The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by artitaya13445, 2021-11-04 02:47:50

120_วัฒนธรรมไทย

120_วัฒนธรรมไทย

วฒั นธรรมไทย
Thai Culture

เสนอ ผชู วยศาสตราจารย ดร.สุรชยั ภทั รดิษฐ ภูมภิ กั ดเิ มธี

ความหมายของวัฒนธรรม
วัฒนธรรม ตรงกับคําภาษาอังกฤษวา “culture” มาจาก
ภาษาลาติน คือ cultura ซึ่งแตกมาจากคําวา colere หมายถึง การ
เพาะปลกู และบํารุงใหเ จรญิ งอกงาม(cultivate)

ในสังคมไทยคําวา วัฒนธรรม ไดถูกนิยามโดยรากศัพท
ภาษาบาลแี ละ
สันสกฤต คําวา วฒฒน (วัฒน) หมายถึง ความเจริญงอกงาม สวน
ธรม (ธรรม) หมายถึง ความดีความงาม กฎระเบียบ ขอปฏิบัติเม่ือ
รวมเปน วัฒนธรรม หมายถงึ ความดี

วัฒนธรรมในความหมายทางสังคมวิทยา
1. วัฒนธรรม เปนวิถีชีวิตของมนุษย (Style of life/ the
way of life) ทเี่ กดิ จากการเรียนร-ู สง่ั สอน

2. วัฒนธรรม คือ ทุกสิ่งทุกอยาง (Everything in the
World) ทีม่ นุษยส รางขึน้

สรุป วัฒนธรรม คือทุกสิ่งทุกอยางที่มนุษย สรางขึ้นจาก
กระบวนการเรียนรูของมนุษย ไดแก การรูจักคิด รูจักใช รูจักถายทอด
ซึ่งเปนลักษณะสําคัญท่ีทําใหมนุษยมีความแตกตางจากสัตว เพราะวา
สิ่งที่สัตวก ระทาํ ถอื วา เปน สญั ชาตญาณ มใิ ช การเรยี นรู

ความสาํ คัญของวัฒนธรรม

1. เพื่อสนองความตอ งการพืน้ ฐาน ไดแก
ปจ จยั 4 ในการครองชพี

2. เพื่อความเรยี บรอ ยของสงั คม ไดแ ก การปกครอง
3. เพอ่ื ผลทางจติ ใจ ไดแ ก ศาสนา
4. เพ่ือความสดชื่นในชวี ิต ไดแ ก สุนทรียภาพ
5. เพื่อการสือ่ สารความรู ไดแ ก การศึกษา

เง่อื นไขสาํ หรับพัฒนาการวฒั นธรรม

1. มีเสรีทไ่ี มตอ งตอบสนองตอสิง่ แวดลอมโดยสญั ชาตญิ าณ
2. ความสามารถในการเรยี นรู
3. การคดิ ออกมาเปนสัญลักษณ
4. มภี าษา
5. สามารถประดษิ ฐส ง่ิ ใหม (Invention)

ประเภทของวัฒนธรรม

วัฒนธรรมแบงเปน 2 ประเภท คือ
1.Material Culture : รูปธรรม หรือ วัตถุธรรม

เปนวัฒนธรรมท่สี มั ผัสได (tangible culture)
2.Non-material Culture : นามธรรม เปน

วฒั นธรรมท่สี ัมผสั ไมได (intangible culture) หรือวัฒนธรรมที่
ไมใ ชว ตั ถุ เชน สถาบันทางสงั คม คานยิ ม ภาษา ฯลฯ แบงเปน

2.1 คติธรรม เก่ียวของกับคุณงามความดี จิตใจ
หรอื คุณธรรมในชีวติ

2.2 เนตธิ รรม เก่ยี วกับประเพณแี ละกฎหมาย
2.3 สหธรรม เกี่ยวของกับมารยาทในการอยู
รวมกันในสังคม

สาเหตุของการเกดิ วัฒนธรรม

การเกิดวฒั นธรรมมีสาเหตมุ าจากความตองการของมนุษย 3 ประการ คอื
1. ความตองการที่จะไดรับการตอบสนองทางชีววิทยา (biological

needs) ซ่ึงเปนความตองการพื้นฐาน คือ ปจจยั 4
2. ความตองการทางสังคม (social needs) เนื่องจากการอยูรวมกัน

ของคน การแบงหนาที่การรวมมือกันแกไขปญหาพื้นฐาน กอใหเกิดวัฒนธรรม
คือ การจดั ระเบยี บทางสังคม (social organization)

3. ความตองการทางจิตใจ (psychological needs) ซึ่งวัฒนธรรม
ทมี่ าตอบสนองความตอ งการ คือ ระบบความเชอ่ื (ลทั ธ/ิ ศาสนา)

ลักษณะของวัฒนธรรม
1. เกิดจากการเรียนรู คิดคนของสมาชิกในสังคม : ไมไดเกิดตาม
สญั ชาตญาณแตเ กดิ จากการอยูร วมกันของมนุษย

2. มีการถายทอดจากรนุ สรู นุ : socialization
3. เกิดขน้ึ เพ่อื สนองความตองการของคนในสงั คม
4. วัฒนธรรมมีความหลากหลายแตกตางกัน เพราะแตละสังคมมี
สภาพแวดลอมแตกตางกนั เชน วฒั นธรรมชาวเขา ชาวเลชาวนา
5. เปนแบบแผนในการดํารงชีวิตอยูรวมกัน : สรางความเปนเอกลักษณของ
สงั คมนั้นๆ
6. มีการเปล่ียนแปลงและปรับปรุงอยูเสมอ : เกิดจากการประดิษฐคิดคน
การยมื ผสมผสาน และการแพรก ระจายวฒั นธรรม
7. วัฒนธรรมมีท้ังระดับใหญและระดับรอง หมายถึง วัฒนธรรมโลก
กําหนดใหเปน อารยธรรม วัฒนธรรมประจําชาติ วัฒนธรรมทอ งถ่นิ

ลกั ษณะสําคัญของวฒั นธรรมไทย
1. นับถอื ระบบเครอื ญาติ มคี า นยิ มเคารพผูอ าวุโส
2 . ยึ ด ถื อ ใ น บุ ญ กุ ศ ล เ ช่ื อ ใ น ก ฎ แ ห ง ก ร ร ม ต า ม ห ลั ก
พระพุทธศาสนา มไี มตรีจติ ตอ ผูอ นื่ ชอบทําบุญตามโอกาสสาํ คัญของชวี ติ

3. มีแบบแผนพธิ กี รรมในการประกอบกิจการหรือประเพณีตางๆ
ตง้ั แตเกิดจนตาย

4. มวี ถิ ีชวี ติ เกษตรกรรม ยอมรบั ความสําคญั ของธรรมชาติ
5. นยิ มความสนุกสนาน ดําเนินชีวิตแบสบายๆ
6. เปนวัฒนธรรมแบบผสมผสาน (ไทย จีน ฝรงั่ แขก ฯลฯ)
7. ยึดม่ัน จงรกั ภกั ดี เทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตริย

ความแตกตางระหวา งวัฒนธรรมไทยและสากล
วัฒนธรรมสากล คือวฒั นธรรมทเ่ี กิดขึน้ จากสงั คมอน่ื แตมีความนิยมท่ัวไปใน
นานาประเทศ เชน การแตงกายสากล การเลนกฬี าและดนตรสี ากล เปน ตน ซ่งึ ปกติ
แลวมบี อเกดิ จากวัฒนธรรมตะวันตก แตค นไทยรับเอามาเปนสวนหนง่ึ ของวัฒนธรรม
ไทย เพราะสังคมไทยเปนสังคมยอยสังคมหนึ่งของโลก การทจี่ ะติดตอกับคนตางชาติ
จําเปน ตองมีการประพฤตปิ ฏิบตั ติ อ กันอยา งผสมกลมกลืน

การปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมไทย

สาเหตุที่ตอ งมกี ารปรับปรุงเปล่ยี นแปลงวัฒนธรรม มดี งั นี้
1. การคิดคนวิทยาการและการแสวงหาผลประโยชนจากตางชาติ : ประเทศท่ีตอง
พ่ึงพาวิทยาการจากตางประเทศ จําเปนตองรูเทาทันวัฒนธรรมตางประเทศดวย เพื่อ
นาํ ไปปรับปรุงใหเหมาะกบั วัฒนธรรมของตน และปอ งกนั การครอบงาํ ของตางชาติ
2. กระแสโลกาภวิ ตั น( globalization)

1) ขอมูลขาวสารจากตางประเทศ : ขอมูลขาวสารอาจจะมีสาระท่ีเปน
อันตรายตอความเชื่อและพฤติกรรมของเยาวชน กอใหเกิดคานิยมฟุงเฟอ การมี
เพศสัมพนั ธก อนวยั อนั ควร

2) ลัทธิบริโภคนิยม ไดแก อาหาร การแตงกาย การใชอินเทอรเน็ต การ
บริโภคขอมูล ขาวสารจากความกาวหนาทางเทคโนโลยี และการคาขายทาง
อิเล็กทรอนิกส ทําใหเกิดการหมกมุนตอสื่ออิเล็กทรอนิกส แตงกายลอแหลม ความ
รุนแรงละเมดิ ซ่ึงกนั และกนั บรโิ ภคอาหารขาดคุณคาทางโภชนาการ

การเลือกรับวัฒนธรรม

หลกั ในการเลอื กรับวัฒนธรรม
1. ศึกษาวัฒนธรรมไทยใหเขา ใจตนเอง : เพ่อื สรางภูมคิ มุ กนั

ใหคนไทยใหเ ขา ถึงและเขา ใจวัฒนธรรม ภูมิปญ ญา อนั เปน มรดกของชาติ
2. เรียนรูวฒั นธรรมสากล : เพ่อื รเู ทาทันโลก เชน ภาษา

เทคโนโลยี ฯลฯ
3. เลอื กรบั วัฒนธรรมสากลในกระแสโลกาภวิ ัตนท ่เี ปน

ประโยชน : รับวิทยาการ ความเจริญตางๆ ควรศึกษาผลกระทบท่เี กดิ ให
รอบดานเปนไปเพ่ือประโยชน ความสมานฉนั ทข องสังคมโดยรวม

4. ปรับใชใหเหมาะสมกบั บรบิ ททางสงั คม : รักษาความเปน
ตวั ของตวั เองปรับใหเขา กบั ตน ไมใชก ารลอกเลียนแบบ

เอกสารอางองิ

รุจนห า เรอื นทรง. (ม.ป.ป). วัฒนธรรมไทย. [ออนไลน] . แหลงท่ีมา :file:///C:/Users/Hp/Downloads/7soc.pdf

ผจู ดั ทาํ

นางสาวอาทิตยา สขุ สานต

รหัสนักศึกษา 6340109120
ชั้นปที่ 2 หมู 1 คณะครศุ าสตร สาขาสงั คมศกึ ษา


Click to View FlipBook Version