค์ จ.บุรีรมั ย์

สะพำนไมไ้ ผ่แห่งควำมรวมใจ ของชุมชนหนองพระองค์ ที่ สำมแยกหนองผะองค์ อ.ลำปลำยมำศ ยำว
ประมำณ 500 เมตร เพ่อื เป็นที่พกั ผ่อน ทำบญุ ปล่อยเต่ำ ปลอ่ ยปลำ สำหรบั ผทู้ ่ผี ำ่ นไปผ่ำนมำ ไดม้ ำ
เยี่ยมชม

33

บ้านสวนฟรุ๊ตการ์เด้น

ตระเวนแจง้ ข่ำวชำวบรุ ีรัมย์ บรุ ีรมั ย์ อำเภอลำปลำยมำศ บำ้ นสวนฟรุ๊ตกำร์เดน้ แหลง่ ท่องเทย่ี วเชิง
เกษตรอีกจุดทผี่ มู้ ำเยือนไม่ควรพลำด! ของ อ.ลำปลำยมำศ จ.บรุ ีรมั ย์ ของอดีตรัฐมนตรี “โสภณ ซำ
รัมย”์ ซ่ึงยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งของในหลวง รัชกำลที่ 9 มนี ้ำตกจำลองสวยงำม,มีหำดทรำยเทียม,
ดอกคอสมอสกำลงั เบง่ บำน, พร้อมมผี ลไม้ อำทิ เมลอ่ น มะเขอื เทศรำชินี กลว้ ยหอมทอง และพืชผกั
ผลไมท้ ่ีปลูกแบบอินทรียไ์ วใ้ ห้เลอื กซ้ือเลอื กชิมกนั

34

อาเภอหนองหงส์

อำเภอหนองหงสม์ ปี ระวตั ิควำมเป็นมำท่ีเล่ำตอ่ ๆ กนั มำวำ่ คร้งั หน่งึ มนี ำยพรำนช่ือวำ่ "พรำนแสน"
ไปพบสตั วต์ วั หน่ึง จงึ ใชธ้ นูยงิ ถูกสตั วต์ วั น้นั ไดร้ ับบำดเจ็บ และไดว้ ่งิ หลบหนีเขำ้ ไปป่ ำ แต่ปรำกฏว่ำ
สตั วต์ วั ดงั กลำ่ วไดว้ ่งิ หนีไปในป่ ำเหมอื นกบั วำ่ ไม่ไดร้ บั บำดเจบ็ จำกอำวุธเลย และพรำนแสนยงั
มองเหน็ สิ่งประหลำดอยทู่ ีก่ ลำงหนองน้ำ มีรูปร่ำงคลำ้ ยหงส์ยนื อยบู่ นเสำหิน เสำน้ีไดร้ ่ำลอื กนั ต่อ ๆ
มำ ถงึ ควำมมหศั จรรยท์ ีพ่ รำนแสนไดพ้ บเหน็ จนกระทงั่ ตอ่ มำชำวบำ้ นจงึ พำกนั เรียกหนองน้ำแห่งน้ีวำ่
"หนองหงส์" ซ่ึงปัจจบุ นั เป็นหนองน้ำอยู่ภำยในวดั หนองหงษ์

พิพธิ ภณั ฑเ์ มืองฝำ้ ย

35

กำลเวลำผำ่ นไปนบั พนั ๆ ปี ในปี พ.ศ.2513 ไดม้ ีเร่ืองปำฏิหำริยเ์ กดิ ข้นึ กลำงหมบู่ ำ้ น พระพทุ ธรูปศลิ ำ
องคห์ น่ึงปรำกฏอยู่ในสวนพริก พระพทุ ธรูปหินแกะสลกั มคี วำมสวยงำมมำก ลกั ษณะเป็นปำงเสดจ็ ลง
จำกดำวดึงส์ ยุคสมยั ทวำรวดี ดว้ ยมลู คำ่ ทปี่ ระเมนิ มิได้ พระพทุ ธรูปองคจ์ ริงหลงั จำกได้มีผคู้ น้ พบ
แลว้ ประดษิ ฐำนไวใ้ นหมู่บำ้ น ผคู้ นทว่ั ทกุ สำรทศิ พำกนั มำกรำบไหวบ้ ูชำศรัทธำในควำมศกั ด์สิ ิทธ์ิ
ปำฏหิ ำริย์ เพยี งไม่นำนนกั ไดม้ กี ำรโจรกรรมไปในเวลำไล่เลีย่ กนั ถงึ 2 คร้งั ปัจจุบนั พระพุทธรูปองค์
สำคญั องคน์ ้ี ไดถ้ ูกเก็บรักษำไวอ้ ย่ำงดีทีพ่ พิ ิธภณั ฑสถำนแห่งชำตพิ ระนครกรุงเทพมหำนคร
พพิ ธิ ภณั ฑเ์ มืองฝ้ำย กอ่ ต้งั ข้นึ ปี พ.ศ.2556 ผูร้ ิเริ่มคือ นำยทวี พยคั ฆำ นำยกองคก์ ำรบริหำรส่วนตำบล
เมืองฝ้ำย ดว้ ยควำมเห็นดเี ห็นงำมของคนในชุมชน เรื่องรำวภำยในพพิ ิธภณั ฑ์ สถำนท่จี ริงในจดุ เด่น
ๆ คอื ไดแ้ สดงไวใ้ นแผนผงั
ไดแ้ ก่ปรำสำทคกู ะน๊อบ บริเวณคูเมอื งเกำ่ ปล่องสะดือพญำนำค ปรำสำทกลำงบำ้ น ปรำสำทตำบ้ึง
และวดั บำ้ นฝ้ำย

พิพิธภณั ฑแ์ ห่งน้ีโดดเดน่ ทก่ี ำรออกแบบสถำปัตยกรรม ใหต้ วั อำคำรเป็นแบบปรำสำทหิน ดำ้ นนอกจดั
สวนดอกไมส้ วยงำม ดำ้ นในจดั แสดงพระพทุ ธรูปและโบรำณวตั ถทุ ม่ี กี ำรคน้ พบตำมไร่นำของชำว
ตำบลเมืองฝำ้ ย พระพุทธรูปหลวงพอ่ ประทำนพรองคจ์ ำลองต้งั สถิตไวเ้ ด่น ใกลก้ นั มีภำพขยำยขนำด
ใหญ่ มีภำพของนำยลบั ขนุ นำม ผคู้ น้ พบเมอ่ื วนั ที่ 24 มนี ำคม พ.ศ.2513 กอ่ นท่จี ะนำไปท่วี ดั เขำเลำ่
ว่ำมคี นมำเขำ้ ฝนั วำ่ บริเวณแปลงปลูกพริกน่ำจะมอี ะไรบำงอยำ่ ง มพี ญำนำคเป็นงตู วั ใหญโ่ ผล่ข้นึ มำ
และตรงทเี่ จอหลวงพ่อประทำนพร พอตกคำ่ ชำวบำ้ นบอกวำ่ มกั จะเหน็ แสงข้ึนมำทำงทศิ ตะวนั ตก
หลงั จำกท่ีนำพระพทุ ธรูปข้นึ มำแลว้ แสงน้นั ก็หำยไป

36

จำกกำรสำรวจทำงโบรำณคดบี ริเวณเมอื งฝำ้ ย ไดพ้ บโบรำณสถำนท่ปี รักหักพงั และโบรำณวตั ถุ
กระจำยเป็นบริเวณกวำ้ ง แสดงให้เหน็ วำ่ บริเวณน้ีเคยมชี ุมชนต้งั ถนิ่ ฐำนมำหลำยชว่ งเวลำ ช่วงแรก
ต้งั แตย่ คุ กอ่ นประวตั ศิ ำสตร์ตอนปลำย ประมำณ 2500 ปี มำแลว้ มีกำรคน้ พบโครงกระดกู มนุษย์
โบรำณ ไดเ้ ป็นข่ำวในหนงั สือพิมพม์ ติชน ลงวนั ที่ 27 กรกฎำคม พ.ศ.2540 กลำ่ ววำ่ เป็นโครงกระดกู
ผชู้ ำยสูงประมำณ 170 ซม.อำยกุ ว่ำ 3000 ปี

ชว่ งต่อมำเป็นสมยั ทวำรวดี(พทุ ธศตวรรษท่ี 12-16) ซ่ึงพบหลกั ฐำนทำงโบรำณคดีอย่ำงมำกมำยท้งั อฐิ
ปรำสำทและพระพุทธรูป มำถึงยคุ พระเจำ้ ชยั วรมนั ที่ 7 (พ.ศ.1724-1762) ยคุ หลงั น้ีจำกกำรวิจยั โดย
โครงกำรคน้ หำและพฒั นำสำรสนเทศภมู ศิ ำสตร์ของรำชมรรคำสมยั พระเจำ้ ชยั วรมนั ที่ 7 ไดท้ ำใหเ้ รำ
เห็นสภำพควำมเป็นอยขู่ องชุมชนโบรำณไดม้ ีมติ มิ ำกข้ึน ควำมสำคญั ของเมืองฝ้ำย ไดป้ รำกฏวำ่ เป็น
หน่ึงในชมุ ชนของถนนโบรำณจำกเมืองพระนครมำยงั เมืองพิมำย ในเส้นทำงรำชมรรคำสำยตะวนั ตก
เฉียงเหนือ ซ่ึงเป็นไปตำมจำรึกปรำสำทพระขรรคท์ ่กี ล่ำวถึงธรรมศำลำ (บำ้ นมไี ฟ) ศำสนสถำน
ประจำท่ีพกั นกั เดนิ ทำง ตำมเสน้ ทำงน้ีมี 17 แห่ง

โบรำณวตั ถุท่ีเหน็ เป็นภำชนะดินเผำ ไหโบรำณแบบตำ่ ง ๆ เคร่ืองมือโลหะ ท่ีเรำเหน็ จดั แสดงอยใู่ น
พพิ ิธภณั ฑ์ ลว้ นแลว้ แตม่ คี วำมเช่ือมโยง ชวนตดิ ตำม ดว้ ยวำ่ มีกำรสำรวจพบแหล่งผลติ ภำชนะดินเผำ
แหล่งถลุงโลหะ อนั เป็นกจิ กรรมในชุมชน สิ่งของจดั แสดงอนื่ ๆทีร่ วบรวมไว้ ในพิพธิ ภณั ฑย์ งั มี
พวกหินบดยำที่พบเป็นจำนวนมำก และยงั พบชิ้นส่วนของยอดปรำสำท

พระพุทธรูปโบรำณองคส์ ำคญั ทีค่ น้ พบในเมืองฝ้ำยยงั มอี กี หลำยองค์ มีพระพทุ ธรูปสำริดอกี สำมองคท์ ี่
ชำวบำ้ นเรียกกนั ว่ำ พระพุทธรูปสำมพ่นี อ้ ง เนื่องมำจำกวำ่ พบในบริเวณใกลเ้ คยี งกนั องคแ์ รกคือพระ
โพธิสตั วส์ ำริด มี 4 กร องคน์ ้ีเดน่ ตำมยุคสมยั ทวำรวดีแบบบรุ ีรัมย์ มีลกั ษณะของศิลปะคุปตะทช่ี ดั เจน
มำก องคก์ ลำงเป็นพระพุทธรูปสำริดประทบั ยนื ในปำงประทำนธรรม อีกองคค์ อื พระโพธิสตั วส์ ำริด
ศรีอำริยเมตไตรยศวร ประทบั ยนื ในทำ่ ตริภงั ค์ ท้งั สำมองคป์ ัจจบุ นั อยู่ที่พพิ ิธภณั ฑสถำนแห่งชำตพิ ระ
นคร กรุงเทพมหำนคร

อกี องคห์ น่ึงคือ หลวงพอ่ ศรี ชำวบำ้ นเลำ่ ตอ่ กนั มำวำ่ มขี โมยไปแอบขดุ มำจำกซำกปรำสำทคูกะน๊อบ
เป็นพระพุทธรูปศิลำปำงนำคปรก สมยั ทวำรวดี จำกน้นั ก็นำไปพกั ไว้ แลว้ คนท่ีขโมยไปไดม้ ีอนั
เป็นไป ชำวบำ้ นทไ่ี ปเจอจงึ นำไปถวำยวดั หินดำด ตำบลหินดำด อำเภอหว้ ยแถลง จงั หวดั นครรำชสีมำ
หลวงพอ่ ศรีจึงประดษิ ฐำนอยู่ทน่ี น่ั ตรำบจนทุกวนั น้ี

37

ส่ิงทเี่ ป็นควำมคำดหวงั ของคนในชุมชนคอื ควำมตอ้ งกำรให้พระพุทธรูปหลวงพอ่ ประทำนพรองค์
จริงทีเ่ คยอยู่ในหมบู่ ำ้ นนำนนบั พนั ปี ไดก้ ลบั มำเหมือนเดิม ชำวบำ้ นไดเ้ คยไปท่พี พิ ธิ ภณั ฑสถำน
แห่งชำตพิ ระนคร กรุงเทพมหำนคร ซ่ึงไดร้ ับกำรตอ้ นรับเป็นอย่ำงดใี นฐำนะเจำ้ ของพืน้ ท่ี มกี ำร
อนุญำตให้ถ่ำยภำพได้ แตด่ ว้ ยเหตุผลใหญ่เรื่องมำตรกำรกำรรกั ษำควำมปลอดภยั ให้กบั โบรำณวตั ถุ
อนั เป็นสมบตั ขิ องชำติ จงึ ไมไ่ ดร้ บั อนุญำตใหน้ ำกลบั มำท้งั ถำวรและชว่ั ครำว

อีกควำมหวงั หน่ึงของชุมชนกค็ ือ ควำมอยำกให้มีกำรบูรณะโบรำณสถำนท่ีทำงกรมศิลปำกรไดเ้ คยมำ
สำรวจและกนั พน้ื ท่ไี ว้ ซ่ึงคณะนำชมไดพ้ ำไปดพู ื้นท่ีจริงดว้ ยควำมกระตอื รือรน้ ทีแ่ รกคือ ปรำสำทคู
กะนอ๊ บสภำพพื้นท่ีที่เหน็ คือกองดนิ ขนำดใหญ่ผสมกบั อิฐ มสี ่วนของหินทรำยขนำดใหญแ่ ทรกตวั อยู่
ปรำกฏมีหลุมท่ีมีกำรลกั ลอบขุดหำพระพทุ ธรูปและวตั ถโุ บรำณในสมยั ก่อน ช่วงทช่ี ำวบำ้ นไมต่ ่นื ตวั
รับรูเ้ รื่องกำรอนุรักษ์ จำกขอ้ มลู ทำให้ทรำบว่ำ ปรำสำทคกู ะนอ๊ บเป็นโบรำณสถำนยุคแรกท่กี อ่ สร้ำง
ดว้ ยอิฐ ส่วนท่ีเป็นหินทรำยขนำดใหญ่ สันนิษฐำนว่ำคอื เสำกรอบประตู ทบั หลงั ลกั ษณะ
โบรำณสถำนเป็นศำสนสถำนแบบพุทธเถรวำทในช่วงพทุ ธศตวรรษท่ี 12 ตอ่ มำชว่ งพุทธศตวรรษท่ี
14 จึงเปล่ียนมำเป็นนิกำยมหำยำนที่รุ่งเรืองแผ่ขยำยในชว่ งเวลำน้นั

ต่อมำคณะนำชมไดพ้ ำไปดบู ริเวณคูเมืองเก่ำ ลกั ษณะเป็นลำน้ำลอ้ มรอบหมบู่ ำ้ น ตรงน้ีถำ้ ดูภำพถ่ำย
ทำงอำกำศจะมองเหน็ แนวคูเมืองไดเ้ ดน่ ชดั มีกำรสำรวจและกำหนดว่ำบริเวณที่ชมุ ชนบำ้ นเรือนและ
พ้ืนท่เี พำะปลูกแทรกอยู่ เป็นเขตโบรำณสถำนท้งั หมด 325 ไร่ สมยั กอ่ นท่ียงั ไม่มีกำรลอกคลองจะมี
ตน้ ไทรเต็มไปหมด มีฝงู ลงิ เป็นจำนวนมำก มีเสือใหพ้ บเห็นดว้ ย

ตรงน้ีชำวบำ้ นดูปล่องสะดอื พระยำนำคบอกว่ำตอนกลำงวนั เคยเหน็ งูใหญต่ วั สีดำเล้ือยออกมำ
เมื่อกอ่ นบ่อน้ีเป็นโพรงลึกมำก เคยมีคนเอำไมไ้ ผ่ท้งั ลำแหย่ลงไปกย็ งั ไม่ถึงกน้ ปล่อง

สถำนทตี่ ่อมำคอื ซำกโบรำณสถำนปรำสำทกลำงบำ้ น ลกั ษณะเป็นเนินดนิ มีอิฐกอ้ นเล็กเตม็ ไปหมด
สงั เกตวำ่ ในแต่ละจุดของโบรำณสถำนไดม้ กี ำรต้งั ศำลไวบ้ ูชำสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ ทำให้ไมม่ ใี ครกลำ้ บกุ รุกนำ
อิฐเอำไปใช้ และตน้ ไมใ้ หญต่ รงน้นั กไ็ ดร้ บั กำรอนุรกั ษด์ ว้ ย ในเดอื นหกชำวบำ้ นจะมำทำพิธีร่วมกนั
ทำบุญตกั บำตร

อีกจุดหน่ึงท่ีน่ำสนใจ สำมำรถมองเหน็ แต่ไกล กองดินทม่ี ตี น้ มะค่ำโมงตน้ ใหญ่มำกอยู่กลำงทน่ี ำ
ในชว่ งฤดูแลง้ แลเหน็ กองฟำงกบั แปลงผกั เลก็ ๆที่ชำวบำ้ นปลกู ไวก้ ินในครวั เรือน ตรงน้ีคือ ปรำสำท

38

ตำบ้ึง ลกั ษณะกองดนิ น้ีมีอฐิ กอ้ นเล็กโผลม่ ำใหเ้ ห็น ตน้ มะค่ำโมงใหญไ่ ดใ้ ชร้ ำกกอดเอำบำงส่วนของ
ตวั ปรำสำทไว้ ในชว่ งทช่ี ำวบำ้ นยงั ไม่คอ่ ยทรำบขอ้ มูลข่ำวสำร ไดเ้ คยมีคนเอำเคร่ืองตรวจจบั โลหะมำ
คน้ หำวตั ถโุ บรำณบริเวณน้ี แต่ชำวบำ้ นทเี่ ห็นกไ็ ดไ้ ปแจง้ ใหก้ ำนนั ทรำบวำ่ มคี นต่ำงถิ่นมำบกุ รุก

อีกสถำนท่จี ดั แสดงวตั ถโุ บรำณอยทู่ ่ีวดั บำ้ นฝ้ำย ในศำลำมพี ระพุทธรูปจำลองหลวงพ่อประทำนพรอกี
องคห์ น่ึง มีหินรูปปลำ หินระฆงั ทต่ี แี ลว้ ดงั กงั วำน แทน่ ศิวลึงค์ มีภำพถ่ำยทำงอำกำศของเมืองฝ้ำย
ใกลก้ นั มีกำรคน้ พบใบเสมำหินโบรำณคู่ขนำน มกี ำรสรำ้ งหลงั คำคลมุ ไว้ ควำมสำคญั มีอยูว่ ่ำ ส่ิงน้ี
เป็นหลกั ฐำนสำคญั ของกำรรบั อำรยธรรมพุทธศำสนำท่รี ุ่งเรืองในสมยั ทวำรวดี ในดินแดนภำคอสี ำน
ของไทย ซ่ึงแตกตำ่ งจำกทวำรวดีภำคกลำงทีน่ ิยมสร้ำงธรรมจกั ร ใบเสมำของวดั คอื สิ่งบง่ บอกควำม
เป็นวดั เริ่มมำจำกท่ีพระพทุ ธเจำ้ ทรงกำหนดใหภ้ กิ ษุตอ้ งทำอโุ บสถ ปวำรณำและสงั ฆกรรมร่วมกนั
โดยเฉพำะกำรสวดปำฏโิ มกข์ ซ่ึงตอ้ งสวดร่วมกนั เดือนละ 2 คร้ัง ใบเสมำเป็นหลกั ทปี่ ักเขตสำหรบั
กำรประกอบพิธีกรรมทำงศำสนำของวดั

ควำมวำ่ แต่เดิมจะสร้ำงอำคำรพิพธิ ภณั ฑ์ตรงน้ี ก่อสร้ำงฐำนเสร็จแลว้ จึงไดท้ รำบว่ำผดิ กฎระเบียบวำ่
ห้ำมก่อสร้ำงในเขตโบรำณสถำน ดว้ ยควำมมงุ่ มนั่ ต้งั ใจ ทำงอบต.เมืองฝ้ำยและชำวบำ้ นต่ำงไมย่ อ่ ทอ้
จงึ ไดไ้ ปสรำ้ งทีพ่ ืน้ ท่ขี องอบต. ดงั ปรำกฏเป็นอำคำรพพิ ิธภณั ฑ์ทส่ี วยงำมเกบ็ เรื่องรำวอนั มีคณุ คำ่ ของ
ชมุ ชนไว้

กำรเดินทำง: จำกตวั เมืองบรุ ีรัมยไ์ ปอำเภอหนองหงส์ ระยะทำง 60 กม. จำกหนองหงสไ์ ป ต.เมอื งฝ้ำย
ใชเ้ ส้นทำงสระขดุ -โคกสวำ่ ง ระยะทำงประมำณ 7 กม.

(ทงำเดียวกบั ท่ีจะไปอำเภอหนองกแี่ ละอ.ลำปลำยมำศ) ใหส้ งั เกตป้ำยบอกทต่ี ้งั ของ อบต.เมอื งฝำ้ ย

UploadImage

พระพทุ ธรูปยนื สัมฤทธ์ิทวำรวดี คน้ พบที่ตำบลเมืองฝำ้ ย อำเภอหนองหงส์ จงั หวดั บรุ ีรัมย์

สูงถึง 1.09 เมตร นบั ไดว้ ่ำเป็นพระพุทธรูปยืนสัมฤทธ์ิทใ่ี หญท่ ี่สุดเท่ำทีเ่ คยคน้ พบ

พระพุทธรูปองคน์ ้ีลกั ษณะพระพกั ตร์คลำ้ ยศลิ ปะอินเดยี

(เกบ็ รกั ษำไวอ้ ยำ่ งดีทีพ่ ิพธิ ภณั ฑสถำนแห่งชำติพระนครกรุงเทพมหำนคร)

39

UploadImage
พระพทุ ธรูปท่เี ป็นประติมำกรรมลอยตวั สลกั ดว้ ยศลิ ำ มขี นำดใหญ่ เป็นศลิ ปะสมยั ทวำรวดี

อยำ่ งแทจ้ ริง (แบบพืน้ เมอื ง) พระเศยี รมลี กั ษณะ
® พระขนง(ควิ้ ) = ต่อกนั เป็นปี กกำ
® พระเนตร(ตำ) = โปน
® พระโอษฐ(์ ปำก) = หนำแบะ

40

สวนไทรงาม

ไทรงำม อยู่ในควำมดูแลของ โครงกำรส่งน้ำและบำรุงรกั ษำทงุ่ สมั ฤทธ์ิเมื่อเขำ้ มำสู่ไทรงำมจะเห็นตน้
ไทรขนำดใหญ่ แผป่ กคลุมพืน้ ทก่ี ว่ำ 35,000 ตำรำงฟุตบรรยำกำศทแี่ สนร่มรื่นน่ำพกั ผอ่ นเป็นอยำ่ งยงิ่
ทำ่ นจะไดส้ ัมผสั กบั ควำมอศั จรรยข์ องธรรมชำตขิ องไทรงำมน้ี ซ่ึงตน้ ไทรทแ่ี ผป่ กคลุมน้ีวตน้ แม่มอี ำยุ
กว่ำ 350 ปี ท่ำนจะไดก้ รำบขอพรจำกเจำ้ แมไ่ ทรงำมศำลพระสุพรรณกลั ยำ เป็นศำลศกั ด์สิ ิทธ์ิท่ี
ชำวบำ้ นใหค้ วำมเคำรพนบั ถอื

41

หม่บู ้านท่องเท่ียว บ้านสนวนนอก

บำ้ นสนวนนอก อ.ห้วยรำช จ.บรุ ีรัมย์

กำรเดินทำงของไม่เลำ่ ละกนั นะเอำจริงๆ เรำกเ็ ปิ ด GPS นนั่ แหละ ขบั ตำมไปเรื่อยๆ ห่ำงจำกตวั อำเภอ
ประมำณ 2 กโิ ลเมตร กม็ ำถึงหมู่บำ้ นประมำณเกือบๆ เท่ยี ง ทำงเขำ้ หมู่บำ้ นเริ่มไดบ้ รรยำกำศของกำร
ท่องเท่ียวแลว้

59ที่หมู่บำ้ นเปิ ดใหน้ กั ท่องเทยี่ วเขำ้ มำเทยี่ วและพกั ไดใ้ นรูปแบบโฮมสเตย์ ซ่ึงมีอยู่ดว้ ยกนั ประมำณ 15
หลงั

42

23เรำเดินไปดูใตถ้ ุนบำ้ นแต่ผหู้ ญิงคนหน่ึงกำลงั นง่ั ป้ันอะไรบำงอย่ำง ไปดูใกลๆ้ ถึงรู้วำ่ เป็นกำรนำดิน
มำป้ันเป็นรูป ววั ควำย และอกี หลำยอยำ่ งเลยคะ่ สวยงำม ทำเป็นอำชีพขำยไดอ้ ีกดว้ ย
1615เดินไปเทย่ี วในหมู่บำ้ นกนั ตอ่ เรำกม็ ำพบกบั อุทยำนหม่อนไหม
34อกี หน่ึงอำชีพของคนในหมู่บำ้ นคือ ปลูกหม่อน เล้ยี งไหม ทอผำ้ หลงั ฤดูเกบ็ เกย่ี ว หรือหลงั จำกทำ
นำเสร็จแลว้ 12แต่ละบำ้ นกจ็ ะปลูกใบหมอ่ นของตวั เอง
13เจอคณุ ยำยกำลงั คดั แยกหนอนไหมอยู่พอดเี ลยค่ะ
2เรำกบั คณุ ยำยกำลงั คดั เลือกตวั ทม่ี สี ีเหลืองออกไปอยอู่ ีกที่35หำกหนอนไหมตวั เล็กอยู่ กำรให้อำหำร
กค็ ือตอ้ งนำใบหม่อนมำหน่ั เป็นชิ้นเล็กๆ ส่วนตวั ท่โี ตเตม็ ท่ีแลว้ ไม่ตอ้ งห่นั ใบหมอ่ นกก็ ินได้
78หลำยคนเห็นแบบน้ีอำจจะกลวั แตส่ ำหรับเรำหนอนไหมมนั น่ำรกั มำก
4เม่ือหนอนไหมโตเตม็ ที่กจ็ ะเปลีย่ นเป็นดกั แดแ้ บบน้ีคะ่
6109กระบวนกำรตอ่ ไปก็คือ ฐำนสำวไหม 14ตอนเด็กๆ เรำจำไดว้ ำ่ แม่เรำกส็ ำวไหมแบบน้ีควนั เตม็
บำ้ นไปหมด 55
40นงั่ อยู่แบบน้ีท้งั วนั กว่ำจะเสร็จ444342ดกั แดร้ อ้ นๆ เอำมำจมิ้ เกลอื คอื ฟิ น คืออร่อยมำก
46กระบวนกำรต่อไปคือกำรยอ้ มสีดำ้ ยตำมตอ้ งกำรแลว้ กน็ ำไปใสห่ ลอดเอำไวท้ อตอ่ ไป
3736กวำ่ จะไดผ้ ำ้ ไหมสักผนื น้นั ไมไ่ ดง้ ำ่ ยเลย ตอ้ งใชเ้ วลำกำรถกั ทอก็ตอ้ งใชค้ วำมประณีตเรำเคยลอง
แลว้ นะทอผำ้ แบบน้ี ทำของแมข่ ำดดว้ ยโดนดเุ ลย

45

2627สีแบบน้ีน่ำจะเป็นผำ้ ขำวมำ้
47วิถีชีวติ ที่ยงั คงควำมเป็นอยู่แบบโบรำณ แต่ละบำ้ นจะมียงุ้ ขำ้ วเอำไวเ้ กบ็ ขำ้ วเปลอื กแบบน้ีค่ะ บำ้ น
ไหนมี 2 หลงั กจ็ ะเป็นกำรรู้ว่ำบำ้ นหลงั น้ีค่อนขำ้ งมีฐำนะ
293528เดินไปเรื่อยๆ ก็เจอกบั สิ่งน้ี อนั น้ีเรำจำไดว้ ำ่ ตอนเด็กมำกๆ สกั ประถมเคยเหน็ อยู่นะ นน่ั ก็คอื
กระดงิ่ คลอ้ งคอควำย
30สำมำรถส่ังทำได้ รำคำจะข้นึ อย่กู บั ไมท้ ่ีใช3้ 1เดนิ ตอ่ ไปดู บำ้ นชำ่ งไม้ ของหมู่บำ้ นกนั คะ่
7833นอกจำกทำงำนไมท้ กุ ประเภทแลว้ คุณลุงยงั นำวสั ดเุ หลอื ใชใ้ นทอ้ งถิ่นนน่ั กค็ อื มะพรำ้ วมำทำให้
เกิดประโยชน์เป็นรูปนก หรือ ไก่ สำมำรถขำยไดเ้ ป็นรำยไดอ้ กี ทำงค่ะ
79ตวั น้ีทำจำกมะพร้ำวท้งั ตวั
77เจำ้ สิ่งน้ีคอื รถกระสวยอวกำศ เท่มำก เป็นงำนประดิษฐ์ คิดคน้ ของชำวบำ้ นคะ่
6362หำกใครอ่ำนมำถึงตรงน้ีแลว้ อยำกไดผ้ ำ้ ไหมสกั พื้น ไปที่ศูนยจ์ ำหน่ำยผลติ ภณั ฑผ์ ำ้ ไหมไทย
ต้งั อยู่หนำ้ หมูบ่ ำ้ นใหญ่โตเลยละ่ ค่ะ
57ดำ้ นในก็จะมีอปุ กรณ์ทอผำ้ เรื่องว่ำทำเป็นอตุ สำหกรรมในท้องถน่ิ ทีเ่ รำเพงิ่ เคยเห็นว่ำไมไ่ ดเ้ ล็กเลย
50มผี ำ้ หลำยแบบ งำ้ มงำมกำลงั ทออยู่คะ่ 48754952
5156ส่วนน้ีคอื มมุ จดั วำงผลิตภณั ฑท์ ้งั หมด
53อยำกไดช้ ุดน้ีมำกก54นอกจำกโฮมสเตยท์ ่ีมใี หพ้ กั ในหมู่บำ้ นแลว้ ใครอยำกนอนสบำยๆ ก็มีรีสอร์ท
เพียงแห่งเดียวทอ่ี ยูใ่ นหมู่บำ้ น บำ้ นสนวนนอก รีสอร์ทค่ะ
74มสี ระน้ำอยูต่ รงกลำงสำมำรถพำยเรือเลน่ ได้
737271หอ้ งพกั หลงั น้ีมี 2 ห้องนอน มหี อ้ งนง่ั เลน่ หอ้ งครวั เล็กๆ กวำ้ งขวำงเชียวค่ะ
7067686061ใครอยำกไปสัมผสั วิถชี ีวติ ชำวบำ้ น เรียนรูก้ ำรทอผำ้ และอีกหลำยอำชีพทคี่ นรุ่นหลงั เร่ิม
จะไม่คอ่ ยรู้จกั หรือไ้้ดเ้ หน็ ภำพเหล่ำน้ีแลว้ ไปท่ีบำ้ นสนวนนอก บรุ ีรัมย์ ไมท่ ำใหผ้ ิดหวงั คะ่
38หำกนกั ท่องเท่ียวท่ำนใดตอ้ งกำรเดินทำงไปเท่ยี วบำ้ นสนนวนนอก หรือไปเทีย่ วบรุ ีรัมย์ สอบถำม

46

สำนกั งำนทอ่ งเท่ยี วและกีฬำจงั หวดั บุรีรัมย์
อำเภอพทุ ไธสง
วดั ศรี ษะแรด (วดั หงส)์ มพี ระเจำ้ ใหญ่วดั หงส์เป็นพระพทุ ธรูปปำงสมำธิ ขนำดหนำ้ ตกั 1.6 เมตร สูง 2
เมตร สร้ำงดว้ ยศิลำแลง มศี ลิ ปะพ้นื เมืองปรำกฏอยู่ ทกุ ปี ในวนั ข้นึ 14 ค่ำ หรือวนั แรม 1 ค่ำเดือน 3 จะ
จดั งำนเฉลิมฉลองทุกปี โดยผคู้ นไปนมสั กำรกรำบไหวเ้ ป็นจำนวนมำก
วดั มณจี นั ทร์ มีภาพตดิ กระจกสีทงี่ ดงาม มเี พียงแห่งเดียวในภาคอีสาน

วดั บรมคงคา มีภาพฮูปแต้มศิลปะอีสานท่ีงดงาม

47

หม่บู ้านท่องเที่ยวไหมหวั สะพาน เป็ นหม่บู ้านท่องเที่ยวที่ให้การเรียนรู้เก่ยี วกบั การทอผ้าไหม

คูเมืองเมืองพุทไธสงและบงึ สระบวั
วดั ท่าเรียบ มีศิลปะแบบอีสาน และภาพจติ รกรรมฝาผนังแบบอสี านหรือฮูปแต้ม
พระธาตุบ้านดู่ เป็ นพระเจดีย์ศักด์ิสิทธ์ิทม่ี อี ายุหลายร้อยปี

48

ปรำงคก์ สู่ วนแตง เป็นเทวำลยั ในศำสนำฮินดู สร้ำงข้ึนในรำวพุทธศตวรรษที่ 16-17 โดยไดร้ บั อิทธิพล
จำกศลิ ปกรรมสมยั นครวดั เป็นโบรำณสถำนอกี แห่งทถ่ี กู วำงระเบดิ จนองคป์ รำงคพ์ งั ทลำยลงมำเพอ่ื
โจรกรรม ชิน้ ส่วนปรำสำทไปขำย ภำยหลงั กรมศิลปำกรไดบ้ ูรณะใหมจ่ นมคี วำมสมบรู ณ์ และ
ประกำศข้ึนทะเบียนเป็นโบรำณสถำนเมอื่ วนั ที่ 8 มนี ำคม พ.ศ. 2547

ลกั ษณะของก่ปู ระกอบดว้ ย ปรำงคอ์ ิฐ 3 องค์ ต้งั เรียงกนั ในแนวเหนือ-ใต้ บนฐำนศิลำแลงเดียวกนั
อำคำรท้งั หมดหนั หน้ำไปทำงทิศตะวนั ออก มปี ระตหู น้ำเพยี งประตูเดียว อีก 3 ดำ้ น สลกั เป็นประตู
หลอก ปรำงคอ์ งคก์ ลำงมขี นำดใหญ่และมีสภำพค่อนขำ้ งสมบรู ณเ์ ป็นรูปสี่เหลยี่ มจตั ุรัส ดำ้ นหนำ้ ท้งั 3
ดำ้ น มลี กั ษณะยน่ื ออกมำและมแี ผน่ ศิลำทรำยรองรบั สว่ นปรำงคอ์ ีกสององคม์ ีขนำดเลก็ กว่ำฐำนเป็น
รูปส่ีเหลี่ยมจตั ุรสั มปี ระตเู ดยี วทำงดำ้ นหนำ้ เชน่ กนั ส่วนผนังอีก 3 ดำ้ น กอ่ เรียบทึบ สำหรับบนพ้ืน
หน้ำปรำงคม์ ีส่วนประกอบสถำปัตยกรรมหินทรำยอ่ืน ๆ ตกหลน่ อยู่ เช่น ฐำนบวั , ยอดปรำงค,์ กลีบ
ขนุน, รูปนำค 6 เศียร อำยุของกู่สวนแตงสำมำรถกำหนดไดจ้ ำกทบั หลงั ของปรำงค์ ซ่ึงปัจจุบนั เกบ็
รักษำอย่ทู พ่ี พิ ธิ ภณั ฑส์ ถำนแห่งชำติพระนคร อยใู่ นรำวพุทธศตวรรษที่ 17 เนื่องจำกภำพสลกั บนทบั
หลงั ท้งั หมดมลี กั ษณะตรงกับศิลปะขอมแบบนครวดั ท่ีมอี ำยอุ ยู่ในชว่ งเวลำดงั กลำ่ ว อำทเิ ชน่ ทบั หลงั
สลกั ภำพพระนำรำยณ์ตรีวกิ รม (ตอนหน่ึงในวำมนำวตำรแสดงภำพพระนำรำยณย์ ่ำงพระบำท 3 กำ้ ว
เหยยี บโลกบำดำล, โลกมนุษย์ และโลกสวรรค)์ , ทบั หลงั ภำพศวิ นำฎรำช, ทบั หลงั ภำพกำรกวน
เกษียรสมุทร, ทบั หลงั ภำพนำรำยณบ์ รรทมสินธุ์ ฯลฯ แต่ละชิน้ มขี นำดใหญส่ วยงำมน่ำสนใจยง่ิ

กู่ฤๅษีหนองเยือง เป็นอโรคยำศำลหรือโรงพยำบำล สร้ำงข้ึนในสมยั พระเจำ้ ชยั วรมนั ท่ี 7

49

วัดหลกั ศิลา
มีพระอโุ บสถอำยุนบั ร้อยปี สรำ้ งในแบบศิลปะเชิงช่ำงกุลำ คอื มกี ำรมุงหลงั คำซอ้ นเป็นช้นั ๆ คลำ้ ยกบั
ศลิ ปะไทใหญ่ ซ่ึงหำชมไดย้ ำกในปัจจบุ นั

พระพทุ ธรูปใหญ่

พระพทุ ธรูปใหญ่ (พระพทุ ธรูปปฏิมำสนั ตยำภิรมยส์ ตกึ อุดมรำษฎรนิมิตนมิน) พระพทุ ธรูปศกั ด์สิ ิทธ์ิ
ประดษิ ฐำน ณ บริเวณทวี่ ำ่ กำรอำเภอสตึก สำมำรถชมทศั นียภำพแม่น้ำมลู ศำลเจำ้ พ่อวงั กรูด ต้งั ณ ริม
ฝ่งั แมน่ ้ำมูล เป็นท่ีเล่อื มใสแก่ประชำชนชำวอำเภอสตึก


Click to View FlipBook Version