The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือศึกษาหิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nareeporn Photisard, 2019-11-11 04:17:55

คู่มือศึกษาหิน

คู่มือศึกษาหิน

-4- -1-
แร่และลกั ษณะโครงสรา้ งบางอยา่ งของหนิ สวนหนิ .....พพิ ิธภณั ฑ์ธรรมชาติวทิ ยาเกาะและทะเลไทย
แรเ่ กดิ ข้ึนตามธรรมชาติในหิน เป็นสารประกอบเชิงเคมี เขียนแทนได้ด้วยสูตรเคมี
เช่น แร่แคลไซท์ (CaCO3) แร่ควอทซ์ (SiO2) หรือแร่ฮีมาไตท์ (Hematite Fe2O3) หรือ แร่ โครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชดารฯิ โดยกองทัพเรอื
ไพโรลูไซท์ (MnO2) เปน็ ต้น โครงสรา้ งในหนิ บางครั้งบอกความเปน็ มาของหินได้ โดยหนว่ ยบัญชาการสงครามพเิ ศษทางเรือ
แรแ่ คลไซท์ (Calcite) เปราะ ไม่แขง็ มาก มดี ขูดได้แตกเป็นแผน่ สามทศิ ทาง เป็นรูป
สี่เหลยี่ มขนมเปยี กปูน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี ทรงมีพระราชดาริให้มีการศึกษา
แรแ่ มงกานสี ไพโรลไู ซท์ (Pyrolusite) (MnO2) มีสีดาเป็นมันวาวแบบโลหะ มีแร่แมงกานีส ธรรมชาติเพ่ือการอนุรักษ์เกาะและทะเลไทย ท้ังน้ีทรงให้ศึกษา “ตั้งแต่ยอดเขาถึงใต้ท้อง
ออกไซด์ประกอบอยู่ มักมองเห็นเป็นปุ่ม ๆ มน ๆ ประกบติดกันเหมือนพวงองุ่น (Botryoidal ทะเล” พิพธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตวิ ทิ ยา และสวนหินจงึ เกดิ ขน้ึ
Texture) สีดาติดมือได้เม่ือลูบเพราะไม่แข็งมาก เกิดจากการตกผลึกจากสารละลายโดยเฉพาะน้า
ทะเล เมอื่ สภาวะทางเคมีเหมาะสม ตกผลกึ แทรกเข้าไปตามชอ่ งว่างเดิมในหนิ หินเปน็ ต้นกาเนดิ ของแรเ่ ศรษฐกจิ และสาคญั มากตอ่ การศึกษาธรณีวิทยา ตัวอย่าง
โครงสร้างเตาขนมครก (Suncracks) มองเห็นเป็นหลุม ๆ คล้ายขนมครกแต่ไม่กลม หนิ จากท้ังฝ่งั ทะเลอนั ดามัน และอา่ วไทยจึงแสดงใหเ้ ห็นศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติที่ควร
เกิดจากตอนที่ตะกอนยังแข็งตัวไม่เต็มที่ เกิดการแตกแบบดินแตกระแหงนั่นเอง ต่อมาในรอย ศึกษา ปกปักรักษาเพ่ือไทยทกุ คน
แตกมีตะกอนรุ่นหลังเข้าไปตกค้างอยู่ แต่มีเน้ือที่แข็งกว่ารุ่นแรก เม่ือทั้งหมดถูกเช่ือมประสาน
เป็นหิน แล้วถูกกัดกร่อนตามธรรมชาติตะกอนเน้ือเดิมน่ิมกว่าถูกกัดออกไป เหลือตะกอนเนื้อ หนิ อคั นี (Igneous Rocks)
แขง็ ค้างไว้เป็นกรอบหลุมมีเหลี่ยม ๆ บ้างจงึ มองเหน็ เปน็ โครงสร้างเตาขนมครก
โครงสร้างร้ิวรอยของคลน่ื (Ripple Marks) ปรากฏอยู่ในหนิ ลักษณะแบบเดียวกัน เกดิ จากการเย็นตัวของ ของไหลแมกมาและลาวา ประเภทแรกเกิดจากแมกมาเย็น
ริ้วคล่ืนท่ีปรากฏบนหาดทรายปัจจุบัน เป็นส่ิงสาคัญชี้ให้เห็นว่ามีน้าหรือลม ปรากฏอยู่บน ตัวใต้เปลือกโลกช้า ๆ ตกผลึกเป็นเม็ดแร่ต่าง ๆ เนื้อหยาบ เรียกว่า หินอัคนีบาดาล
โลกเรามานานแล้ว หนิ ทราย ท่ีแสดงริ้วรอยคลื่นนี้เกิดตอนท่ีมีน้าพาตะกอนทรายมาทับถม (Plutonic Rocks) มองเหน็ เม็ดแรไ่ ดด้ ว้ ยตาเปล่า หรอื แวน่ ขยาย
นานเป็นร้อย ๆ ลา้ น ๆ ปมี าแลว้
ส่วนหินอัคนีอีกชนิดหนึ่ง เกิดจากลาวา ซ่ึงก็คือแมกมาท่ีถูกผลักพ่นข้ึนมาบน
ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 15 ส.ค.61 เปลือกโลกน่ันเอง แต่เย็นตัวเร็วมาก เรียกว่า หินอัคนีภูเขาไฟหรือหินอัคนีพุ (Volcanic
Rocks) มีเนื้อละเอียด มองแทบไม่เห็นเม็ดแร่ด้วยตาเปล่า ตัวอย่างหินอัคนีท้ังสองชนิดที่
แสดงในสวนหิน คือ

หนิ แกรนติ (Granite) เปน็ หนิ อคั นบี าดาล เนื้อหยาบ มีสว่ นประกอบเป็นแร่สีอ่อน ๆ
เช่น ขาว ชมพู ตกผลึกท่ีอุณหภูมิต่า เช่น แร่ควอทซ์ (Quartz) และแร่เฟลด์สปาร์
(Feldspar)

หินแกรนิตมักแตกออกเป็นผิวโค้งแบบเปลือกหัวหอม เพราะประกอบด้วยเน้ือแร่เป็น
เน้ือเดียวกันโดยตลอดจึงมักมองเห็นเป็นก้อน ๆ โค้ง ๆ มน หินแกรนิตมีประโยชน์มากเพราะ
เปน็ หนิ ต้นกาเนิดแร่สาคัญต่าง ๆ ของประเทศไทย เช่น ดีบกุ ทอง สังกะสี ฟลอู อไรท์ ฯลฯ

-2- -3-
หินบะซอลท์ (Basalt) เย็นตัวเร็วมากจากลาวาที่พ่นขึ้นมาบนเปลือกโลก หินปูนเป็นแหล่งแร่ – หินเศรษฐกิจของประเทศเพราะนาไปใช้กับสิ่งก่อสร้าง
ประกอบด้วยแร่เน้อื ละเอียดสดี าคลา้ มองไม่เห็นเมด็ แร่ ตกผลกึ ท่ีอุณหภมู ิสงู ๆ ทงั้ หลาย เชน่ ถนนหนทาง ผสมปนู เปน็ คอนกรีต
บางคร้ังหินบะซอลท์แตกออกเป็นหก – ห้าเหล่ียม และลึกลงไปทาให้มีรูปร่าง
ปรากฏ เหมือนเสา (Columnar Basalt) เพราะเย็นตัวเร็วมาก มักเป็นแหล่งท่องเที่ยว หินตะกอนโดยรวมมีลักษณะสาคัญคือเป็นชั้น ๆ เกิดจากมีการเปลี่ยนสภาวะ
เพราะรปู รา่ งแปลก หินบะซอลทท์ จ่ี ันทบุรี ตราด และกาญจนบรุ ี สาคญั สาหรับประเทศไทย แวดล้อมตอนนาตะกอนมาตก จึงเกิดลักษณะชั้น ๆ แตกต่างกัน บางครั้งหินตะกอนมีเม็ด
มาก เพราะลาวาพาเอาหินท่ีมีแร่พลอย (Corundum) ข้ึนมาได้พลอยทับทิมสยาม และ กลมมน เพราะเม็ดตะกอนถูกพดั พามากบั น้าขดั สีกันจนเกิดเปน็ ลกั ษณะมน ๆ
ไพลนิ เปน็ แร่เศรษฐกจิ
หินอัคนี เมื่อปรากฏบนผิวโลกไม่มีรูปร่าง โครงสร้างหรือช้ัน ๆ อันใดเฉพาะตัว หินแปร (Metamorphic Rocks)
มองเห็นเปน็ กอ้ น ๆ โผล่ขึน้ มาทงั้ ลูก
เกิดจากหินดั้งเดมิ เป็นหนิ อะไรกไ็ ดถ้ กู กระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกบีบ
........................................................................... อัด จนทาให้แปรสภาพท้ังโครงสร้าง และเนื้อแร่ ทาให้มีลักษณะเป็นริ้ว ๆ ลาย ๆ สองใน
หลาย ๆ ตวั อย่างของหนิ แปรท่ีสาคญั คอื
หนิ ตะกอน (Sedimentary Rocks)
หินไนส์ (Gneiss) มองเหน็ เปน็ รว้ิ ลายสลับระหว่างแร่สีขาวและแร่สีดา
มีสองชนิด ชนิดแรกเกิดจากการรวมตัวกันของเม็ดตะกอนท่ีถูกพัดพามากับน้า หนิ เมตาคอนโกลเมอเรต (Meta – conglomerate) เปน็ จดุ เดน่ ของสวนหินน้ี เกิด
คลื่นหรือลม แล้วมีการเชื่อมประสานแข็งตัว มองเป็นช้ัน ๆ บางทีเรียกหินชั้น เรียกว่า จากหนิ กรวดมนเดมิ ถูกบบี อัดด้วยแรงภายในเปลือกโลก ทาให้เกิดเป็นริ้วลาย จะมองเห็น
หนิ ตะกอนเนือ้ ประสม (Clastic Rocks) ซ่ึงมแี สดงหลายตัวอยา่ ง เช่น การเรียงตัวของเม็ดหินขนาดใหญ่ลีบมน เพราะโดนแรงบีบ เป็นหลักฐานสาคัญให้เห็นว่า
โลกเรามไิ ด้อย่นู ง่ิ ๆ แตม่ กี ารไหวตัวบบี อดั ตลอดเวลาจนเม็ดหนิ แบนลบี
หินทราย (Sandstone) ประกอบด้วยเมด็ ตะกอนขนาดทราย
ลักษณะเด่นของหินทรายในสวนหินน้ี คือ การเกิด ช้ันเฉียงระดับ (Crossed ลกั ษณะสาคัญของหินแปร คือการมีร้ิวลาย (Foliation) มองเห็นเป็นแถบ ๆ ร้ิว ๆ
Bedding) เกิดจากตัวการท่พี ดั พามาเปลย่ี นทิศทาง เช่น เปล่ยี นทางนา้ ไหล ลมเปล่ียนทิศ ลาย ๆ หรือแบบลอนคล่ืน แรป่ ระกอบเปน็ แผ่น ๆ เพราะถกู แรงบีบอัด ทาให้แร่วางเรียงกัน
หินกรวดมน (Conglomerate) ประกอบด้วยเม็ดตะกอนต่างขนาดลักษณะมน ซ้อนกันเป็นแผ่น ๆ บางครั้งมองเห็นผิวหน้าเป็นมัน บ่อยคร้ังที่เห็นเม็ดหิน หรือแร่ที่
เพราะถูกพดั พามาโดยนา้ แรง ๆ ประกอบลบี แบนเพราะถกู แรงบีบอดั
หินตะกอนชนิดที่สองเรียกหินตะกอนเคมี เกิดจากการตกตะกอนเชิงเคมีจาก
สารละลาย เชน่ นา้ ทะเล เม่ือสภาวะเชิงเคมี เชน่ อุณหภมู ิ ความเข้มข้นเหมาะสม ก็ตกผลึก
ลงมาเนือ้ ละเอียดมาก เชน่ หินปนู (Limestone) ประกอบด้วยแร่แคลไซท์เป็นหลัก หินปูน
ทดสอบดว้ ยการหยดกรดเกลือเจือจาง จะเกิดฟองฟู่ของกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์


Click to View FlipBook Version