The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการสอนรายวิชางานเครื่องยนต์เล็ก

หน่วยที่ 1 NEW

Keywords: หน่วยที่ 1 โครงการสร้างและหลักการทำงาน

พส.8

กรอบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นเรื่อง/ชนิ้ งาน/โครงการ
และบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สมรรถนะดา้ นความมีเหตผุ ล สมรรถนะด้านความพอประมาณ สมรรถนะด้านความมภี ูมิคุ้มกัน
1. เครอื่ งมืออปุ กรณ์คุณภาพดี 1. เตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์พร้อม 1. ตรวจสอบเคร่ืองมอื ก่อนใช้
2. เตรียมพ้ืนทปี่ ฏิบัตงิ าน
2. อ่านคู่มอื ซ่อม 2. เปรียบเทยี บราคาอะไหล่
3. ประหยดั นาํ กลบั มาใช้ใหม่ 3. ใส่อปุ กรณ์ป้องกัน
3. ใชอ้ ะไหลแ่ ท้

เงอื่ นไขด้านความรู้และทกั ษะ หน่วยที่ 1 เงื่อนไขด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1. ศึกษาค้นควา้ หาข้อมลู โครงสรา้ งและหลักการ ค่านยิ ม คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์
ทํางานของเคร่ืองยนตเ์ ล็ก 1. อดทน พยายาม
2. ทบทวน แก๊สโซลีนและดเี ซล
3. ฝกึ ประสบการณ์ 2. มคี วามรบั ผดิ ชอบ

3. สะอาด เรียบรอ้ ย

ผลกระทบเพ่อื ความสมดลุ พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลง

ดา้ นสังคม ด้านเศรษฐกิจ ดา้ นวัฒนธรรม ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม

ติดตอ่ รา้ นอะไหล่ เงนิ หมนุ เวียน ใชอ้ ะไหล่แท้ แยกประเภทขยะ
ยดื อายุการใชง้ าน

หมายเหตุ หากเปน็ การบูรณาการในหน่วยการเรียนร้หู น่วยใดหน่วยหน่งึ ให้นาํ แผนภูมิน้ีไปนาํ เสนอในหนว่ ยการเรยี นรู้นั้น

13
พส.9

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1
เวลารวม 126ชม.
รหัสวิชา 20101-2101 วชิ า งานเคร่อื งยนต์เล็ก

ชือ่ หนว่ ย โครงสร้างและหลกั การทํางานของเครื่องยนต์เล็กแกส๊ โซลนี และดเี ซล สัปดาห์ 1-2/18
เร่ือง โครงสรา้ งและหลักการทํางานของเครอื่ งยนต์เล็กแก๊สโซลีนและดีเซล จํานวน 14 ชม.

1. สาระสําคญั
เคร่ืองยนต์ เป็นเครื่องจักรที่ทําหน้าท่ีเปล่ียนพลังงานความร้อน ท่ีเกิดจากการเผาไหม้เช้ือเพลิง

ให้เป็นพลังงานกล เคร่ืองยนต์แบ้งออกเป็น เครื่องยนต์ 4 จังหวะ และเครื่องยนต์ 2 จังหวะ เคร่ืองยนต์

4 จังหวะจะมีจังหวะการทํางาน โดยลูกสูบเลื่อนข้ึนลง 4 คร้ัง คือ ข้ึน 2 คร้ัง ลง 2 คร้ัง เพลาข้อเหวี่ยง

หมุน 1 รอบให้กําลังงาน 1 ครั้ง เคร่ืองยนต์จะมีลักษณะการทํางานคล้ายกัน จะแตกต่างกันอยู่บ้าง ขึ้นอยู่
กับระบบการทํางานของเครื่องยนต์แต่ละชนิด

2. สมรรถนะประจาํ หน่วย
บอกชอ่ื ช้ินส่วนเคร่อื งยนต์ หนา้ ทแี่ ละอธบิ ายหลักการทํางานของเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีนและดีเซลไดถ้ ูกต้อง

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 อธิบายประวัตคิ วามเป็นมาของเครอ่ื งยนต์ได้
3.2 อธิบายหลักการทาํ งานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะได้
3.3 อธบิ ายหลักการทํางานของเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะได้
3.4 อธิบายการเปรียบเทยี บเครอื่ งยนต์ 2 จังหวะและ 4 จงั หวะได้
3.5 อธบิ ายขอ้ เปรียบเทยี บเครื่องยนตด์ ีเซลกบั เครอื่ งยนต์แกส๊ โซลนี ได้
3.6 อธบิ ายหลกั การทาํ งานของเครอ่ื งยนต์โรตารีได้
3.7 ปฏบิ ตั ิการถอดแยกเคร่อื งยนตเ์ ลก็ แก๊สโซลีนได้
3.8 ปฏบิ ัติการ วิเคราะห์ ตรวจสอบชนิ้ สว่ นของเครอื่ งยนตเ์ ล็กแก๊สโซลีน

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 ประวัตคิ วามเป็นมาของเครือ่ งยนต์
4.2 หลักการทาํ งานของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ
4.3 หลกั การทาํ งานของเคร่อื งยนต์ 2 จังหวะ
4.4 การเปรียบเทยี บเคร่อื งยนต์ 2 จังหวะและ 4 จงั หวะ
4.5 ข้อเปรียบเทยี บเคร่อื งยนตด์ ีเซลกับเครื่องยนต์แกส๊ โซลนี
4.6 หลักการทํางานของเครอ่ื งยนต์โรตารี

14

4.7 การถอดแยกเครื่องยนตเ์ ล็กแกส๊ โซลีน
4.8 การตรวจสอบชิน้ สว่ นของเครอื่ งยนต์เลก็ แกส๊ โซลีน
4.9 การประกอบเคร่ืองยนตเ์ ล็กแก๊สโซลนี

5. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
5.1 เพ่ือนชว่ ยเพ่ือน

5.2 Active learning

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
6.1 ข้นั นาํ ถามตอบความรู้เดมิ เกีย่ วกับโครงสร้างและหลกั การทาํ งานของเครอ่ื งยนตเ์ ลก็ แกส๊ โซลีนและดเี ซล

6.2 ข้ันสอน ครูให้เน้อื หานักเรยี น บรรยาย ทาํ แบบฝึกหดั ท้ายบท ครสู าธิต นกั เรยี นปฏบิ ัตติ าม ครูตรวจสอบ
นักเรียนปรับปรุง แก้ไข

6.3 ข้นั สรปุ ครแู ละนกั เรยี นสรุปเนือ้ หา และปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ร่วมกัน สอบถามความรู้ที่ไดแ้ ละทกั ษะทีเ่ กดิ จาก
การปฏบิ ัติ

7. บรรยากาศท่สี ง่ เสริมและพัฒนาผ้เู รยี น
ผูเ้ รียนมีความสนใจในการเรียน เนอ่ื งจากการสอนแบบเพอื่ นช่วยเพือ่ น และ Active learning ดูวีดีโอหลักการ

ทํางานของเคร่อื งยนต์ ทําใหผ้ ู้เรยี นมีความเข้าใจและไดแ้ สดงความคิดเห็นแลกเปลีย่ นความรู้ สง่ ผลใหผ้ ้เู รียนเกิด

องคค์ วามรู้และทกั ษะปฏบิ ัติ ยึดหลักความปลอดภัยในการทาํ งานเป็นหลัก

8. คุณธรรม จริยธรรมประจําหนว่ ย
1.ความมีมนษุ ยสมั พันธท์ ี่ดี 2.ความมีวินัย 3.ความรบั ผิดชอบ 4.ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 5.ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง

6.การประหยัด 7.ความสนใจใฝ่รู้ 8.ความสามัคคี 9.ความกตัญญู 10.ละเว้นส่ิงเสพติด/การพนัน 11.ความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ 12.การพึ่งตนเอง 13.ความปลอดภัย 14.ความอดทนอดกล้ัน 15.ความมีคุณธรรม/จริยธรรม 16.การตรง

ตอ่ เวลา

9. สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้
ใบความรเู้ ร่อื ง โครงสร้างและหลกั การทาํ งานของเคร่ืองยนตเ์ ลก็ แก๊สโซลนี และดเี ซล

วีดโี อเรอ่ื ง โครงสรา้ งและหลักการทํางานของเครอื่ งยนต์เลก็ แกส๊ โซลีนและดเี ซล

10. การวัดผลและประเมนิ ผล
แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1 เรือ่ งโครงสรา้ งและหลักการทํางานของเครื่องยนต์เล็กแกส๊ โซลีนและดีเซล

11. หลกั ฐานการเรียนรู้
ใบปฏบิ ัติงานหน่วยท่ี 1 เร่ือง โครงสรา้ งและหลักการทํางานของเครื่องยนต์เลก็ แก๊สโซลีนและดเี ซล

15

12. เอกสารอา้ งอิง
เฉลมิ ออ่ นอ่มิ . งานเครื่องยนต์เล็ก. นนทบรุ ี : ศูนยห์ นงั สอื เมอื งไทย, 2562

ธกร อัศวสิทธิถาวร. งานเครอ่ื งยนต์เลก็ . กรงุ เทพฯ : บริษัทวงั อักษร, 2562

สมชาย วณารกั ษ์. งานเครือ่ งยนต์เล็ก. นนทบรุ ี : สาํ นักพมิ พ์เอมพนั ธ์, 2563

16

พส.10

( วิชาปฏิบตั ิ / ทฤษฎี+ปฏบิ ัติ )

เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการประเมิน

รหสั วชิ า 20101-2101 วชิ า งานเครื่องยนต์เล็ก ท-ป-น 1-6-3

แบบประเมนิ แบบประมาณค่า (Ratting scale) เกณฑ์การใหค้ ะแนน
5 4 321
ประเดน็ การประเมนิ

1. หลักการทํางานเคร่ืองยนต์
2. เครือ่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี
3. เครอ่ื งยนต์ดีเซล
4. เปรยี บเทียบเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี และดีเซล
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.

รวม
รวมทัง้ หมด (5 คะแนน+4 คะแนน+3 คะแนน+2 คะแนน+1 คะแนน)
คะแนนรวม (80%)

17

พส.11

บนั ทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้
รหสั วิชา...........................................ช่อื วชิ า.........................................................................ระดับชั้น  ปวช.  ปวส.
สาขางาน..............................................................................................สัปดาห์ท่ี..........วันทส่ี อน..............................................
หน่วยที่............ช่ือหน่วย......................................................................................................................จาํ นวน................ช่ัวโมง
จาํ นวนผู้เรียน..........................คน มาเรียน........................คน ขาดเรียน.........คน ลาปว่ ย.........คน ลากิจ..........คน

1. ผลการจดั การเรียนรู้
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………….…………
……………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. ปัญหาและอปุ สรรค
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..….…………………………
……………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………….…………
3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
……………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..….…………………………
……………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………

ลงชอ่ื .......................................................ครผู สู้ อน
(นายสุธา กรอบพุดซา)
........../................/............

ความเหน็ ................................................................................. ความเห็น.................................................................................
................................................................................................ ................................................................................................

ลงชื่อ...............................................หวั หน้าแผนกวชิ า ลงช่ือ............................................รองผอู้ ํานวยการฝ่ายวิชาการ
(พ.อ.อ.นพดล ปิ่นมั่น) (นางสาวนิศากร เจรญิ ดี)
............/................../............
............/................../............

ความเห็นผอู้ าํ นวยการ.................................................................................
....................................................................................................................

ลงช่ือ...........................................
(นางสาวสมุ ีนา แดงใจ)

ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยการอาชพี นครปฐม
............/................../............

18
พส.12

ใบความรู้ (Information Sheets)

รหัสวิชา 20101-2101 วิชา งานเคร่อื งยนตเ์ ล็ก

ชือ่ หน่วย โครงสร้างและหลักการทาํ งานของเคร่ืองยนต์เลก็ แก๊สโซลีนและดีเซล

เร่ือง โครงสรา้ งและหลักการทํางานของเครอ่ื งยนต์เลก็ แกส๊ โซลีนและดเี ซล จาํ นวนชวั่ โมงสอน 14

จุดประสงค์การเรียนรู้ รายการเรียนรู้

- จุดประสงค์ทว่ั ไป 1. ประวัตคิ วามเปน็ มาของเครื่องยนต์

1.1 อธิบายประวัตความเปน็ มาของเครอ่ื งยนต์ได้ 2. หลักการทํางานของเคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ

ถกู ตอ้ ง 3. หลกั การทาํ งานของเครอ่ื งยนต์ 2 จงั หวะ

1.2 อธิบายหลักการทาํ งานของเครอ่ื งยนต์ 4 จังหวะได้ 4. การเปรยี บเทียบเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ และ4 จังหวะ
ถูกต้อง 5. ข้อเปรยี บเทียบเครอ่ื งยนตด์ ีเซลกับเครือ่ งยนต์แกส๊ โซ

1.3 อธิบายหลักการทาํ งานของเครอื่ งยนต์ 2 จังหวะได้ ลีน

ถูกตอ้ ง 6. หลกั การทํางานของเครือ่ งยนต์โรตาร่ี

1.4 อธบิ ายเปรยี บเทยี บเครื่องยนต์ 2 จังหวะ และ 4 7. การถอดแยกเครอื่ งยนต์เลก็ แก๊สโซลนี

จงั หวะไดถ้ ูกตอ้ ง 8. การตรวจสอบช้นิ สว่ นของเครอื่ งยนต์เล็กแก๊สโซลนี

1.5 อธิบายข้อเปรยี บเทียบเครอื่ งยนต์ดเี ซลกับ 9. การประกอบเครือ่ งยนต์เล็กแกส๊ โซลีน

เครอื่ งยนต์แกส๊ โซลีนไดถ้ กู ตอ้ ง
- จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

1.1 ปฏบิ ัติการถอดประกอบเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนได้

ถูกตอ้ ง

1.2 ปฏิบตั ิการ วเิ คราะห์ ตรวจสอบชิ้นสว่ นของ

เครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลันไดถ้ กู ต้อง

เน้อื หาสาระ

ประวัตคิ วามเปน็ มาของเคร่อื งยนต์

เคร่ืองยนต์ (Engine) หมายถึง เคร่ืองจักรหรือเคร่ืองกลท่ีสามารถเปล่ียนพลังงานความร้อนให้เป็นพลังงานกล
เครื่องยนต์เป็นเคร่ืองต้นกําลังความสําคัญ นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันสามารถจัดส่งกําลังให้กับ
ส่วนประกอบและอุปกรณ์เคร่ืองทุ่นแรงต่างๆ เพื่อให้เกิดการขับเลื่อนหรือทํางานได้ ดร.ออตโต (Dr.Otto) ชาว
เยอรมันประดิษฐ์เครื่องยนต์แก๊สโซลีนเป็นผลสําเร็จในปี พ.ศ. 2419 เครื่องยนต์ชนิดนี้ใช้เชื้อเพลิงท่ีมีส่วนประกอบ
ของไฮโดรคาร์บอนเป็นเช้ือเพลิงในการเผาไหม้ ต่อมา ดร.รูดอล์ฟ ดีเซล (Dr.Rudolf Diesel) ได้นําเอาหลักการ
ทํางานของ ดร.ออตโต มาพัฒนาสร้างเคร่ืองยนต์ที่ใช้การอัดอากาศเพียงอย่างเดียวให้มีปริมาตรเล็กลงจนมีผลให้
อุณหภูมิสูงข้ึนมากจนจุดระเบิดเช้ือเพลิงได้ เรียกเครื่องยนต์ประเภทน้ีว่า “เครื่องยนต์ดีเซล” เคร่ืองยนต์เหล่านี้จัด
เป็รนเครื่องยนต์สันดาปภายใน โดยเฉพาะเคร่ืองยนต์ขนาดเล็กมีการนําไปใช้งานอย่างกว้างขวางท้ังเคร่ืองยนต์แก๊ส

19

โซลีนและเคร่อื งยนต์ดีเซล

เครื่องยนต์เกือบทุกประเภท ผู้สร้างมีความต้องการที่จะให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันจะแตกต่างกันบ้างก็ตรง
ลักษณะการใช้งาน วิธีการจุดระเบิดน้ํามันเช้ือเพลิงภายในการบอกสูบการระบายความร้อนและจังหวะการทํางาน
ของเคร่ืองยนต์ ส่วนประกอบของเคร่ืองยนต์ส่วนมากจะคล้ายคลึงกัน การทํางานของเคร่ืองยนต์มักจะเริ่มจากการ
ดูดส่วนผสมของน้ําทันกับอากาศเพียงอย่างเดียวและอัดส่วนผสมของอากาสน้ันจุดระเบิดทําให้ก๊าซขยายตัวขับไล่
ไอเสียหรือคายไอเสีย หลักการที่ทําให้เครื่องยนต์ดีเซลแตกต่างจากเครื่องยนต์แก๊สโซลีน คือระบบการจ่ายน้ํามัน
เชื้อเพลิงเข้ากระบอกสูบ เครื่องยนต์แก๊สโซลีนจะมีคาร์บูเรเตอร์ทําหน้าท่ีเป็นตัวจ่ายส่วนผสมขออากาศกับน้ํามัน
เชื้อเพลิง (ไอดี) ในสัดส่วนท่ีถูกต้องและปริมาณท่ีพอเหมาะทุกสภาวะการทํางานของเคร่ืองยนต์ ถ้าพิจารณากัน
จรงิ ๆ แลว้ จะเห็นวา่ เครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี จะมีขนั้ ตอนทีส่ ลับซับซ้อนมากกวา่ เครอ่ื งยนต์ดเี ซล

รปู ที่ 1.1 เครอ่ื งยนต์เลก็ ดีเซล

หลักการทาํ งานของเคร่อื งยนต์ 4 จงั หวะ

การทํางานของเครื่องยนต์ จะใช้คําว่า จังหวะ(Stroke) ได้แก่ จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะกําลัง และจังหวะคาย
ซึ่งใช้อธิบายการทํางานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ แต่อาจไม่ชัดเจนนักถ้าเป็นเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ ดังนั้นไม่ว่าจะ
เป็นเครื่องยนต์กี่จังหวะก็ตาม การทํางานจนครบวัฏจักร (Cycle) ของการทํางานสามารถสรุปเป็นช่วงระยะ
(Phase) ของกระบวนการทํางานได้ 5 ช่วงระยะ ได้แก่ จังหวะดูด (Induction) จังหวะอัด(Compression) จังหวะ
จุดระเบิด (Ignition) จังหวะกาํ ลงั (Power) จังหวะคาย (Exhaust)

เคร่อื งยนต์ 4 จงั หวะ ทใ่ี ชง้ านอยู่โดยทวั่ ไปแบ่งออกได้ ดงั นี้

1. เคร่ืองยนต์เบนซิน 4 จังหวะ เป็นเครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟ (Spark Ignition) จึงมักเรียกว่า SI
Engine มรี ะยะชว่ งการทาํ งาน 5 ระยะช่วง จะครบวัฏจักรการทํางาน เม่ือเคร่อื งยนต์หมุนครบสองรอบ

20

รปู ท่ี 1.2 แสดงส่วนประกอบเคร่ืองยนตเ์ บนซนิ
ระยะช่วงท่ี 1 : จังหวะดูด วาล์วไอดีเร่ิมเปิดล่วงหน้าก่อนที่ลูกสูบจะเคล่ือนที่ถึงตําแหน่งสูงสุด(Top Dead Center
ซ่ึงย่อว่า TDC) และเม่ือลูกสูบเคล่ือนท่ีลงจากตําแหน่องสวูงสุด ปริมาตรภายในกระบอกสูบจะเพิ่มขึ้น ความดัน
ภายในกระบอกสูบจะต่ํากว่าบรรยากาศ (เป็นสุญญากาศ) ขณะเดียวกันวาล์วไอเสียปิดและวาล์วไอดีเปิด ไอดีจะ
ถูกดูดเข้ากระบอกสูบโดยผ่านท่อร่วมไอดี(Inlet Manifold) และผ่านช่องวาล์วไอดีเข้าสู่กระบอกสูบ วาล์วไอดีจะ
ปิดช้าเล็กน้อยหลังจากลูกสูบเคลื่อนที่ถึงตําแหน่งตํ่าสุด (Bottom Dead Center ซึ่งย่อว่า BDC) ดังน้ัน เพลาข้อ
เหว่ียงของเครื่องยนต์จะหมุนไปมากกว่าครึ่งรอบเล็กน้อยในช่วงระยะจังหวะดูด ส่วนผสมของอากาศกับน้ํามัน
เชื้อเพลงิ อยใู่ นช่วง 10:1 ถึง 14:1

รปู ท่ี 1.3 ระยะชว่ งจงั หวะดูด

21

รูปท่ี 1.4 ระยะชว่ งจงั หวะอัด
ระยะช่วงที่ 2 : จังหวะอัด ในขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่จากตําแหน่งต่ําสุด ปริมาตรในกระบอกสูบจะลดลงและ
ความดันของไอดีจะเพ่ิมข้ึน วาล์วไอดีและวาล์วไอเสียปิด ขณะที่ไอดีจะถูกอัดจนมีความดันเพิ่มขึ้นถึง 8- 10 เท่า
ของความดันบรรยากาศ (800-1,000 kPa) ระยะช่วงจังหวะอัดสิ้นสุดเม่ือลูกสูบเคล่ือนท่ีถึงตําแหน่งสูงสุด เพลาข้อ
เหวย่ี งของเคร่ืองยนต์หมนุ ได้น้อยกวา่ ครงึ่ รอบเลก็ นอ้ ย
ระยะช่วงท่ี 3 : จังหวะกําลัง หลังจากลูกสูบเคลื่อนท่ีถึงตําแหน่งสูงสุดเล็กน้อย จะเกิดประกายไฟที่หัวเทียนจาก
การทํางานของระบบจุดระเบิด ประกายไฟดังกล่าวจะทําให้ไอดีเกิดการจุดระเบิดและเผาไหม้ ทําให้อุณหภูมิและ
ความดนั ภายในกระบอกสูบเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเรว็
ระยะช่วงท่ี 4 : จังหวะกําลัง หลังจากลูกสูบเคลื่อนท่ีผ่านตําแหน่งสูงสุดแล้ว ความดันในห้องเผาไหม้เพิ่มข้ึน
สูงสุดเป็น 2-3 เท่า ของความดันอัด(1,600-3,000 kPa) ความดันสูงน้ีจะดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ลงสู่ตําแหน่งต่ําสุด
ทําให้เพลาข้องเหว่ียงหมุน พลังงานส่วนมากสะสมไว้ในล้อช่วยแรง (Flywheel) ระยะช่วงกําลังน้ีจะสิ้นสุดเม่ือ
วาล์วไอเสียเร่ิมเปิด ดดยจะเปิดก่อนท่ีลูกสูบจะเคล่ือนที่ถึงตําแหน่งต่ําสุดเล็กน้อย เพลาข้อเหว่ียงจะหมุนน้อยกว่า
ครึง่ รอบเล็กนอ้ ย

22

รปู ท่ี 1.5 ระยะช่วงจงั หวะกําลัง

รปู ท่ี 1.6 ระยะช่วงจงั หวะคาย
ระยะช่วงที่ 5 : จังหวะคาย ก่อนลูกสูบเคล่ือนท่ีถึงตําแหน่งต่ําสุดเล็กน้อย วาล์วไอเสียจะเปิดอก เมื่อลูกสูบ
เคล่ือนท่ีผ่านตําแหน่งตํ่าสุดแล้วจะเคล่ือนท่ีขึ้น ปริมาตรภายในกระบอกสูบจะเริ่มลดลง ไอเสียภายในการบอกสูบ
จะถูกดันออกจากกระบอกสูบโดยผ่านช่องวาล์วไอเสียและท่อร่วมไอดีระยะช่วงคายนี้ส้ินสุดเม่ือวาล์วไอเสียปิด ซ่ึง
จะปดิ หลังจากลกู สูบเคลื่อนท่ผี า่ นตาํ แหน่งสงู สดุ มาแล้วเล็กนอ้ ย เพลาขอ้ เหวยี่ งจะหมุนมากกวา่ คร่ึงรอบเล็กนอ้ ย

23

รูปท่ี 1.7 ไดอะแกรมการทํางานเวลาเปิดและเวลาปดิ วาล์วเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลีน 4 จงั หวะ

วัฏจักรการทํางานทั้ง 5 ช่วงระยะน้ีจะครบสมบูรณ์ด้วยเวลาอันสั้น (1/5 วินาทีท่ีรอบ 600 rpm) และจะทําซํ้า
เดมิ ทกุ ๆสองรอบของการหมุนเพลาขอ้ เหว่ยี ง (720 องศา)

กรณีของเคร่ืองยนต์ที่มีหลายสูบ แต่ละกระบอกสูบก็ทํางานแบบเดียวกัน แต่จะมีการเหลื่อมกันของแต่ละระยะ
ช่วง ลําดับการจุดระเบิดเป็น 1-3-4-2 ระยะช่วงกําลังจะเกิดขึ้นทุกๆ 180 องศาของการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยง
พลังงานท่ีได้บางส่วนจะสะสมไว้ในล้อช่วยแรง ทําให้เพลาข้อเหวี่ยงยังคงหมุนต่อไปได้อย่างต่อเน่ืองในระยะช่วง
อนื่ ๆ และถกู นําไปใช้ขับเคลอ่ื นโดยเฉพาะรถยนต์

2. เคร่ืองยนต์ดีเซล 4 จังหวะ เครื่องยนต์ดีเซลที่ใช้กับรถยนต์โดยท่ัวไปมักเป็นแบบ 4 จังหวะ เครื่องยนต์ดีเซล
ส่วนหนึ่งได้รับการพัฒนาจากความสาํ เร็จของการออกแบบเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี

รปู ที่ 1.8 แสดงเครอ่ื งยนต์ดเี ซล 4 จงั หวะ

ข้อดี: ของเครื่องยนต์ดีเซล คือ มีประสิทธิภาพค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือทํางานท่ีมีภาระปานกลาง
เคร่ืองยนต์ดีเซลขนาดเบาสามารถประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงได้สูงกว่าเคร่ืองยนต์แก๊สโศลีนขนาดเดียวกันถึง 25
เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเครื่องยนต์ดีเซลไม่มีระบบจุดระเบิด นํ้ามันเช้ือเพลิงจะถูกฉีดเข้ากระบอกสูบโดยตรงเมื่อ
สิ้นสุดจังหวะอัด และจุดระเบิดโดยอาศัยความร้อนที่เกิดข้ึนจากการอัด ราคาน้ํามันดีเซลจะถูกกว่าเคร่ืองยนต์มี
ความแข็งแรงและทนทานนานกวา่

ข้อเสีย: ของเคร่ืองยนต์ดีเซล คือ การสตาร์ตเครื่องยนต์ต้องใช้กําลังมาก ดังน้ัน จึงต้องมีมอเตอร์สตาร์ตขนาด
ใหญ่และแบตเตอรี่ความจุสูง อัตราเร่งตํ่ากว่า มีนํ้าหนักมากกว่า เม่ือเปรียบเทียบกับเครื่องยนต์แก๊สโซลีนขนาด
เดียวกัน แต่อย่างไรก็ตามเคร่ืองยนต์ดีเซลก็เป็นที่นิยมใช้กับรถยนต์ขนาดใหญ่ท่ีทํางานหนัก ได้แก่ รถบรรทุก รถ
โดยสารประจําทาง เปน็ ต้น

เครื่องยนต์ดีเซลเป็นเครื่องยนต์ท่ีใช้การจุดระเบิดด้วยการอัด(Compession lgnition) จึงมักเรียกว่า CI Engine
การทํางานของเคร่ืองยนตด์ เี ซลมี 5 ระยะชว่ งเชน่ กัน เครื่องยนตจ์ ะหมุนสองรอบเมื่อทาํ งานครบวัฏจักร

ระยะช่วงท่ี 1 : จังหวะดูด วาล์วไอดีเร่ิมเปิดล่วงหน้าก่อนท่ีลูกสูบจะเคล่ือนท่ีถึงตําแหน่งสูงสุด และในขณะท่ี
ลูกสูบเคลื่อนท่ีลงจากตําแหน่งสูงสุดจะเกิดแรงดูดขึ้นภายในกระบอกสูบ อากาศจะไหลผ่านช่องวาล์วไอดีเข้าไปยัง

24
กระบอกสูบ (วาล์วไอเสียปิด) ระยะช่วงดูดนี้จะสิ้นสุดเม่ือวาล์วไอดีปิด ซ่ึงจะปิดหลังจากลูกสูบถึงตําแหน่งต่ําสุด
ดังน้ันเพลาขอ้ เหวย่ี งจะหมุนมากกว่าคร่งึ รอบเล็กนอ้ ย

รูปที่ 1.9 ระยะช่วงจงั หวะดูด

รูปที่ 1.10 ระยะชว่ งจังหวะอดั
ระยะช่วงท่ี 2 : จังหวะอัด ในขณะท่ีลูกสูบเคลื่อนท่ีจากตําแหน่งต่ําสุด ปริมาตรในกระบอกสูบจะลดลงและ
ความดันของอากาศจะเพิ่มขึ้น วาล์วไอดีและไปเสียปิดขณะท่ีอากาศจะถูกอัดจนมีความดันเพ่ิมขึ้นถึง 16-20 เท่า
ของความดันบรรยากาศ(1,600-2,000 kPa) อุณหภูมิของอากาศเพิ่มสูงถึงประมาณ 550 oC ระยะช่วงอัดน้ีจะ
สน้ิ สุดเมือ่ ลกู สบู เคล่ือนท่ถี งึ ตาํ แหนง่ สงู สุดเพลาข้อเหวียงของเคร่อื งยนต์จะหมนุ ไดน้ อ้ ยกวา่ คร่ึงรอบเล็กนอ้ ย
ระยะช่วงที่ 3 : จงั หวะจุดระเบิด กอ่ นลกู สบู เคล่ือนทีถ่ งึ ตาํ แหน่งสงู สุดเล็กนอ้ ย น้ํามันเชือ้ เพลิงจะถูกฉีดเข้า
กระบอกสูบผ่านหัวฉีด ความดันของการฉีดอยู่ในช่วง 14,00-20,000 kPa นํ้ามันเช้ือเพลิงถูกฉีดเป็นฝอยละเอียด
ผสมกับอากาศรอ้ นและจดุ ระเบิดเผาไหม้ อุณหภมู แิ ละความดันภายในกระบอกสูบเพ่มิ ขึน้ อยา่ งรวดเรว็
ระยะช่วงท่ี 4 : จังหวะกําลัง หลังจากลุกสูบเคล่ือนท่ีผ่านตําแหน่งสูงสุดไปแล้วเล็กน้อยความดันในห้องเผาไหม้
จะเพ่ิมขึ้นสูงสุดเป็น 2-3 เท่า ของความดันอัด (3,200-6,000 kPa) ความดันสูงน้ีจะดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่ลงสู่
ตําแหน่งตํ่าสุด ซ่ึงทําให้เพลาข้อเหว่ียงหมุน พลังงานส่วนมากสะสมไว้ในล้อช่วยแรง ระยะช่วงจังหวะกําลังน้ีจะ

25
สิ้นสุดเม่ือวาล์วไอเสียเริ่มเปิด โดยจะเปิดก่อนท่ีลูกสูบจะเคล่ือนท่ีถึงตําแหน่งต่ําสุดเล็กน้อย เพลาข้อเหว่ียงจะหมุน
น้อยกว่าครึง่ รอบเลก็ นอ้ ย

รูปที่ 1.11 ระยะชว่ งจังหวะกําลงั

รูปที่ 1.12 ระยะช่วงจังหวะคาย
ระยะช่วงท่ี 5 : จังหวะคาย ก่อนลุกสูบเคล่ือนท่ี ถึงตําแหน่งต่ําสุดเล็กน้อย วาล์วไอเสียจะเปิดออก เมื่อลูกสูบ
เคล่ือนท่ีผ่านตําแหน่งตํ่าสุดแล้วจะเคลื่อนที่ขึ้น ปริมาตรภายในกระบอกสูบจะเริ่มลดลง ไอเสียภายในกระบอกสูบ
จะถูกดันออกจากกระบอกสูบโดยผ่านช่องวาล์วไอเสียและท่อร่วมไอเสีย ระยะคายนี้จะส้ินสุดเม่ือวาล์วไอเสียปิด
ซึ่งจะปิดหลังจากลูกสูบเคล่ือนที่ผ่านตําแหน่งสูงสุดมาแล้วเล็กน้อย เพลาข้อเหว่ียงจะหมุนมากกว่าครึ่งรอบ
เล็กน้อย

26

รปู ที่ 1.13 ไดอะแกรมการทํางานจงั หวะเปดิ และปดิ วาล์วเครือ่ งยนต์ดเี ซล 4 จังหวะ
วฏั จักรการทาํ งานของเครือ่ งยนต์ดีเซล 4 จังหวะน้จี ากลําดับการจดุ ระเบิดนาํ้ มันเชือ้ เพลิงในแต่ละกระบอกสูบ
ก็เหมือนกันกับการทํางานของเครื่องยนต์เบนซินตามท่ีกล่าวมาแล้ว เช่นเครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะ มีลําดับการจุด
ระเบิดเผาไหม้นํ้ามันเชื้อเพลิงเป็น 1-3-4-2 และ 6 สูบ จังหวะเป็น 1-5-3-6-2-4 อัตราเร็วของเครื่องยนต์
แปรเปล่ียนไปตามปริมาณนํ้ามันเชื้อเพลิงท่ีฉีดเข้ากระบอกสูบปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงถูกควบคุมโดยกลไกปั๊มหัวฉีด
(Injector Pump) ซ่งึ ต่อกับแป้นคันเร่งเหมือนกนั
หลกั การทํางานของเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ
เครื่องยนต์ 2 จงั หวะ ทใ่ี ชง้ านอยู่โดยทว่ั ไปแบง่ ออกไดด้ งั นี้
1 เคร่ืองยนต์เบนซิน 2 จังหวะ การทํางานครบวัฏจักรของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ ใช้การเคล่ือนท่ีของลูกสูบจํานวน
2 จังหวะ หรือเพลาข้อเหวี่ยงหมุนหน่ึงรอบ ช่วงระยะท้ัง 5 จะเกิดขึ้นภายใน 2 จังหวะ ของลูกสูบเท่าน้ัน ดังนั้น
จะตอ้ งมีมากกว่าหนงึ่ ระยะชว่ งเกดิ ขึน้ พรอ้ มกัน
การดูดเข้าห้องข้อเหว่ียงและระยะช่วงอัด ขณะที่ลูกสูบเคล่ือนท่ีจากตําแหน่งตํ่าสุด ปริมาตรในห้องข้อเหว่ียงจะ
เพิ่มขึ้นและความดันจะลดลงตํ่ากว่าความดันบรรยากาศ ความแตกต่างของความดันน้ี จะทําให้รีดวาล์วเปิดออก
ไอดีซ่ึงมีน้ํามันหล่อลื่นผสมอยู่ด้วยจะไหลผ่านท่อร่วมไอดีและรีดวาล์วเข้าสู่ห้องข้อเหว่ียงเป็นเวลาเดียวกันท่ีลูกสูบ
เคล่ือนท่ีไปยังตําแหน่งสูงสุด ปริมาตรในกระบอกสูบจะลดลงและความดันของไอดีในกระบอกสูบจะพ่ิมข้ึน
เน่ืองจากช่องทั้งหมดถูกปิด ไอดีจะถูกอัดด้วยความดันสูงเป็น 8-10 เท่า ของความดันบรรยากาศ (800-1,000
kPa) วัฏจักรส่วนน้ีจะสมบูรณ์เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ถึงตําแหน่งสูงสุด และเพลาข้อเหว่ียงหมุนไปครึ่งรอบหรือ 180
องศา

27

รปู ท่ี 1.14 การดูดเข้าห้องข้อเหว่ียงและระยะช่วงอดั
ระยะช่วงจุดระเบิด ระยะช่วงกําลัง และการอัดในห้องข้อเหว่ียง ก่อนลูกสูบจะเคล่ือนที่ถึงตําแหน่งสูงสุด
เล็กน้อย จะเกิดประกายไฟท่ีหัวเทียนจากการทํางานของระบบจุดระเบิด ทําให้ไอดีเกิดการเผาไหม้ภายในการบอก
สูบ อุณหภูมิและความดันจะเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว หลังจากลูกสูบเคล่ือนที่ผ่านตําแหน่งสูงสุดมาเล็กน้อย ความดัน
ในห้องเผาไหม้จะมีค่าเป็น 2-3 เท่า ของความดันอัด (1,300-1,600 kPa) ความดันสูงนี้จะดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่เข้า
หาตําแหนง่ ตาํ่ สุดและทําให้เพลาขอ้ เหวีย่ งหมุน
ขณะลูกสูบถูกดันให้เคลื่อนท่ีเข้าหาตําแหน่งตํ่าสุดน้ัน ปริมาตรในห้องข้อเหว่ียงจะลดลงและความดันของ
ส่วนผสมเพม่ิ ขึ้น ทาํ ใหร้ ีดวาล์วปิดและส่วนผสมในห้องข้อเหว่ยี งจะถูกดันใหม้ ีความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศ
ระยะช่วงจุดระเบิด ระยะช่วงกําลังและการอัดในห้องข้อเหวี่ยงจะเสร็จสมบูรณ์เมื่อหัวลูกสูบเปิดช่องไอเสียและ
ช่องไอดี

รูปท่ี 1.15 ระยะชว่ งจดุ ระเบดิ กาํ ลัง และการอดั ในหอ้ งข้อเหวีย่ ง
ระยะช่วงคายและระยะช่วงดูด ขณะท่ีลูกสูบอยู่ใกล้ตําแหน่งต่ําสุด ช่องไอเสียจะเปิดออกความดันที่เหลือใน
กระบอกสูบจากระยะช่วงกําลังจะดันก๊าซไอเสีย ท่อร่วมไอเสียและหม้อพักไอเสียออกสู่บรรยากาศ หลังจากช่องไอ
เสียเปิดออกเพียงเล็กน้อย ช่องไอดีจะเปิดออกและความดันสูงในห้องข้อเหวี่ยงจะดันไอดีเข้ากระบอกสูบ การหมุน
ของไอดีท่ีไหลเข้ากระบอกสูบจะขับไล่ไอเสียส่วนท่ีเหลือออกจกกระบอกสูบ จนไอดีบรรจุเต็มกระบอกสูบ ระยะ
ชว่ งคายและชอ่ งไอเสยี

28

รูปที่ 1.16 ระยะช่วงคายและระยะชว่ งดดู
วัฏจักรน้ีจะเสร็จสมบูรณ์ในระยะเวลาอันส้ันประมาณ 1/10 วินาที ท่ีอัตราเร็วรอบ 600 rpm และจะทํางานซํ้า
ทุกๆ 360 องศา ของการหมนุ เพลาข้อเหวี่ยง

รปู ท่ี 1.17 ไดอะแกรมการทํางานเวลาเปดิ และปิดวาลว์ เคร่อื งยนตแ์ กส๊ โซลีน 2 จงั หวะ
เคร่ืองยนต์ 2 จังหวะสูบเดียวจะให้แรงกระตุ้นของจังหวะกําลังทุกๆ รอบของการหมุนของเพลาข้อเหว่ียง
อัตราเร็วรอบของเคร่ืองยนต์เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณไอดีท่ีเข้าสู่กระบอกสูบซ่ึงควบคุมได้ด้วยการเปิดและปิด
วาลว์ ปีกผเี ส้ือทต่ี ่อกบั แป้นคนั เร่ง
2. เคร่ืองยนต์ดีเซล 2 จังหวะ การทํางานครบวัฏจักรของเครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะ จะเสร็จสมบูรณ์ใน 2
จังหวะ ของลูกสูบหรือภายในหน่ึงรอบของการหมุนของเพลาข้อเหวี่ยงอากาศที่เข้ากระบอกสูบจะไม่ผ่านเข้าห้อง
ข้อเหว่ียงอย่างเช่นเครื่องยนต์เบนซิน 2 จังหวะ อากาศจะถูกอัดเข้ากระบอกสูบ โดยใช้โบล์วเออร์ซ่ึงขับเคล่ือนด้วย
เครื่องยนต์ สําหรับจํานวน 5 ช่วงระยะเกิดข้ึนภายใน 2 จังหวะ ของลูกสูบน้ัน แสดงว่าจะต้องมีบางระยะช่วง
เกดิ ข้ึนพร้อมกนั
ระยะช่วงดูดและระยะช่วงคาย ขณะท่ีลูกสูบเคล่ือนท่ีเข้าใกล้ตําแหน่งตํ่าสุดวาล์วไอเสียจะเปิดออกโดยเพลาลูก
เบี้ยว ความดันที่เหลือค้างภายในกระบอกสูบจากการเผาไหม้จะดันไอเสียออกจากกระบอกสูบทําให้โบล์วเออร์อัด
อากาศผ่านช่องไอดีเข้ากระบอกสูบตรงบริเวณส่วนล่างและไหลข้ึนสู่วาล์วไอเสีย และจะไล่ไอเสียท่ีค้างออกไป

29

อากาศก็จะถกู บรรจเุ ตม็ กระบอกสบู

รูปท่ี 1.18 ระยะช่วงดดู และระยะชว่ งคาย

รูปท่ี 1.19 ระยะช่วงอัด

ระยะช่วงอัด หลังจากลูกสูบเคลื่อนห่างจากตําแหน่งต่ําสุดเล็กน้อยช่องไอดีจะถูกปิดโดยหัวลูกสูบและวาล์วไอ
เสียจะปิดด้วยเช่นกัน ลูกสูบยังคงเคลื่อนท่ีต่อไปยังตําแหน่งสูงสุด ทําให้ปริมาตรในกระบอกสูบลดลง แต่อุณหภูมิ
และความดันของอากาศจะเพิ่มข้ึน 16-20 เท่า ของความดันบรรยากาศ (1,600-2,000 kPa) ทําให้อุณหภูมิสูงข้ึน
ถงึ 550 oC ระยะชว่ งอดั จะเสร็จสมบรู ณเ์ มอ่ื ลูกสบู เคลอ่ื นทถ่ี งึ ตาํ แหนง่ สูงสดุ

ระยะช่วงจุดระเบิด เม่ือลูกสูบเคลื่อนที่ถึงตําแหน่งสูงสุด น้ํามันเชื้อเพลิงจะถูกฉีดออกจากหัวฉีดเข้ากระบอกสูบ
ด้วยความดันสูงมาก (14,000-20,000 kPa) นํ้ามันเชื้อเพลิงจะเป็นฝอยละเอียดและผสมกับอากาศร้อนและจุด
ระเบดิ เผาไหม้ ความร้อนจากการเผาไหม้จะทําใหอ้ ุณหภมู แิ ละความดนั ของสว่ นผสมเพม่ิ ขึ้นอยา่ งรวดเรว็

30

รูปท่ี 1.20 ระยะชว่ งจดุ ระเบดิ

รปู ท่ี 1.21 ระยะชว่ งกําลงั
ระยะช่วงกําลัง เมื่อลูกสูบเคล่ือนที่ผ่านตําแหน่งสูงสุดไปเพียงเล็กน้อย ความดันในห้องเผาไหม้จะเพิ่มขึ้นสูงสุด
เป็น 2-3 เท่าของความดันอัด (3,200-6,000 kPa) ความดันสูงน้ีจะดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่เข้าหาตําแหน่งตํ่าสุด ทํา
ให้เพลาข้อเหวย่ี งหมุน จงั หวะกําลังจะเสร็จสมบูรณ์เมอ่ื วาล์วไอเสียเปดิ
วัฏจักรนี้จะเสร็จสมบูรณ์ภายในเวลาส้ัน(ประมาณ 1/10 วินาทีที่อัตรา 600 rpm) และจะเกิดข้ึนซ้ํากันทุกๆรอบ
(360 องศา)ของการหมุนเพลาข้อเหวย่ี ง
เครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะสูบเดียวจะให้แรงกระตุ้นในจังหวะกําลังหนึ่งครั้งทุกๆ รอบของการหมุนของเพลาข้อ
เหวี่ยง สําหรับเครื่องยนต์ดีเซล 2 จังหวะ 4 สูบ จะมีลําดับการจุดระเบิดเป็น 1-3-4-2 แต่ละกระบอกสูบจะให้แรง
กระตุ้นในจังหวะกําลังในทุกๆ รอบของการหมุนของเพลาข้อเหว่ียงโดยอัตราเร็วของเคร่ืองยนต์เปล่ียนแปลงไป
ตามปริมาณน้าํ มันเช้อื เพลิงท่ีฉดี เข้าหอ้ งเผาไหม้

31

รูปที่ 1.22 ไดอะแกรมการทํางานเวลาเปิดและปิดวาล์วเครือ่ งยนต์ดเี ซล 2 จังหวะ
การเปรียบเทยี บเครอ่ื งยนต์ 2 จังหวะและ 4 จงั หวะ

การทํางานของเครื่องยนต์ 2 จังหวะและ 4 จังหวะนั้นมีข้อเปรียบเทียบ คือ เม่ือเครื่องยนต์มีขนาดเท่ากัน
เคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ ไม่อาจผลิตกําลังมากเป็น 2 เท่าของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ แต่จะให้จังหวะกําลังเป็นจํานวน 2
เท่า เม่ืออัตราเร็วของเครื่องยนต์ท้ัง 2 แบบเท่ากันสาเหตุที่มีกําลังไม่มากเป็น 2 เท่า ทั้งๆท่ีจังหวะกําลังเป็น 2 เท่า
ก็เพราะเหตุว่าเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ เมื่อไอดีไหลเข้ากระบอกสูบน้ันจะมีไอเสียส่วนหนึ่งเข้าผสมกับไอดี จึงทําให้ไอ
ดใี นกระบอกสบู ถกู แทนท่บี างส่วนด้วยไอเสีย จึงทําใหก้ าํ ลังเคร่ืองยนต์มไี ม่มากเท่าทคี่ วรในจังหวะกําลงั

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ไอเสียเกือบทั้งหมดถูกขับออกจากกระบอกสูบไอดีจึงเข้ากระบอกสูบ ไอดีจึงเข้ากระบอก
สูบไดเ้ ต็มที่ และมีผลทาํ ให้กําลงั ของเคร่อื งยนต์มคี า่ มากเตม็ อัตราในแตล่ ะจังหวะกําลัง

(ก) เครอื่ งยนต์ 2 จังหวะหมุน 1 รอบ

32

(ข) เคร่ืองยนต์4 จังหวะหมุน 2 รอบ
รูปที่ 1.23 แสดงการเปรยี บเทยี บเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ และ 4 จงั หวะ
ข้อเปรยี บเทียบเครื่องยนตด์ ีเซลกบั เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน
การเลือกใช้เคร่ืองยนต์ข้ึนอยู่กับลักษณะงาน งานบางชนิดเหมาะท่ีจะใช้เคร่ืองยนต์ดีเซลงานบางชนิดเหมาะที่จะ
ใช้เคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี
1. การทํางาน เครื่องยนต์ดีเซลการจุดระเบิดใช้การฉีดเชื้อเพลิงเข้าสันดาปกับอากาศท่ีถูกอัดอยู่ภายในห้องเผา
ไหมซ้ ่งึ มีอณุ หภูมิอัดตวั สงู ความเรว็ รอบสามารถควบคุมได้ด้วยการปรบั แต่งปริมาณน้าํ มันท่ฉี ีดเข้ากระบอกสบู
ส่วนเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนการจุดระเบิดใช้ส่วนผสมของน้ํามันเชื้อเพลิงกับอากาศด้วยประกายไฟจากหัวเทียน โดย
มีคาร์บูเรเตอร์ช่วยทําหน้าที่ผสมนํ้ามันเช้ือเพลิงกับอากาศให้มีอัตราส่วนท่ีถูกต้องในปริมาณที่กําหนด แยกความ
แตกต่างการทํางานออกเป็น
1.1 อัตราส่วนความอัด เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนจะมีส่วนความอัดตํ่า ถ้าใช้อัตราส่วนสูงเกินไปจะทําให้จุดระเบิด
ซอ้ นรนุ แรง ส่วนเครือ่ งยนตด์ ีเซลจะใชอ้ ตั ราส่วนความอัดสูงไดป้ ระมาณ 12-20ต่อ1 หรือมากกว่า
1.2 กําลังดันการทํางาน เครื่องยนต์ดีเซลจะมีกําลังดันสูงซ่ึงมีส่วนมาจากการอัดตัวสูงทําให้อากาศที่ถูกอัด
ภายในกระบอกสูบมีความร้อนมากจนเกิดอุณหภูมิจุดระเบิดของเช้ือเพลิงแรงอัดภายในกระบอกสูบของเคร่ืองยนต์
ดีเซลมีประมาณ 28-50 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรในเครื่องยนต์แก๊สโซลีนจะมีเพียง 7-15 กิโลกรัมต่อตาราง
เซนติเมตร
1.3 ความเร็วรอบของการทํางาน รถท่ีใช้เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนจะให้กําลังสูงสุดท่ีความเร็วประมาณ 3,000-
4,000 รอบต่อนาที
1.4 การจ่ายเชื้อเพลิงเข้าห้องสูบ เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนจะยุ่งยากกว่า เพราะถ้าลูกสูบมีหลายสูบต้องจ่ายใน
อัตราส่วนเท่ากันทุกสูบ แต่เคร่ืองยนต์ดีเซลการจ่ายเชื้อเพลิงเข้าห้องสูบจะดีกว่า เพราะใช้วิธีฉีดเชื้อเพลิงออกจาก
หัวฉีดเขา้ ภายในแต่ละสูบโดยตรง
1.5 การซูเปอร์ชาร์จ เป็นการอัดอากาศเข้าไปในสูบเพื่อให้มีกําลังดันสูงกว่ากําลังดันของอากาศที่เคร่ืองจะดูดได้

33
ปกติ เครื่องยนต์แก๊สโซลีนนั้นจะถูกกําจัดเพราะการเกิดดีโทเนชันในขณะที่เคร่ืองยนต์ดีเซลสามารถป้องกันการ
เกิดดีโทเนชนั ได้

รูปท่ี 1.24 แสดงระบบการทํางานเทอรโ์ บชาร์จเจอร์
1.6 อุณหภูมิของไอเสีย เคร่ืองยนต์ดีเซลจะมีอุณหภูมิของไอเสียท่ีปล่อยออกจากเครื่องต่ํากว่าเคร่ืองยนต์แก๊สโซ
ลีน สามารถนําพลงั งานความรอ้ นไปใชง้ านไดม้ ากกวา่
1.7 การเริ่มเดินเครื่อง เครื่องยนต์ดีเซลจะเร่ิมการเดินเคร่ืองได้ยากกว่าเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน เพราะเครื่องยนต์
ดีเซลต้องใช้แรงในการพยายามขับเคล่ือนเพลาข้อเหวี่ยง เพ่ือสามารถเอาชนะแรงอัดที่เกิดจากอัตราส่วนความอัด
ดันสูงมากของเครื่องยนต์
2. คุณลกั ษณะของสมรรถนะ เครื่องยนต์ดเี ซลกับเคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี มขี อ้ เปรียบเทียบโดยพจิ ารณาจาก
2.1 กําลังที่ได้ต่อหน่วยน้ําหนัก ขนาดของช้ินส่วนของเครื่องยนต์ดีเซลต้องมีความมั่นคงแข็งแรงจึงมีนํ้าหนักมาก
ปกติมีน้ําหนักประมาณ 2-10 กิโลกรัม หรือมากกว่า ต่อ 1 แรงม้า แต่ถ้าเป็นเครื่องยนต์แก๊สโซลีนจะหนักเพียง
0.5-3 กิโลกรมั ต่อ 1 แรงม้า
2.2 กําลังที่ได้ต่อหน่วยปริมาตรดูดลูกสูบ จะเปรียบเทียบให้เห็นความเร็วรอบเครื่องยนต์ดีเซลหมุนเร็วจะให้
กําลังได้ประมาณ 0.02 แรงม้าต่อปริมาตรดูดลูกสูบทุกๆ 1 ซีซี แต่ถ้าเป็นเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนจะให้กําลังประมาณ
0.03 แรงม้าตอ่ ปริมารดดู ลูกสบู ทุกๆ 1 ซซี ี
2.3 อัตราการเร่งเครื่อง เคร่ืองยนต์ดีเซลใช้ระบบฉีดน้ํามันเช้ือเพลิงที่สามารถควบคุมปริมาณน้ํามันเช้ือเพลิงที่
ฉีดได้โดยตรง แต่เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีนไมส่ ามารถควบคุมได้
2.4 ความเชอ่ื ถือ เครือ่ งยนตด์ ีเซลจะได้รับความเช่อื ถือจากผูใ้ ช้มากกวา่ เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี ล
3. การประหยัดน้ํามันเช้ือเพลิง เคร่ืองยนต์ดีเซลใช้ระบบฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงได้ดีมาก เพราะมีประสิทธิภาพทาง
ความร้อนสูงกว่าเครื่องยนต์แก๊สโซลีน ทําให้เคร่ืองยนต์ดีเซลได้กําลังม้าต่อกิโลกรัมของเชื้อเพลิงต่อชั่วโมงสูงกว่า
และนํา้ มันเชอ้ื เพลงิ ยงั มรี าคาถูกกว่าเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี

34

หลักการทํางานของเคร่อื งยนต์โรตารี

รูปที่ 1.25 แสดงเคร่ืองยนตโ์ รตารี
เคร่ืองยนต์โรตารี (Rotary Engine) หรือเครื่องยนต์ลูกสูบหมุน ลูกสูบของเคร่ืองยนต์เรียกว่า โรเตอร์ (Rotors)
เครื่องยนตช์ นิดนีม้ ีช้นิ สว่ นเคลอ่ื นไหวทส่ี ําคัญ ได้แก่
1. เพลาเยื้องศูนย์ (Eccentric Shaft) หน้าท่ีของเพลาเยื้องศูนย์คือถ่ายทอดการเคล่ือนไหวของโรเตอร์ไปยังล้อ
ช่วยแรง เพลาเยื้องศูนย์เป็นเหล็กกล้าชนิดเดียวกันและมีแกนโรเตอร์เยื้องศูนย์สองอันและข้อสัมผัสของแบริ่งหลัก
สองอนั

รูปที่ 1.26 แสดงเพลาเย้ืองศนู ย์
2. โรเตอร์ (Rotor) มีลักษณะเป็นสามเหล่ียมทํามาจากเหล็กหล่อพิเศษ ทําหน้าที่คล้ายลูกสูบแต่เป็นลูกสูบแบบ
หมุน หน้าท้ังสามของโรเตอร์มีร่องเว้าซึ่งทําหน้าท่ีเป็นห้องเผาไหม้โรเตอร์มีซีลท่ีมุมท้ังสามและซีลด้านข้าง เพื่อ
ป้องกันการรั่วไหลของความดันในขณะเคร่ืองยนต์ทํางานโรเตอร์หมุน ภายในห้องเผาไหม้ช่องว่างภายในเสื้อจะ
เปลยี่ นแปลงเพ่ือให้เกิดพืน้ ทที่ ํางานสาํ หรับวฏั จักรการทํางาน

35

รูปที่ 1.27 แสดงโรเตอร์

รูปท่ี 1.28 แสดงเสอื้ โรเตอร์
3. เสื้อโรเตอร์ (Rotor Housing) เป็นที่บรรจุโรเตอร์ทํางากอะลูมิเนียมผสมหล่อ ท่ีเรือนสูบจะมีช่องทางเข้าไอดี
และช่องระบายไอเสียและช่องสําหรับระบบหล่อเย็น ด้านตรงข้ามเป็นที่ติดตั้งรูหัวเทียน ผิวหน้าภายในของเส้ือ
เคลือบดว้ ยวัสดทุ นตอ่ การสึกหรอขณะท่โี รเตอร์หมุน
เส้ือโรเตอร์ประกอบด้วย เส้ือหน้า (Front Housing) เส้ือกลาง (Intermediate Housing) เสื้อหลัง (Rear
Housing) ซึ่งเส้ือแต่ละชุดได้รับการออกแบบพร้อมด้วยช่องทางเข้า (Inlet Ports) โดยท่ีเสื้อหน้าและเส้ือหลังจะมี
เฟืองไทมง่ิ ขนาดเลก็ ซ่ึงขบกบั เฟืองฟันใน (Internal Gear) ของโรเตอร์

36

รปู ท่ี 1.29 แสดงเส้ือโรเตอร์กลาง

รูปท่ี 1.30 แสดงเสือ้ โรเตอรห์ น้า
ระบบช่วยต่างๆ ของเคร่ืองยนต์โรตารีมีลักษณะคล้ายกับเคร่ืองยนต์แบบอื่นๆ การทํางานของเคร่ืองยนต์โรตารีแบ่ง
ได้ 5 ระยะช่วง ในการทํางานจนเสร็จสมบูรณ์เมื่อ โรเตอร์ตัวหนึ่งได้หมุนครบหน่ึงรอบ (360 องศา) และเพลาเย้ือง
ศูนย์หมุนไปสามรอบ คือ 1,080 องศา ลักษณะการทํางานดงั น้ี

ระยะช่วงที่ 1: จังหวะดูด หลังจากโรเตอร์หมุนจนเปิดช่องไอดีแล้วหมุนต่อไปจะทําให้ ปริมาตรในห้องเผาไหม้
เพ่ิมข้ึน ความดันในห้องเผาไหม้จะตํ่ากว่าบรรยากาศ ไอดีจะถูกดูดเข้าห้องเผาไหม้ระยะช่วงดูดจะส้ินสุดเม่ือโรเตอร์
หมุนจนปดิ ชอ่ งไอดสี นทิ

รปู ที่ 1.31 แสดงระยะชว่ งดูด

37

รูปที่ 1.32 แสดงระยะช่วงอดั
ระยะช่วงที่ 2 : จังหวะอัด ขณะท่ีโรเตอร์หมุนผ่านช่องไอดี ปริมาตรในห้องเผาไหม้จะลดลงและความดันของไอดี
เพ่ิมข้ึน ไอดีจะถูกอัดจนมีความดันเพ่ิมข้ึน 8-10 เท่าของความดัน บรรยากาศ (800-1,000 kPa) ระยะช่วงอัดจะ
สิ้นสดุ เมอ่ื หอ้ งเผาไหม้มีปริมาตรน้อยทีส่ ุดขณะท่ีหอ้ งเผาไหม้ตรงกับหัวเทยี น
ระยะช่วงที่ 3 : จังหวะจุดระเบิด หลังจากโรเตอร์หมุนถึงจุดที่ห้องเผาไหม้มีปริมาตร น้อยที่สุดแล้ว ระบบจุด
ระเบดิ จะปอ้ นแรงดนั ไฟฟ้าแรงดันสูงไปท่หี ัวเทยี น ทาํ ให้เกิดประกายไฟสาํ หรบั การเผาไหมีไอดี

รปู ท่ี 1.33 แสดงระยะช่วงจดุ ระเบดิ

38

รปู ท่ี1.34 แสดงระยะชว่ งกําลัง
ระยะช่วงที่ 4 : จังหวะกําลัง ความร้อนท่ีเกิดจากการเผาไหม้ไอดีจะทําให้อุณหภูมิและความดันของไอดีที่เหลือ
เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว ทําให้โรเตอร์หมุนไปในทิศทางของการหมุนและทําให้เพลาเย้ืองศูนย์หมุนไปด้วย ส่วนมาก
สะสมอย่ใู นลอ้ ช่วยแรง เฟสกําลังจะสิน้ สดุ เมอ่ื ซีลทป่ี ลายโรเตอรส์ ่วนหนา้ ปิดช่องไอเสยี
ระยะช่วงที่ 5 : จังหวะคาย หลังจากชีลที่ปลายโรเตอร์เปิดช่องไอเสียเพียงเล็กน้อย ปริมาตรในห้องเผาไหม้จะ
เร่ิมลดลง ความดันจะเพิ่มข้ึนสูงกว่าความดันบรรยากาศเล็กน้อย ไอเสียจึงถูกดันออกไปทางช่องไอเสีย ผ่านเข้าท่อ
รว่ มไอเสยี หม้อพกั สบู่ รรยากาศ ระยะชว่ งน้จี ะส้ินสุด เมื่อซีลท่ีปลายโรเตอร์ส่วนหลงั ปิดชอ่ งไอเสยี สนิท

รปู ที่ 1.35 แสดงระยะชว่ งคาย
วัฏจักรการทํางานซ้ํากันทุกๆ รอบของการหมุนของโรเตอร์ หรือทุกๆ 3 รอบของการหมุน ของเพลาเยื้องศูนย์
การทาํ งานใชเ้ วลา 3/10 วนิ าทีที่อัตราเร็วรอบ 600 rpm
เคร่ืองยนต์โรตารีท่ีมีโรเตอร์ 2 ชุด และแต่ละโรเตอร์มีห้องเผาไหม้ 3 แห่ง จะให้เฟสกําลัง 2 ครั้ง ทุกๆ รอบของ
เพลาเย้ืองศนู ย์
อตั ราเรว็ ของเคร่ืองยนตข์ ้นึ อยู่กับปริมาณไอดที ีเ่ ขา้ หอ้ งเผาไหม้ ซ่งึ ควบคมุ โดยวาล์วปีกผีเสื้อซง่ึ ตอ่ กับแป้นคันเร่ง

39
การถอดแยกเคร่อื งยนต์เลก็ แกส๊ โซลีน
เครื่องยนต์จะทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องมีการบํารุงรักษา ซ่อมแซม ปรับแต่ง ชิ้นส่วนที่ชํารุดและ
เส่ือมสภาพให้ทํางานได้เป็นปกติ การถอดแยกชิ้นส่วนตรวจสอบและประกอย จะต้องปฎิบัติตามคู่มือของ
บรษิ ทั ผผู้ ลิต โดยทว่ั ไปแลว้ เครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลนี มีข้ันดอนการถอดแยกช้ินสว่ นด้งน้ี
1. ถอดฝาครอบเครื่องยนต์พร้อมชุดสตาร์ตออก ใช้ปากกายึดจับเครื่องยนต์ใว้ แล้วใช้ ไม้หมอนขัดพูลเลย์ไว้
ไม่ใหพ้ ูลเลย์หมุนได้ขณะทําการถอดคลตั ช์สตาร์ต
2. ถอดนอตยึดพูลเลย์ออกและใช้เครื่องมือดูดพูลเลย์ออก จากนั้นถอดฝาครอบชุด ทองขาว ถอดก้านทองขาว
คอนเดนเซอร์ และถอดสายไฟออกจากคอนเดนเซอร์

รปู ที่ 1.36 ถอดฝาครอบเคร่ืองยนต์

รปู ท่ี 1.37 ถอดน็อตยดึ พลู เลย์

40
รปู ท่ี 1.38 ถอดฝาครอบชดุ ทองขาว

รปู ที่ 1.39 ถอดก้านทองขาว
รปู ที่ 1.40 ถอดสายไฟออกจากคอนเดนเซอร์

41

รูปที่ 1.41 ถอดตวั กระทุ้งทองขาว

3. ถอดตวั กระทุ้งทองขาวและคอยลจ์ ดุ ระเบดิ ออก จากน้นั ปิดวาลว์ นา้ํ มันและถอดถังนํา้ มนั เช้ือเพลงิ ออก

4. ถอดกรองอากาศ ทอ่ ไอเสยี สปริงกฟั เวอรเ์ นอร์ ก้านต่อคนั เรง่ คารบ์ เู รเตอร์ออก และ ถอดตลับหายใจออก

รูปท่ี 1.42 ถอดคอยลจ์ ดุ ระเบิด

รูปที่ 1.43 ปิดวาลว์ นาํ้ มนั

รูปท่ี 1.44 ถอดกรองอากาศ

42

รูปที่ 1.45 ถอดท่อไอเสยี

รูปท่ี 1.46 ถอดสปรงิ กฟั เวอรเ์ นอร์

รูปที่ 1.47 ถอดตลบั หายใจ
5. ถอดโบลต์ถ่ายนํ้ามันหล่อลื่นออก ถอดฝาครอบห้องแครงค์ออก ถอดกระเดื่องกัฟเวอร์เนอร์ และเพลากัฟเ
วอร์เนอรอ์ อก

43

6. ถอดฝาสบู แล้วใชเ้ คร่ืองมอื ถอดสปรงิ ลิ้น และถอดล้นิ ไอดีและลิน้ ไอเสียออก
7. ดงึ เพลาลูกเบีย้ ว ลูกกระทงุ้ ลิน้ และลูกกระท้งุ ทองขาวออก แล้วจงึ ถอดกา้ นสบู ออก จากเพลาช้อเหวย่ี ง
8. ถอดลกู สูบและก้านสบู ออก โดยดงึ ลกู สูบข้ึนทางดา้ นบน หลงั จากนนั้ ถอดลกู สบู ออก จากก้านสูบ

รูปที่ 1.48 ถอดโบลต์ถา่ ยน้ํามนั หล่อลน่ื
รปู ท่ี 1.49 ถอดฝาครอบห้องแครงคอ์ อก
รูปที่ 1.50 ถอดกระเดอื่ งและเพลากัฟเวอรเ์ นอร์ออก

44

รปู ท่ี 1.51 ถอดเพลาข้อเหวี่ยง

รูปที่ 1.52 ถอดเฟอื งเพลาขอ้ เหวี่ยง

9. ถอดเพลาข้อเหวยี่ งและเฟอื งเพลาข้อเหวยี่ งออก

การตรวจสอบชน้ิ ส่วนของเครอ่ื งยนตเ์ ลก็ แก๊สโซลนี

เครือ่ งยนต์เลก็ แก๊สโชลีน โดยท่วั ไปมีข้ันตอนการตรวจสอบชน้ิ ส่วนดังน้ี

1. ตรวจดูล่ิมจะต้องไม่มีรอยบ่ินหรือหัก แล้วใช้เกจลวดขนาด 0.045 น้ิว สอดเข้าไปในช่องว่างระหว่างล้ินไฟ
เบอร์ และเรอื นตลบั หายใจ ถา้ ใชไ้ ดจ้ ะต้องสอดเขา้ ไม่ได้

รปู ท่ี 1.53 ตรวจดูล่มิ

45

รปู ที่ 1.54 เรอื นตลับหายใจ
2. ใช้ไมโครมิเตอรว์ ดั ลกู สูบ ถา้ ไม่อยูใ่ นคา่ พิกดั การซอ่ มใหเ้ ปลย่ี นลกู สบู ใหม่ โดยใช้ลกู สูบทีใ่ หญ่ขึน้
3. ตรวจสอบชดุ ลูกสบู และกา้ นลกู สบู ถา้ เกนิ ค่าตามพิกดั ตามคู่มอื กําหนดให้เปล่ียนใหม่
4. ตรวจลูกปืน โดยการหมุนลูกปนื จะตอ้ งหมนุ คล่องถ้าหมนุ สะดุดหรอื เสยี งดงั มีระยะคลอดให้เปลีย่ นใหม่
การประกอบเครื่องยนต์เล็กแกส๊ โซลนี
การประกอบเคร่อื งยนต์เล็กแก๊สโชลีน จะปฏิบตั กิ ารยอ้ นกลบั กับการถอด โดยทว่ั ไปมขี ้ันตอนดังนี้
1. ใส่ล้ินไอดีและลิ้นไอเสียเข้าไปในช่องลิ้นทั้ง 2 ช่อง ใส่สปริงล้ินและฐานรองสปริง กับเครื่องมือบีบสปริงลิ้น
บีบอัดสปริงเข้าไปจนสุด แล้วสอดเข้าไปในก้านล้ิน ใส่สลักหรือประกับลิ้น จากนั้นคลายสปริงลิ้นออกมา ให้อยู่ใน
ตาํ แหน่งทถ่ี ูกต้อง

รปู ท่ี 1.55 ใสล่ น้ิ ไอดแี ละลิ้นไอเสยี เขา้ ไปในช่องล้นิ ทั้ง 2 ชอ่ ง
2. ประกอบลูกกระทุ้งลิ้น ลูกกระทุ้งทองขาว และเพลาลูกเบี้ยว แล้วใส่เพลาฃัอเหว่ียง โดยให้เคร่ืองหมายบน
เฟืองเพลาลูกเบย้ี วตรงกับจุดเครอ่ื งหมายบนตุ้มน้าํ หนักของเพลาขอ้ เหวีย่ ง
3. ประกอบลูกสูบเข้ากับกัานสูบโดยให้เคร่ืองหมายของลูกสูบ และก้านสูบหันไป ทางด้านพูลเลย์แม่เหล็ก
ประกอบแหวนลูกสูบเข้ากับลูกสูบ โดยให้เครือ่ งหมายบนแหวนอัดอยู่ ทางดา้ นบนของลูกสูบ
4. ใช้เครื่องมือบีบรัดแหวนให้แนบสนิทในร่องแหวน โดยจัดปากแหวนอัดตัวที่ 1 และ 2 ให้อยู่เยื้องกันประมาณ
90 องศา แลว้ ประกอบลกู สบู กา้ นสบู เขา้ กับกระบอกสูบ
5. ประกอบฝาครอบกัานสูบพร้อมช้อนวิดนั้ามันเครื่องและแผ่นล็อกนอต โดยให้เครื่องหมายฝาครอบก้านสูบ

46
ตรงกับเครื่องหมายท่ีก้านสูบ ขันนอตก้านสูบด้วยแรงบิดที่กําหนดไว้ จากนั้นดัดแผ่นล็อกนอตให้แนบสนิทกับโบลต์
กา้ นสบู

6. ประกอบเพลากัฟเวอร์เนอร์และกระเดื่อง แล้วประกอบกัฟเวอร์เนอรเข้ากับฝาครอบ แล้วจึงประกอบเข้ากับ
เรือนเครือ่ งยนต์

7. ประกอบคาร์บูเรเตอร์ ก้านต่อปีกผีเสื้อและสปริงกัฟเวอร์เนอร์ แล้วปรับตั้งกัฟเวอร์เนอร์ ให้ถูกต้องแล้ว
ประกอบฝาสบู โดยขนั นอตฝาสูบตามลําดับเพือ่ ซองกันฝาสูบคดงอเม่อื ไดร้ ับความรอ้ น และไขแ้ รงบดิ ตามท่กี าํ หนด

8. ประกอบท่อไอเสีย กรองอากาศ และถังน้ํามันเชื้อเพลิง จากนั้นประกอบชุดทองขาว และต้ังระยะห่างหน้า
ทองขาวให้ถกู ด้อง แล้วจงึ ประกอบฝาครอบชุดทองขาว

9. ประกอบพูลเลย์แม่เหล็ก และขันนอตล็อกให้แน่น และประกอบคอยล์จุดระเบิด ต้ังระยะห่างคอยล์จุดระเบิด
กับพลู เลยแ์ มเ่ หล็กใหถ้ ูกด้อง

รูปที่ 1.56 ประกอบเพลากัฟเวอร์เนอร์

รูปที่ 1.57 ประกอบกัฟเวอรเ์ นอร์ฝาครอบห้องแครงค์

47
รปู ที่ 1.58 ประกอบคารบ์ เู รเตอร์
รปู ที่ 1.59 ประกอบฝาครอบชุดทองขาว
รูปที่ 1.60 ประกอบพูลย์เลยแ์ ม่เหล็ก

48

รูปท่ี 1.61 ตั้งระยะหา่ งคอรย์ จดุ ระเบิด

10. ประกอบฝาครอบเครื่องยนต์กับชดุ สตาร์ต และเติมน้าํ มนั หล่อลื่นให้ได้ระดับ แล้วตดิ เครอื่ งยนต์

คาํ ถาม

แบบทดสอบหลงั การเรียนหน่วยท่ี 1

คําสง่ั เลอื กคาํ ตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดแล้วทําเครอ่ื งหมาย x ลงในกระดาษคาํ ตอบ

1. ความดนั ภายในกระบอกสูบเป็นสุญญากาศในจงั หวะใด

ก. จังหวะคาย ข. จังหวะดดู ค. จงั หวะอดั ง. จงั หวะระเบิด

2.เคร่ืองยนต์เบนซนิ วาลว์ ไอดจี ะเปิดรับไอดีในจังหวะใด

ก. จังหวะดูด ข. จงั หวะคาย ค. จงั หวะอัด ง. จังหวะระเบิด

3.จังหวะอัดข้อใดถกู ต้อง

ก. ลกู สูบเคลอ่ื นที่ TDC ขนึ้ BDC ข. ไอดีถกู จดุ ระเบดิ ด้วยประกายไฟ

ค. ล้ินไอดีและลิ้นไอเสียปิดสนิท ง. อากาศอัดตวั เกิดการระเบิดอยา่ งรุนแรง

4.จังหวะอดั ส้นิ สดุ ลง เมื่อลกู สูบเคล่อื นทีอ่ ยา่ งไร

ก. ก่อนถงึ ศูนย์ตายบนเล็กนอ้ ย ข. อยู่จุดศนู ย์ตายบน

ค. เคลอื่ นท่ลี ง ง. อยจู่ ุดศูนยต์ ายล่าง

5.จงั หวะคาย จะส้ินสดุ เม่ือใด

ก. วาล์วไอเสียปดิ ข. วาล์วไอดีเปดิ ค. วาล์วไอดีปิด ง. วาล์วไอเสียเปดิ

6.จังหวะการทาํ งานที่ถูกต้อง คือ

ก. ดดู -อัด-ระเบิด-คาย ข. ดดู -ระเบดิ -อัด-คาย

ค. อดั -ดดู -ระเบิด-คาย ง. อัด-ระเบิด-ดูด-คาย

7.Power Stroke คอื

ก. จังหวะอัด ข. จังหวะดูด ค. จงั หวะระเบดิ ง. จงั หวะคาย

8.รอบการทาํ งานเครือ่ งยนต์ 2 จงั หวะ คอื

ก. ลูกสูบเครื่องทีข่ นึ้ 1 ครั้ง ข. ลกู สูบเคลอื่ นท่ีลง 1 ครงั้

ค. เพลาขอ้ เหวี่ยงหมนุ 1 รอบ ง. ถูกทุกขอ้

49

9. 1 กลวตั รของเครือ่ งยนต์ 4 จังหวะ ข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง

ก. ลูกสบู เคลอ่ื นท่ขี ้นึ 4 ครัง้ ข. เพลาขอ้ เหวยี่ งหมุน 2 รอบ

ค. ลกู สบู เคล่ือนทีข่ ึ้น 2 ครงั้ ง. ไดง้ าน 2 ครั้ง

10. กําลังงานการเผาไหมข้ องเครอ่ื งยนต์ดเี ซลเกดิ ในช่วงระยะใด

ก. ระยะอดั ตัวน้าํ มันเปน็ ฝอย ข. ระยะอัดตวั ของอากาศ

ค. ระยะระเบิดดันลกู สบู ใหเ้ คลอื่ นลง ง. ระยะลกู สูบใกลถ้ ึงศนู ย์ตายล่าง

เฉลยคาํ ถาม

1. ข. 2. ค. 3. ง. 4. ข. 5. ก. 6. ข. 7. ง. 8. ค. 9. ง. 10. ง.

เอกสารอ้างองิ

เฉลมิ ออ่ นอิม่ . งานเครื่องยนต์เล็ก. นนทบุรี : ศนู ย์หนังสือเมอื งไทย, 2562

ธกร อศั วสิทธิถาวร. งานเครือ่ งยนตเ์ ล็ก. กรงุ เทพฯ : บริษัทวงั อกั ษร, 2562

สมชาย วณารักษ์. งานเครอื่ งยนต์เล็ก. นนทบรุ ี : สาํ นักพมิ พเ์ อมพันธ์, 2563

50
พส.13

ใบงาน (Job Sheets)

รหสั วิชา 20101-2101 วิชา งานเคร่ืองยนตเ์ ลก็

ชอื่ หนว่ ย โครงสร้างและหลักการทาํ งานของเคร่อื งยนตเ์ ล็กแก๊สโซลนี และดเี ซล

เร่อื ง โครงสร้างและหลักการทาํ งานของเครอ่ื งยนต์เล็กแกส๊ โซลนี และดีเซล จาํ นวนชัว่ โมงสอน 14 ชม.

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ รายการเรียนรู้

- จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เคร่ืองมือ/วัสดุ-อปุ กรณ์
1.เลือกใช้เครอ่ื งมอื ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะงานได้ 1.เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการถอดประกอบ
2.ปฏิบตั กิ ารถอดประกอบชิ้นสว่ นเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน 2.เครอ่ื งยนตเ์ ล็กแกส๊ โซลีน
ได้ตามคมู่ ือ 3.โตะ๊ ตั้งเครอื่ งยนตเ์ ลก็
4.คูม่ ือซอ่ ม
- ลําดบั ข้ันการทํางาน
ขอ้ ควรระวัง
1. ตรวจสภาพเครื่องยนต์เล็กแกส๊ โซลีนท่ีจะทําการถอด ใชเ้ ครื่องมือใหถ้ กู ต้องเหมาะสมกบั งาน
2. จัดเตรยี มเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการถอดประกอบ
3. ทําความสะอาดบรเิ วณที่จะทาํ การถอด มอบงาน
4. กาเครื่องหมายท่จี ําเปน็ ตอ่ การถอด .......................................................................................
5. ถอดชิ้นสว่ นเคร่ืองยนตเ์ ลก็ ตามข้นั ตอน .......................................................................................
6. ตรวจสอบช้นิ ส่วนตา่ งๆ ทก่ี าํ หนดให้อย่ใู นสภาพ .......................................................................................
พรอ้ มทจี่ ะใช้งาน
7. ตรวจสอบความเรยี บร้อยของชิ้นงานกอ่ นนาํ เสนอ วัดผล/ประเมนิ ผล
ผลงาน .......................................................................................
8. ครผู ู้สอนพิจารณาการปฏบิ ัตใิ หค้ ะแนนตามใบ .......................................................................................
ประเมินผล .......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................


Click to View FlipBook Version