The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดการเรียนรู้ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ชุดที่ 5 เรื่อง ตะลุยยุคสมัยประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by minmintrapunn, 2021-12-22 22:22:23

ชุดที่ 5 เรื่องตะลุยยุคสมัยประวัติศาสตร์

ชุดการเรียนรู้ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ชุดที่ 5 เรื่อง ตะลุยยุคสมัยประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

Keywords: ชุดที่ 5

ชดุ การเรยี นรู้

การแบ่งยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์

สำหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1

รายวิชาประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

จดั ทำโดย

นำงสำวมนิ ตรำ ปัญญำภู

ครกู ล่มุ สำระสงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม

โรงเรยี นพระธำตพุ ิทยำคม
อำเภอเชยี งกลำง จงั หวดั นำ่ น

สังกัดสำนักงำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำนำ่ น



ชุดการเรียนรู้เรื่อง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 1 ซึ่งใช้ประกอบการเรียนรู้ในหน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1 ช่วงเวลาและการแบ่งช่วงสมัยทางประวัติศาสตร์ ผู้จัดทำสร้างขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอน
ในรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 1 โดยชุดการเรียนรู้เล่มนี้ ประกอบไปด้วย คำนำ สารบัญ มาตรฐานการเรียนรู้
ขั้นตอนการใช้ชุดการเรียนรู้ คำชี้แจงสำหรับครู คำชี้แจงสำหรับนักเรียน บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม
แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้จัดทำจึงได้จัดทำชุดการเรียนรู้
เรื่อง การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยชุดการเรียนรู้
ทัง้ หมด 5 ชดุ คือ

ชุดที่ 1 เร่อื ง ย้อนอดตี ยคุ สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์
ชดุ ท่ี 2 เรือ่ ง ผจญภยั ไปกับมนษุ ยย์ คุ หนิ
ชดุ ที่ 3 เร่อื ง ผจญภัยในยคุ โลหะ
ชุดท่ี 4 เร่อื ง ผจญภยั ในยุคสมยั ตามแบบแผนการดำรงชวี ติ และลักษณะสงั คม
ชดุ ท่ี 5 เรอ่ื ง ตะลยุ ยุคสมัยประวัตศิ าสตร์
ชุดการเรียนรู้เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแบ่งยุคสมัย
ทางประวัติศาสตร์อย่างถูกต้อง และสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้รับจากการศึกษาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันได้
และเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้
ด้วยตนเองได้ใช้ทักษะต่าง ๆ ในการแสวงหาความรู้ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการชี้แนะแนวทาง เพื่อให้นักเรียน
เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งชุดการเรียนรู้ ยังช่วยลดภาระหน้าที่ของครูในการเตรียมการสอน
ทำใหค้ รูมีเวลาเตรียมตัวในด้านเน้อื หามากยิง่ ข้นึ จงึ ทำให้สามารถจดั การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
ในการจัดทำชุดการเรียนรู้ในครั้งนี้ได้รับความช่วยเหลือและสนับสนุนอย่างดียิ่ง จากผู้อำนวยการ
โรงเรียนพระธาตุพิทยาคม ดร.พัทธนันท์ พิพิธนวงค์ ท่ีกรุณาให้คำแนะนำเป็นที่ปรึกษาและช่วยตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งจนกระทั่งการทำชุดการเรยี นรชู้ ุดนส้ี ำเรจ็ ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี ทงั้ นี้ผจู้ ัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าชุดการ
เรียนรู้ เร่อื ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ เล่มน้ที ้ังเนอ้ื หา ส่ือ ตลอดจนขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ท่ีผจู้ ัดทำได้รวบรวม
ไวใ้ นชุดการเรียนรนู้ จี้ ะเป็นประโยชนต์ อ่ ผเู้ รยี นและครูในการพฒั นากิจกรรมการเรียนการสอนต่อไป

มินตรา ปญั ญาภู

เร่อื ง ข

คำนำ หน้า
สารบัญ
มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด ก
จุดประสงค์การเรียนรู้ ข
สาระการเรียนรู้ 1
ขั้นตอนการใช้ชดุ การเรยี นรู้ 2
คำช้แี จงสำหรับครู 3
คำชีแ้ จงสำหรบั นักเรียน 4
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 5
กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 6
ชดุ การเรยี นรู้ ชดุ ที่ 4 เรื่อง ตะลยุ ยคุ สมยั ประวัตศิ าสตร์ 7
บัตรเน้อื หาท่ี 1 เร่ือง ตะลยุ ยุคสมยั ประวตั ศิ าสตร์ 9
บัตรกจิ กรรมชดุ ที่ 1 10
บตั รกิจกรรมชุดท่ี 2 11
แบบทดสอบหลังเรยี น 25
กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน 26
ภาคผนวก 27
เอกสารอ้างองิ 29
30
58

1

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์
สามารถใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ

ตวั ชี้วัด

ส 4.1 ม.1/1 วเิ คราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์

2

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ดา้ นความรู้ (K)
1. นักเรียนจำแนกการแบ่งยุคสมยั ประวัติศาสตร์ท้ังการแบ่งแบบไทยและแบบสากลได้

ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P)
1. นักเรยี นเขียนอธบิ ายการแบง่ ยุคสมยั ประวตั ิศาสตร์ได้

ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมีกระบวนการทำงานกล่มุ เรอ่ื งการแบ่งยุคสมยั ประวัตศิ าสตร์

3

สาระการเรยี นรู้

1. การแบง่ ช่วงเวลาสมยั ประวัตศิ าสตร์
1.1 การแบ่งช่วงเวลาตามแบบไทย
1.2 การแบ่งชว่ งเวลาตามแบบสากล

4

ผ้จู ัดทำชุดการเรียนรู้ ควรศึกษาข้ันตอนในการใช้ชดุ การเรียนรู้ ให้เขา้ ใจ ดงั นี้
1. นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรื่อง ตะลุยยคุ สมยั ประวัตศิ าสตร์ จำนวน 10 ข้อ
2. ครอู ธบิ ายวธิ ีการเรียนด้วยชุดการเรียนรูใ้ ห้ชดั เจน
3. ครูชแี้ จงบทบาทของนักเรียน ให้นักเรียนเข้าใจบทบาทของตนเองในการดำเนนิ กจิ กรรมการ
เรียนรู้ในแต่ละชดุ การเรยี นรู้
4. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามเก่ยี วกบั วิธี ข้ันตอน หรือบทบาทของนกั เรียนตลอดจนขอ้
สงสยั อน่ื ๆ
5. ครูดำเนินการจดั กจิ กรรมตามทกี่ ำหนดไว้ในแผนการจดั การเรยี นรู้ เพือ่ กระต้นุ ให้นักเรยี นเกดิ
ความสนใจในเนือ้ หาทกี่ ำลงั เรยี น
6. นักเรียนทำกจิ กรรมตามขั้นตอนการจดั การเรียนรู้ตามท่ีกำหนดไว้ในแต่ละแผนการจัดการ
เรยี นรู้
7. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื ง ตะลุยยุคสมยั ประวัติศาสตร์ จำนวน 10 ข้อ

5

ส่งิ ที่ครคู วรปฏิบตั ิ กอ่ น – หลัง และขณะจัดการเรียนรดู้ ว้ ยชดุ การเรียนรู้ เรอ่ื ง ตะลยุ ยคุ สมยั ประวัติศาสตร์ มดี ังนี้
1. ครูควรศึกษาและทำความเขา้ ใจวิธีการใช้ชุดการเรียนรู้ ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม การใช้สื่อและ
อุปกรณ์ รวมทัง้ วิธวี ดั ผลและประเมนิ ผลของชุดการเรยี นรู้ด้วยตนเองใหช้ ดั เจน
2. ครูควรค้นคว้าและอ่านเนื้อหาที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน คู่มือครู และหนังสือเสริม
ประสบการณ์ต่าง ๆ ในเรื่อง การแบ่งช่วงเวลาสมัยประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เพือ่ ใหม้ คี วามรคู้ วามแมน่ ยำในเนอ้ื หาใหม้ ากยง่ิ ขึ้น
3. ครูควรเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ล่วงหน้า และเตรียมสถานที่ตลอดจนสื่อต่าง ๆ ให้พร้อม
ก่อนใช้ชุดการเรยี นรู้
4. ครตู อ้ งเตรียมส่อื ตา่ ง ๆ ทกี่ ำหนดไวใ้ นแผนการจัดการเรียนรู้แตล่ ะแผน
5. ครคู วรตรวจวัสดอุ ุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทมี่ อี ยใู่ นชุดการเรียนร้ใู ห้เรียบรอ้ ยทง้ั ก่อนและหลงั ใชช้ ุดการเรียนรู้
ว่ามีจำนวนครบตามที่ระบไุ ว้หรอื ไม่ถ้าไมค่ รบหรือชำรุดรีบทำการแก้ไข
6. ครูควรแนะนำใหน้ ักเรยี นอ่านทำความเข้าใจคำแนะนำสำหรบั นักเรยี นให้เขา้ ใจ
7. ในขณะนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ครูควรให้การดูแลอย่างทั่วถึง และให้คำแนะนำกรณีที่นักเรียน
ไมเ่ ข้าใจในกจิ กรรมตา่ ง ๆ และพยายามกระตุน้ ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยตนเองใหม้ ากทสี่ ดุ
8. หลังจากเรียนจบแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ครูและนักเรียนควรร่วมกันสรุปผลการใช้ชุดการ
เรียนรู้ตลอดจนปัญญาและข้อเสนอแนะ หลังการใช้ชุดการเรียนรู้แต่ละครั้ง เพื่อนำไปปรับปรุง
ในการใช้คร้งั ตอ่ ไป

6

1. ชุดการเรียนรู้ เรื่อง ตะลุยยุคสมัยประวัติศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 นักเรียนสามารถ
เรียนตามความสามารถและปฏิบัติตามขั้นตอนอย่างเคร่งครัด ในชุดการเรียนรู้มีกิจกรรมให้นักเรียน
ทำและนกั เรยี นศกึ ษาเนื้อหาจากบตั รเนือ้ หาของชุดการเรยี นรู้ในแตล่ ะเรอ่ื ง
2. นักเรียนควรทำความเข้าใจก่อนว่า ชุดการเรียนรู้ไม่ใช่การทดสอบแต่มุ่งให้นักเรียนเรียนรู้ด้วย
ตนเองตามความสามารถ
3. นักเรียนควรมีสมาธิและความซื่อสัตย์ต่อตนเองในขณะศึกษาบัตรเนื้อหา อ่านบัตรเนื้อหาให้
ละเอียดถถี่ ้วนอยา่ งนอ้ ย 2 รอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเน้อื หา
4. ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาชุดการเรียนรู้ ควรทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้พื้นฐานและ
ทำแบบทดสอบหลังเรียน โดยใช้เวลาประมาณ 15 นาที เมื่อนักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาจบแล้วพร้อม
ตรวจคำตอบกบั เฉลยเพือ่ ทราบความก้าวหนา้ ของนักเรยี น
5. นักเรียนฝึกทำบัตรกิจกรรมที่ประกอบไปด้วยใบงานต่าง ๆ จากการศึกษาและเรียนรู้จากชุดการ
เรียนรู้ในแตล่ ะเรอ่ื ง พรอ้ มกบั ตรวจคำตอบจากบตั รเฉลยกิจกรรมในแต่ละเรอ่ื งดว้ ยตนเอง
6. เมื่อนักเรียนได้ศึกษาและทราบผลความก้าวหน้าของตนแล้ว ให้เก็บเอกสาร หรือสิ่งของต่าง ๆ
ทนี่ ำมาใช้ในการเรียนใหเ้ รียบร้อย เพอ่ื พรอ้ มที่ผอู้ ่นื จะนำไปศึกษาไดต้ ่อไป

7

คำชแ้ี จง แบบทดสอบกอ่ นเรียน

1. แบบทดสอบเป็นปรนยั แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลือก มีจำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ให้นักเรียนทำเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคำตอบที่ถกู ต้องเพยี งคำตอบเดียว
3. ใชเ้ วลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 15 นาที

1. ข้อใดกล่าวถกู ต้อง

ก. ยุคเหลก็ อยูใ่ นสมัยประวตั ิศาสตร์ ข. สมัยประวตั ศิ าสตรเ์ ริ่มเมื่อมนษุ ย์รจู้ กั ประดษิ ฐ์อกั ษร

ค. ประวัตศิ าสตร์สมยั ใหมเ่ ป็นการแบง่ ตามแบบไทย ง. การแบง่ สมยั ตามอาณาจกั รเปน็ การแบง่ ยุคตามสากล

2. หลักฐานในข้อใดทแ่ี สดงให้เห็นว่าดินแดนประเทศไทยเร่ิมเขา้ สู่สมัยประวตั ิศาสตร์

ก.จารึกศรีเทพ ข. จารึกวัดศรชี มุ

ค. จารึกปราสาทเขาน้อย ง. ศิลาจารึกสุโขทยั หลักที่ 1

3. เหตกุ ารณส์ งครามโลกครง้ั ที่ 1 พ.ศ. 2457-2461 อยู่ในช่วงสมยั ใด

ก. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ข. ประวตั ิศาสตรส์ มยั ใหม่

ค. ประวัตศิ าสตร์สมยั กลาง ง. ประวัตศิ าสตร์รว่ มสมัย

4. การแบง่ ยุคสมัยออกเป็นสมัยสโุ ขทยั อยุธยา ธนบรุ ี และรัตนโกสินทร์ จะตรงกบั หลักการแบง่ ในข้อใด

ก. แบ่งตามรัชกาล ข. แบง่ ตามราชวงศ์

ค. แบง่ ตามอาณาจักรและแบ่งตามราชธานี ง. แบ่งตามการเปลีย่ นแปลงทางการเมือง

5. ปัจจุบนั ประเทศไทยมีกรงุ เทพมหานครเป็นราชธานี จดั อยใู่ นสมยั ใด

ก. สมัยสโุ ขทยั ข. สมัยอยุธยา

ค. สมยั ธนบรุ ี ง. สมัยรัตนโกสนิ ทร์

6. ประวัตศิ าสตร์สมยั ใด เป็นช่วงเวลาทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงอารยธรรมตะวันตกจากอารยธรรมโรมนั ไปสอู่ ารยธรรม

ครสิ ตศ์ าสนา

ก. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ข. ประวัติศาสตร์สมยั ใหม่

ค. ประวตั ศิ าสตร์สมยั กลาง ง. ประวัติศาสตรร์ ่วมสมยั

7. โคลอสเซยี มเป็นสถาปัตยกรรมที่มชี อื่ เสียงของโรมัน เปน็ ส่ิงหนง่ึ ทแ่ี สดงให้เห็นความรงุ่ เรืองของประวัตศิ าสตรส์ มยั ใด

ก. ประวัติศาสตร์สมยั โบราณ ข. ประวัตศิ าสตรส์ มัยใหม่

ค. ประวตั ศิ าสตร์สมัยกลาง ง. ประวัตศิ าสตร์รว่ มสมยั

8

8. สงครามเยน็ เกดิ ขนึ้ ตรงกับยุคสมัยใดทางประวตั ศิ าสตร์

ก. ประวัตศิ าสตร์สมัยโบราณ ข. ประวตั ิศาสตรส์ มัยใหม่

ค. ประวตั ิศาสตรส์ มัยกลาง ง. ประวตั ศิ าสตรป์ จั จบุ นั หรอื รว่ มสมยั

9. เกิดการการสำรวจทางทะเล การปฏวิ ตั ทิ างวิทยาศาสตร์ การปฏวิ ัติอตุ สาหกรรม การกำเนิดแนวคิดทาง

การเมืองใหม่ (เสรนี ยิ ม ชาตนิ ิยม และประชาธิปไตย) คือยคุ สมยั ใดทางประวัติศาสตร์

ก. ประวตั ศิ าสตรส์ มยั โบราณ ข. ประวัติศาสตร์สมยั ใหม่

ค. ประวัติศาสตรส์ มัยกลาง ง. ประวตั ศิ าสตร์ปัจจบุ นั หรอื ร่วมสมัย

10. การแบง่ ออกเปน็ ยคุ สมยั จะแบง่ อยา่ งกว้าง ๆ ออกเปน็ สมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ และสมยั ประวตั ศิ าสตร์

ถือว่าเปน็ การแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ของไทยในแบบใด

ก. แบง่ ตามสมัย ข. แบ่งตามอาณาจักร

ค. แบ่งตามราชวงศ์ ง. แบง่ ตามการเมอื งการปกครอง

9

กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน
เร่อื ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์

(ยคุ สมยั ประวัตศิ าสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย ()
ลงในชอ่ งให้ตรงกบั ขอ้ ที่นักเรียนเลือกตอบ

ชื่อ……………………………………นามสกุล…………………………………ช้นั …………เลขท…ี่ …..

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

รวมคะแนนท่ไี ด้

10

สาระสำคญั

สมัยประวัติศาสตร์เริ่มเมื่อมนุษย์รู้จักคิดประดิษฐ์ตัวอักษรบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ และได้มีพัฒนาการ
ทางสงั คมขน้ึ เป็นลำดับ โดยรวมกนั เปน็ หมู่บ้าน ชุมชนเมอื ง และเจริญรุ่งเรืองข้ึนเป็นแว่นแคว้นหรืออาณาจักร
ดินแดนที่เป็นประเทศไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์เมื่อปลายพุทธศตวรรษที่ 12 จากการค้นพบศิลาจารึก
ซึง่ บอกเลา่ เรอ่ื งราวเกี่ยวกับชมุ ชนในดนิ แดนไทยในช่วงเวลาน้นั

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (K)
(P)
1. นักเรียนจำแนกการแบ่งยคุ สมัยประวัตศิ าสตร์ท้งั การแบง่ แบบไทยและแบบสากลได้ (A)
2. นักเรียนเขียนอธบิ ายการแบง่ ยุคสมยั ประวัตศิ าสตรไ์ ด้
3. นักเรียนมกี ระบวนการทำงานกลุ่ม เรอ่ื งการแบง่ ยุคสมยั ประวตั ศิ าสตร์

11

ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์

ในการศึกษาประวัติศาสตร์จะมีความเกี่ยวข้องกับเวลา เพราะประวัติศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราว
ในอดีตของมนุษย์ โดยศึกษาว่ามนุษย์มีวิถีชีวิตอย่างไร มีความคิดอะไร มีผลงานใดบ้างและการสร้างสรรค์
ผลงานนั้นไดม้ ผี ลกระทบต่อพัฒนาการของมนุษย์ในอดีตและปัจจุบันอย่างไร จงึ อาจกล่าวได้ว่าการดำเนินชีวิต
ด้านต่าง ๆ ของมนุษย์อยู่ภายใต้เงื่อนไขของเวลามาโดยตลอด แต่การที่มนุษย์สามารถสื่อสารกันได้เรื่องเวลา
กเ็ พราะมนุษย์มีความเข้าใจพืน้ ฐานเก่ียวกบั ระบบการบอกเวลาตรงกัน

ในสมัยประวัติศาสตร์ไทยที่มีระยะเวลาหลายร้อยปี และเกิดเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
ที่สำคัญมากมาย นักประวัติศาสตร์จึงได้กำหนดช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ขึ้นเพื่อให้ง่าย
แก่การจดจำ เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์ตรงกัน และเพื่อให้รู้ลักษณะเด่นของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์นั้น ๆ
ตลอดจนให้ความสำคัญต่อปีศกั ราชโดยกำหนดเวลาเป็นพทุ ธศักราช (พ.ศ.) จลุ ศักราช (จ.ศ.) เป็นตน้

สำหรับการกำหนดยุคสมัยทางประวัติศาสตร์จะกำหนดตามลักษณะเด่นของเหตุการณ์
เช่น เมื่อกล่าวถึงช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่มีตัวหนังสือใช้บันทึกก็กำหนดยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เป็น "สมัยก่อนประวัติศาสตร์" เมื่อกล่าวถึงช่วงเวลาที่มนุษย์เริ่มมีตัวหนังสือใช้ก็กำหนดเวลาเป็น
"สมัยประวัติศาสตร์" ส่วนการแบ่งสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยนิยมใช้เกณฑ์การแบ่งตามอาณาจักร
หรอื ราชธานี หรือแบ่งตามสมัยของราชวงศ์และแบ่งตามลักษณะสำคัญของประวัติศาสตร์

12

สมยั ประวตั ิศาสตร์ (Historical Period)

คือ ช่วงเวลาที่มนุษย์ในสังคมเริ่มรู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ
ทำให้มนุษย์ในยุคหลังสามารถเข้าใจเรื่องราวในช่วงเวลาดังกล่าว ผ่านการศึกษาและตีความจากหลักฐาน
ลายลักษณ์อักษรต่าง ๆ เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร หนังสือ เป็นต้น ดังนั้น แต่ละสังคมจะเริ่มต้น
สมยั ประวัตศิ าสตร์ไม่พร้อมกนั

สมัยประวัติศาสตร์ หมายถึง ช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จักใช้ตัวหนังสือบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
ความเชื่อ กิจกรรมต่าง ๆ เช่น การค้าขาย จึงทำให้เรารู้เรื่องราวที่ละเอียดชัดเจนมากขึ้น บันทึกในระยะแรก
จะปรากฏอยบู่ นกระดกู ไมไ้ ผ่ ผ้าไหม (ดงั กรณขี องจนี ) แผ่นดนิ เหนยี ว ศลิ า แผน่ ทอง แผน่ เงินใบลาน กระดาษ
อย่างไรก็ตามบันทึกที่เป็นลายลักษณ์อักษรอาจไม่สมบูรณ์ สูญหาย หรือถูกทำลายไป นักประวัติศาสตร์
จงึ ต้องใช้หลักฐานทางโบราณคดมี าประกอบการวเิ คราะหข์ ้อมลู

มีพัฒนาการทางสังคมขึ้นเป็นลำดับ โดยรวมกันเป็นหมู่บ้าน ชุมชนเมือง และเจริญรุ่งเรือง
ขึ้นเป็นแว่นแคว้นหรืออาณาจกั ร สำหรับชุมชนดินแดนไทยเร่ิมเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ประมาณพุทธศตวรรษ
ที่ 12 จากการค้นพบหลักศิลาจารึกซึ่งบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับชุมชนในดินแดนไทยในช่วงเวลานั้น
แต่ละช่วงสมัยทางประวัติศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสมัยย่อย ๆ โดยแยกตามลำดับพัฒนาการของมนุษย์ เช่น
แยกตามแบบสงั คม การเมืองการปกครอง หรือรปู แบบศิลปะ

สมัยประวัติศาสตร์ หากแบ่งตามประวัติศาสตร์สากล สามารถแบ่งได้เป็น 4 สมัย

ได้แก่ ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ และประวัติศาสตร์
สมยั ปจั จุบนั

13

การแบ่งช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตรต์ ามแบบสากล

จุดมุ่งหมายในการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์เป็นยุคสมัยต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสะดวก
ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวของมนุษย์ในอดีตและช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์
ตามแบบสากลแบ่งออกเปน็ 2 สมัย คอื สมัยกอ่ นประวัติศาสตร์ และสมัยประวตั ิศาสตร์

เป็นยคุ สมยั ทีม่ นุษย์ร้จู ักการประดิษฐ์ตัวอักษรขน้ึ มาใช้แล้ว โดยไดม้ กี ารบันทึกเร่ืองราวเหตุการณ์ต่าง ๆ
ในยคุ สมยั น้ันเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรมกั พบอยู่ตามผนงั ถ้ำ แผน่ ดนิ เหนยี ว แผ่นหิน ใบลาน และแผน่ โลหะ

ชุมชนของมนุษย์ในภูมิภาคต่าง ๆ ก้าวเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ ในระยะเวลาไม่เท่ากัน
เ น ื ่ อ ง ด ้ ว ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ม น ุ ษ ย ์ ใ น ก า ร ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ อ า ร ย ธ ร ร ม ค ว า ม เ จ ร ิ ญ ท ี ่ แ ต ก ต ่ า ง กั น
ดังนั้น สมัยประวัติศาสตร์ในทางสากลจึงแบ่งเป็น 4 ยุคย่อย ๆ คือ ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์
สมยั กลาง ประวัตศิ าสตรส์ มยั ใหม่ และสมัยปัจจุบันหรอื ประวัตศิ าสตร์ร่วมสมัย

14

สมยั ประวตั ิศาสตรต์ ามแบบสากล สามารถแบ่งได้ ดังน้ี

1. ประวัตศิ าสตร์สมัยโบราณ (3,500 ปีกอ่ นคริสตศ์ ักราช – ค.ศ. 476)

เริ่มเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกบริเว ณดินแดนเมโสโปเตเมียแถบล ุ่มแม่น้ ำไทกริส-ยูเ ฟร ทีส
และดินแดนอียปิ ตแ์ ถบลุ่มแม่น้ำไนล์ ที่ชาวเมโสโปเตเมียและชาวอียิปต์รู้จักประดษิ ฐต์ ัวอักษรได้เมือ่ 3,500 ปี
ก่อนคริสต์- ศักราช จากนั้นอิทธิพลของความเจริญของสองอารยธรรมก็ได้แพร่หลายไปยังทางใต้ของยุโรป
สู่เกาะครีต ต่อมากรีกได้รับเอาความเจริญจากเกาะครีตและความเจริญของอียิปต์มาสร้างสมเป็นอารยธรรม
กรีกขึ้น และเมื่อชาวโรมันในแหลมอิตาลียึดครองกรีกได้ ชาวโรมันก็นำอารยธรรมกรีกกลับไปยังโรม
และสร้างสมอารยธรรมโรมันขึน้ ต่อมาเมื่อชาวโรมันสถาปนาจักรวรรดิโรมัน พร้อมกับขยายอาณาเขตของตน
ไปอย่างกว้างขวาง อารยธรรมโรมันจึงแพร่ขยายออกไปจนกระทั่งจักรวรรดิโรมันล่มสลายลง
เมื่อพวกอนารยชนเผ่าเยอรมันเข้ายึดกรุงโรมได้ ใน ค.ศ. 476 ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
ของชาตติ ะวันตกจงึ สนิ้ สดุ ลง

แหล่งอารยธรรมโบราณเรม่ิ แรกท่ีสำคัญ ได้แก่

เมโสโปเตเมีย เริ่มตั้งแต่ 3,500 ปีก่อนคริสต์กาล ลุ่มแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรติส เริ่มใช้ตัวอักษร
เรียกว่า คิวนิฟอร์ม มีกษัตริย์ที่สำคัญ เช่น พระเจ้าฮัมมูราบี ในที่สุดจักรวรรดิเปอร์เซียได้เข้ามาครองครอง
ราว 539 ปกี อ่ นคริสตกาล

15

อียิปต์ เริ่มตั้งแต่ 3,100 ปีก่อนคริสต์กาล ประดิษฐ์ตัวอักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic)
ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับเมโสโปเตเมีย อียิปต์เจริญต่อเนื่องจนถึงสมัยโรมัน เมื่อสิ้นสุดสมัยพระนางคลีโอพัตรา
ราชวงศ์ปโตเลมอี ยี ปิ ตจ์ ึงตกเป็นส่วนหนึง่ ของจักรวรรดโิ รมนั

กรีก พัฒนาจากอารยธรรมไมนวลที่เกาะครีต ราว 3,000 ปีก่อนคริสต์กาล กรีกปกครองเป็นนครรัฐ
เรียกตนเองว่าเฮเลนและสร้างอารยธรรมเฮเลนนิค (Helenic) ในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
แห่งนครรัฐมาซิโดเนีย ได้ขยายอิทธิพลอารยธรรมกรีกที่มีรูปแบบเฉพาะ เรียกว่าเฮเลนนิสติค (Helenistic)
ไปสู่ดินแดนต่าง ๆ รวมอียิปต์และเปอร์เซีย เมื่อจักรวรรดิโรมันย้ายศูนย์กลางความเจริญไปที่ไบเซ็นไ ทต์
กรกี ยังคงเป็นส่วนหนง่ึ ของอาณาจักรโรมนั จน ค.ศ. 600 จึงได้ตกอย่ใู ตอ้ ำนาจของจกั รวรรดิออตโตมนั

16

โรมัน เริ่มต้นเมื่อราว 1,000 ปีก่อนคริสต์กาล และพัฒนาเป็นจักรวรรดิยิ่งใหญ่ สิ้นสุดความเจริญ
เพราะถูกอนารยชนเยอรมันนิคเข้ามารุกรานหลายครั้ง ใน ค.ศ. 476 ถือเป็นการสิ้นสุดสมัยโบราณ
และยา้ ยศนู ย์กลางไปอยู่ที่อาณาจกั รโรมนั ตะวันออก เมืองหลวงคือ กรงุ คอนสแตนตโิ นเปลิ

ในเอเชีย ได้แก่ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ (ปากีสถานในปัจจุบัน) บริเวณเมืองฮารัปปาและโมเฮ็น
โจดาโร ปรากฏหลกั ฐานอารยธรรมตั้งแต่ประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตก์ าล ร่วมสมัยกบั อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
และอยี ปิ ต์ ต่อมาชาวอารยนั ไดอ้ พยพเขา้ มาครองครองดินแดนลมุ่ แม่น้ำสนิ ธุและแม่น้ำคงคา

ส่วนจีน ได้แก่ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโหหรือแม่น้ำเหลือง ได้พบหลักฐานอักษรภาพ ใช้จารึก
คำทำนายบนกระดองเต่า ในสมัยราชวงศ์ชาง ประมาณ 1,700 ปีก่อนคริสต์กาล จีนมีการรวมดินแดนต่าง ๆ
ตง้ั เปน็ อาณาจกั ร ตัง้ แตส่ มยั จกั รพรรดิจ๋ินซีฮ่องเต้เปน็ ต้นมา

17

2. ประวัตศิ าสตรส์ มยั กลาง (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453)

เริ่มตั้งแต่การสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 476 เมื่อถูกพวกอนารยชนเยอรมัน
เผ่าวิสิกอธ (Visigoth) โจมตี ซึ่งเหตุการณ์นี้ถือเป็นจุดสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมันตะวันตก เมื่อจักรวรรดิโรมัน
ตะวันตกล่มสลายลงสภาพทั่วไปของกรุงโรมเต็มไปด้วยความวุ่นวาย การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอ่อนแอ
ประชาชน อดอยาก ขาดทพ่ี ่งึ มปี ญั หาเรอื่ งโจรผู้ร้าย เน่อื งจากช่วงเวลานย้ี ุโรปตะวันตกไม่มีจักรวรรดิท่ีย่ิงใหญ่
ปกครอง ดังเช่นจักรวรรดิโรมัน นอกจากนี้ยังถูกพวกอนารยชนเผ่าต่าง ๆ เข้ามารุกราน ส่งผลให้อารยธรรม
กรีกและโรมันอันเจริญรุ่งเรืองในยุโรปตะวันตกได้หยุดชะงักลง นักประวัติศาสตร์สมัยก่อนจึงเรียกช่วงสมัยนี้
อีกชื่อหนึ่งว่า ยุคมืด (Dark Ages) หลังจากนั้นศูนย์กลางของอำนาจยุโรปได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองไบแซนติอุม
(Byzantium) ซึ่งอยู่ในประเทศตุรกีปัจจุบัน โดยจักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantion) เป็นผู้สถาปนา
จกั รวรรดแิ ห่งใหม่ที่มคี วามเจริญรุ่งเรอื งซึ่งตอ่ มาเป็นท่ีรู้จักกนั ในชื่อ คอนสแตนตโิ นเปลิ (Constantinople)

ประวัติศาสตร์สมัยกลางนี้ เป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอารยธรรมตะวนั ตกจากอารยธรรมโรมนั
ไปสูอ่ ารยธรรมครสิ ต์ศาสนา เป็นสมัยทต่ี ะวันตกได้รับอิทธิพลอย่างมากจากคริสต์ศาสนา ทง้ั ทางด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้สังคมสมัยกลางยังมีลักษณะเป็นสังคมในระบบฟิวดัล
(Feudalism) หรอื สงั คมระบบศักดนิ าสวามภิ กั ด์ิ ทีข่ ุนนางมีอำนาจครอบครองพ้นื ที่ โดยประชาชนส่วนใหญ่
มีฐานะเป็นข้าติดที่ดิน (sert) และดำรงชีวิตอยู่ในเขตแมเนอร์ (Manor) ของขุนนาง ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษ
ของสังคมสมัยกลาง นอกจากนี้ในสมัยกลางนี้ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญ คือ สงครามครูเสด ซึ่งเป็นสงคราม
ความขัดแย้งระหว่างคริสต์ศาสนากับศาสนาอิสลามที่กินเวลาเกือบ 200 ปี เป็นผลให้เกิดการค้นหา
เส้นทางการค้าทางทะเลและวิทยาการด้านอื่น ๆ ตามมา สมัยกลางสิ้นสุดใน ค.ศ. 1453 เมื่อพวกออตโตมัน
เติรก์ สามารถยึดกรงุ คอนสแตนติโนเปิลของจักรวรรดิโรมันตะวันตกได้

18

3. ประวตั ศิ าสตรส์ มัยใหม่ (ค.ศ. 1453-1945)

ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ถือว่าเริ่มต้นใน ค.ศ. 1453 เป็นปีที่ชนเผ่าเติร์กโจมตีและสามารถ
ยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้เป็นผลให้ศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองกลับมาอยู่ในยุโรปตะวันตกอีกคร้ัง
ในระหว่างนี้ในยุโรปตะวันตกเองกำลังมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านความคิดและศิลปวิทยาการต่าง ๆ
จากพัฒนาการของการฟื้นฟูศิลปวิทยาการที่ดำเนนิ มา ยุโรปจึงกลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง ในครั้งนี้ได้มีการสำรวจ
และขยายดินแดนออกไปกว้างไกลจนเกิดเป็นยุคล่าอาณานิคม ซึ่งต่อมานำไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประเทศ
กลายเป็นสงครามใหญ่ที่เรียกกันว่า “สงครามโลก” ถึงสองครั้งภายในเวลาห่างกันเพียง 20 ปี ในช่วงเวลา
เกอื บห้ารอ้ ยปขี องประวัติศาสตรส์ มยั ใหม่ มเี หตกุ ารณส์ ำคัญเกดิ ข้ึนมากมายทโี่ ดดเด่นและมีผลกระทบยาวไกล
ต่อเนื่องมาจนถึงโลกปัจจุบัน ได้แก่ การสำรวจทางทะเล การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การกำเนิดแนวคิดทางการเมืองใหม่ (เสรีนิยม ชาตินิยม และประชาธิปไตย) การขยายดินแดน
หรือการล่าอาณานิคม (จักรวรรดินิยม) และสงครามโลกสองครั้ง เหตุการณ์สำคัญ ๆ หลายประการ
ในช่วงเวลาของประวัติศาสตร์โลกสมัยใหม่ได้ส่งผลสืบเนื่องต่อพัฒนาการของประวัติศาสตร์โลก
สมัยปัจจบุ ันอยา่ งมากมาย

19

4. ประวัติศาสตรส์ มัยปจั จบุ นั (ค.ศ. 1945-ปัจจบุ นั ) หรอื เรยี กกันว่า ประวตั ศิ าสตรร์ ว่ มสมัย

หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงปัจจุบันเป็นสมัยที่โลกมีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วยิ่งกว่าสมัยใด ๆ โดยเฉพาะเครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
โทรศัพท์เคลื่อนที่ เครื่องระบุตำแหน่งบนพื้นโลก (จีพีเอส) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่รับสัญญาณจากดาวเทียม
กำหนดตำแหน่งบนโลก ที่ใช้ข้อมูลพื้นฐานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทำให้การติดต่อในโลกเป็นไป
อย่างสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น ทั้งด้านการเมืองการปกครองของสังคมโลกในปัจจุบันโดยช่วงประวัติศาสตร์
สมัยปัจจบุ ันมเี หตกุ ารณ์ทส่ี ำคญั หลาย ๆ เหตุการณ์ เชน่

สงครามเย็น (ค.ศ. 1945-1991) เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงได้เกิดการขัดแย้ง
ทางด้านอุดมการณ์ทางการเมืองของสองอภิมหาอำนาจ คือ สหรัฐอเมริกาผู้นำค่ายประชาธิปไตย
และสหภาพโซเวียตผู้นำค่ายคอมมิวนิสต์ เพื่อแข่งขันเกี่ยวกับลัทธิความเชื่อทางการเมืองและผลประโยชน์
ทางเศรษฐกิจโดยไม่ได้ทำสงครามเหมือนสงครามโลกที่ผ่านมา แต่ใช้วิธีการโฆษณาชวนเชื่อเป็นหลัก
ในการหาพันธมิตรและประเทศใต้อิทธิพลประเทศเล็ก ๆ จึงจำเป็นต้องเข้าข้างและรับการสนับสนุนจากฝ่าย
ใดฝ่ายหนึ่ง สงครามเย็นสิ้นสุดลงเมื่อ ผู้นำประเทศสหภาพโซเวียตได้ปรับนโยบายการเมืองทั้งภายใน
และภายนอกประเทศที่เน้นการร่วมมือกับนานาประเทศในการแก้ปัญหาต่าง ๆ และปฏิรูปประเทศ
ให้เป็นประชาธิปไตยมากข้ึน ต่อมาเมื่อประเทศยุโรปตะวันออก ซึ่งเป็นพันธมติ รของสหภาพโซเวียตได้แยกตัว
ออกจากสหภาพโซเวียต ส่งผลให้พรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศยุโรปตะวันออกสิ้นสุดอำนาจลง
ต่อมาใน ค.ศ. 1989 สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตตกลงลงนามร่วมกันที่เกาะมอลตาประกาศการส้ินสุด
ภาวะสงครามเย็นบรรยากาศสันติภาพจึงแพร่กระจายไปทั่วภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ใน ค.ศ. 1990
กำแพงเบอร์ลิน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นก็ถูกทำลายลง และปีต่อมาเยอรมนีตะวันตกและเยอรมนี
ตะวันออกก็รวมตัวเป็นประเทศเดียวกัน และในปลาย ค.ศ. 1991 สหภาพโซเวียตก็ล่มสลาย
สงครามเย็นจึงสนิ้ สุดอย่างเปน็ ทางการ

20

การแบง่ ชว่ งเวลาทางประวัติศาสตรต์ ามแบบไทย

การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ไทย จะมีความสอดคล้องและความแตกต่างจากแบบสากล
กล่าวคือในส่วนที่สอดคล้อง คือ ในสมัยก่อนประวัติ ศาสตร์จะมีการแบ่งยุคหินและยุคโลหะ
แต่ในความแตกตา่ ง เมื่อมาถึงสมยั ประวตั ศิ าสตรจ์ ะจดั แบง่ ตามความเหมาะสมกบั สภาพสงั คมไทย

สมัยประวัติศาสตร์เป็นสมัยที่ปรากฏหลักฐานลายลักษณ์อักษร หลักฐานสมัยประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่
ที่สุดในดินแดนไทย คือ ศิลาจารึก ในหลายพื้นที่พบศิลาจารึกที่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน เช่น
ทวี่ ดั ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ท่ีซับจำปา จงั หวัดลพบรุ ี ส่วนจารกึ ท่ีปรากฏศกั ราชชดั เจนทส่ี ุด คอื จารึกอักษร
ปัลลวะเป็นภาษาสันสกฤตและเขมรพบที่ปราสาทเขาน้อย จังหวัดปราจีนบุรี ระบุมหาศักราช 559
หรอื ตรงกับ พ.ศ. 1180

21

สมัยประวตั ศิ าสตร์ตามแบบไทย สามารถแบ่งได้ ดังนี้

1. แบ่งตามสมัย การแบ่งออกเป็นสมัยจะแบ่งอย่างกว้าง ๆ ออกเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์

และสมยั ประวตั ศิ าสตร์ ดงั น้ี
สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ หมายถงึ ยุคท่ียังไมม่ ีการบนั ทึกเรอ่ื งราวเป็นลายลักษณ์อักษร

แบ่งออกเป็นยุคหิน (ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง ยุคหินใหม่) และยุคโลหะ (ยุคสำริด ยุคเหล็ก) โดยมีการ
ขุดคน้ พบหลกั ฐานทางโบราณคดใี นภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศไทยตามลำดบั

สมัยประวัติศาสตร์ หมายถึง ยุคที่มนุษย์เริ่มมีการใช้ตัวอักษรบันทึกเรื่องราว
เหตุการณ์ต่าง ๆ จากหลักฐานทค่ี ้นพบได้แก่ หลักศลิ าจารึก

22

2. แบ่งตามอาณาจักร เรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยก่อนหน้าที่จะมีอาณาจักรสุโขทัยเกิดข้ึน

ใน พ.ศ. 1792 นั้นดินแดนประเทศไทยได้มีอาณาจักรต่าง ๆ เกิดขึ้นมาก่อนแล้ว และได้เสื่อมสลายลงไป
หลังจากนั้นก็มีอาณาจักรใหม่เกิดขึ้นมาอีก บรรดาอาณาจักรเหล่านั้น มีช่วงเวลาที่ดำรงอยู่
ตามหลกั ฐานทางด้านโบราณคดี ซงึ่ สามารถนำมาใช้เป็นเกณฑใ์ นการแบ่งยคุ สมยั ไดด้ ังตวั อย่างต่อไปน้ี

3. แบ่งตามราชธานี การแบ่งยุคสมัยตามราชธานี หมายถึง การยึดถือเอาช่วงเวลาที่มีเมืองใด

เมืองหนึ่งเป็นราชธานีหรือเป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรหรือแควน้ มาเป็นเกณฑ์ และเมื่อราชธานี
นั้นหมดความสำคัญล่มสลาย หรือเปลี่ยนแปลงราชธานีใหม่ ก็หมายถึงยุคสมัยประวัติศาสตร์ในช่วงนั้น ๆ
ไดส้ น้ิ สุดลงตามไปด้วย

23

4. แบ่งตามราชวงศ์ เนื่องจากประวัติศาสตร์ไทยผูกพันอยู่กับพระราชกรณียกิจ

ของพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นเจ้าแผ่นดินและเจ้าชีวิตของชนเผ่าไทยมาตั้งแต่โบราณกาล ขณะเดียวกัน
บางช่วงเวลาได้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองถึงขั้นผลัดแผ่นดิน เปลี่ยนกษัตริย์องค์ใหม่ก็หลายครั้ง
การเปลี่ยนแปลงเผ่นดินซึ่งบางครั้งเป็นการเริ่มต้นราชวงศ์ใหม่ ด้วยเหตุนี้เพื่อความสะดวก
ในการแบ่งสมัยประวัติศาสตร์ไทยจึงนำเอาชื่อราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครองบ้านเมืองในช่วงเวลานั้น ๆ
มาเป็นเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยด้วย เช่น สมัยราชวงศ์พระร่วงของอาณาจักรสุโขทัย สมัยราชวงศ์อู่ทอง
สมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมัยราชวงศ์สุโขทัย สมัยราชวงศ์ปราสาททอง สมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง
โดยท้ังหมดเป็นชื่อพระราชวงศ์ท่คี รองราชย์สมบัติเป็นกษตั ริย์ในสมยั อยธุ ยา ราชวงศจ์ กั รใี นสมยั รัตนโกสนิ ทร์

5. แบ่งตามรัชกาล ซึ่งหมายถึงในสมัยที่พระมหากษัตริย์พระองค์นั้น ๆ ทรงครองราชย์สมบัติอยู่

ทำให้เกิดความเข้าใจขอบเขตของช่วงเวลาที่ศึกษาได้เป็นอย่างดี และทำให้ช่วงเวลาไม่ยาวนานเกินไป
ไม่เหมือนกับการแบ่งยุคสมัยตามราชธานีหรือตามราชวงศ์ หรือกล่าวอย่างง่าย ๆ เป็นการแบ่งย่อยเหตุการณ์
หรอื ชว่ งเวลาในประวัตศิ าสตร์ทีย่ าวนานให้ส้ันลง เพื่อสะดวกแกก่ ารศึกษาทำความเขา้ ใจ

24

6. แบ่งตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ได้แก่ สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์

และสมยั ประชาธิปไตย โดยถอื เอาเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเมือ่ วันท่ี 24 มถิ ุนายน 2475
เป็นเสน้ แบ่งยุคสมัยการเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย์เขา้ สรู่ ะบอบประชาธิปไตย

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งได้หลายแบบแต่ที่นิยมใช้กันมาก
จะเป็นไปตามแบบอย่างที่กล่าวมาข้างต้น สำหรับหลักการว่าจะใช้รูปแบบใดในการกล่าวถึงเหตุการณ์
ทางประวัติศาสตรน์ นั้ ไม่ไดม้ ีขอ้ กำหนดอยา่ งแนช่ ัด ข้ึนอย่กู ับวัตถุประสงค์ของผแู้ บง่ เป็นสำคญั

ตารางเปรียบเทียบประวตั ศิ าสตร์ไทยกบั ประวตั ศิ าสตร์สากล

25

ชอื่ …………………………………นามสกุล…………………….ช้ัน..………เลขท…่ี ........

บัตรกิจกรรมชุดท่ี 1
เรือ่ ง การแบง่ ยุคสมัยประวตั ศิ าสตร์

คำชแ้ี จง : นกั เรยี นจำแนกการแบง่ ยุคสมัยประวัติศาสตร์ทงั้ การแบง่ แบบไทยและแบบสากลต่อไปน้ีให้ถูกต้อง

……………………………………………การยึดถือเอาช่วงเวลาท่มี ีเมืองใดเมืองหนงึ่ เป็น
ราชธานีหรอื เป็นศนู ยก์ ลางการปกครองของอาณาจักรหรอื แควน้

……………………………………………เรมิ่ ภายหลังกรงุ คอนสแตนตโิ นเปิลแตก
จนสิน้ สดุ สงครามโลกครง้ั ที่ 2 และเปน็ สมยั ท่มี กี ารเปลยี่ นแปลงมากมายทง้ั ดา้ นศาสนา
มีการปฏิรูปศาสนา ดา้ นการปกครอง

……………………………………………แบ่งออกแบบกวา้ ง ๆ โดยจะแบ่งเป็นสมยั ก่อน
ประวตั ศิ าสตร์ และสมยั ประวัติศาสตร์

……………………………………………หลงั จากสิ้นสุดสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 จนถงึ
ปัจจุบัน เปน็ สมัยท่โี ลกมคี วามกา้ วหนา้ และเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วย่งิ กวา่ สมัยใด ๆ

……………………………………………เร่มิ ภายหลังกรงุ โรมแตก เปน็ สมัยทีอ่ ารยธรรม
หยุดชะงักในช่วงแรก และเรม่ิ เปลย่ี นแปลงในครึง่ หลัง

……………………………………………ยึดเอาสมยั ที่พระมหากษัตรยิ พ์ ระองคน์ ัน้ ๆ
ทรงครองราชย์สมบัตอิ ยู่ ทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจขอบเขตของชว่ งเวลาที่ศกึ ษาได้เป็นอย่างดี

26

ชอื่ …………………………………นามสกลุ …………………….ชน้ั ..………เลขท…่ี ........

บตั รกิจกรรมชุดท่ี 2
เรือ่ ง การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์

คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นนำตัวเลขหน้าข้อความใสล่ งในช่องวา่ งดา้ นล่างให้สัมพันธ์กัน

1. ประวตั ิศาสตรส์ มยั โบราณ 4. แบง่ ตามอาณาจักร 7. แบง่ ตามราชวงศ์
2. แบง่ ตามการเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง 5. ประวตั ศิ าสตร์สมยั ปัจจุบนั
3. ประวตั ศิ าสตร์สมยั กลาง 6. แบ่งตามสมัย

หมายเลข รายละเอียด

สมยั สมบูรณาญาสิทธริ าชยแ์ ละสมยั ประชาธิปไตย โดยถือเหตุการณ์การเปล่ียนแปลง
ทางการเมืองเม่ือวันท่ี 24 มิถนุ ายน 2475 เป็นเสน้ แบ่งยุคสมัยการเปล่ียนแปลง
การปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชยเ์ ขา้ สู่ระบอบประชาธปิ ไตย

เป็นสมัยที่โลกมีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าสมัยใด ๆ
โดยเฉพาะเครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
โทรศพั ท์เคล่อื นท่ี เครือ่ งระบุตำแหนง่ บนพน้ื โลก (จีพเี อส)

เรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยก่อนหน้าที่จะมีอาณาจักรสุโขทัยเกิดขึ้น
ใน พ.ศ. 1792 นั้นดินแดนประเทศไทยได้มีอาณาจักรต่าง ๆ เกิดขึ้นมาก่อนแล้ว
และได้เส่ือมสลายลงไป หลงั จากนัน้ ก็มีอาณาจักรใหม่เกดิ ข้ึนมาอีก

เป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอารยธรรมตะวันตกจากอารยธรรมโรมันไปสู่อารย
ธรรมคริสต์ศาสนา เป็นสมัยที่ตะวันตกได้รับอิทธิพลอย่างมากจากคริสต์ศาสนา
ทงั้ ทางดา้ น การเมือง เศรษฐกิจ สงั คม และศิลปวัฒนธรรม

ประวัติศาสตร์ไทยผูกพันอยู่กับพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นเจ้า
แผ่นดินและเจ้าชีวิตของชนเผ่าไทยมาตั้งแต่โบราณกาล ขณะเดียวกันบางช่วงเวลาได้มี
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองถึงขั้นผลัดแผ่นดิน เปลี่ยนกษัตริย์องค์ใหม่ก็หลาย
ครง้ั
เริ่มเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกบรเิ วณ ดินแดนเมโสโปเตเมียแถบลุ่มแมน่ ้ำไทกรสิ -ยูเฟรทสี
และดินแดน อียปิ ตแ์ ถบลุ่มแม่น้ำไนล์ ที่ชาวเมโสโปเตเมียและชาวอียิปต์รู้จักประดิษฐ์
ตัวอักษรไดเ้ มื่อ 3,500 ปกี ่อนครสิ ต์- ศกั ราช

27

คำช้ีแจง แบบทดสอบหลังเรยี น

1. แบบทดสอบเป็นปรนัยแบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก มจี ำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ให้นกั เรียนทำเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคำตอบท่ีถูกตอ้ งเพียงคำตอบเดียว
3. ใชเ้ วลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 15 นาที

1. สงครามเย็น เกิดขนึ้ ตรงกับยคุ สมยั ใดทางประวตั ิศาสตร์

ก. ประวตั ิศาสตร์สมยั โบราณ ข. ประวตั ศิ าสตรส์ มยั ใหม่

ค. ประวัติศาสตร์สมยั กลาง ง. ประวตั ิศาสตรป์ จั จุบนั หรอื รว่ มสมัย

2. หลกั ฐานในขอ้ ใดที่แสดงให้เหน็ วา่ ดินแดนประเทศไทยเร่ิมเข้าสู่สมยั ประวัติศาสตร์

ก.จารึกศรเี ทพ ข. จารกึ วดั ศรชี มุ

ค. จารึกปราสาทเขาน้อย ง. ศิลาจารึกสโุ ขทยั หลักที่ 1

3. เหตกุ ารณ์สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 พ.ศ. 2457-2461 อยใู่ นชว่ งสมัยใด

ก. ประวัติศาสตร์สมยั โบราณ ข. ประวัตศิ าสตรส์ มัยใหม่

ค. ประวตั ิศาสตรส์ มยั กลาง ง. ประวัติศาสตรร์ ่วมสมยั

4. การแบง่ ยุคสมยั ออกเป็นสมัยสุโขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี และรัตนโกสินทร์ จะตรงกบั หลักการแบง่ ในข้อใด

ก. แบ่งตามรัชกาล ข. แบ่งตามราชวงศ์

ค. แบง่ ตามอาณาจักรและแบ่งตามราชธานี ง. แบง่ ตามการเปล่ียนแปลงทางการเมือง

5. โคลอสเซียมเป็นสถาปตั ยกรรมทีม่ ีชอ่ื เสยี งของโรมนั เป็นสิง่ หน่ึงทแ่ี สดงใหเ้ ห็นความร่งุ เรืองของประวตั ศิ าสตรส์ มยั ใด

ก. ประวตั ิศาสตร์สมยั โบราณ ข. ประวตั ศิ าสตร์สมัยใหม่

ค. ประวัติศาสตร์สมยั กลาง ง. ประวตั ิศาสตร์รว่ มสมยั

6. ประวัตศิ าสตรส์ มยั ใด เป็นช่วงเวลาทม่ี ีการเปล่ยี นแปลงอารยธรรมตะวันตกจากอารยธรรมโรมัน ไปสูอ่ ารย

ธรรมคริสตศ์ าสนา

ก. ประวตั ศิ าสตรส์ มัยโบราณ ข. ประวตั ิศาสตรส์ มัยใหม่

ค. ประวตั ิศาสตรส์ มัยกลาง ง. ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย

7. ปัจจบุ นั ประเทศไทยมีกรุงเทพมหานครเปน็ ราชธานี จดั อย่ใู นสมยั ใด

ก. สมัยสุโขทยั ข. สมยั อยธุ ยา

ค. สมยั ธนบุรี ง. สมัยรัตนโกสนิ ทร์

28

8. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง

ก. ยุคเหล็กอยู่ในสมยั ประวตั ิศาสตร์ ข. สมัยประวัติศาสตร์เร่มิ เมือ่ มนษุ ย์ร้จู ักประดิษฐ์อักษร

ค. ประวตั ิศาสตร์สมยั ใหมเ่ ป็นการแบง่ ตามแบบไทย ง. การแบง่ สมยั ตามอาณาจักรเป็นการแบง่ ยุคตามสากล

9. เกดิ การการสำรวจทางทะเล การปฏวิ ตั ทิ างวิทยาศาสตร์ การปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรม การกำเนดิ แนวคิดทาง

การเมืองใหม่ (เสรีนิยม ชาตนิ ยิ ม และประชาธปิ ไตย) คือยุคสมัยใดทางประวัติศาสตร์

ก. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ข. ประวัติศาสตรส์ มยั ใหม่

ค. ประวัตศิ าสตรส์ มยั กลาง ง. ประวัตศิ าสตร์ปัจจุบันหรือร่วมสมัย

10. การแบง่ ออกเป็นยคุ สมัยจะแบ่งอย่างกว้าง ๆ ออกเป็นสมยั ก่อนประวัติศาสตร์ และสมยั ประวัตศิ าสตร์

ถอื ว่าเป็นการแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตรข์ องไทยในแบบใด

ก. แบง่ ตามสมยั ข. แบง่ ตามอาณาจักร

ค. แบง่ ตามราชวงศ์ ง. แบ่งตามการเมืองการปกครอง

29

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรียน
เร่อื ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์

(ยุคสมยั ประวัตศิ าสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย ()
ลงในชอ่ งให้ตรงกบั ข้อทน่ี ักเรียนเลือกตอบ

ชื่อ……………………………………นามสกลุ …………………………………ช้นั …………เลขท…ี่ …..

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

รวมคะแนนท่ไี ด้

ภาคผนวก

คำช้ีแจง เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

1. แบบทดสอบเป็นปรนยั แบบเลอื กตอบ 4 ตวั เลือก มจี ำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ใหน้ ักเรียนทำเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคำตอบท่ีถกู ต้องเพยี งคำตอบเดียว
3. ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 15 นาที

1. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง

ก. ยคุ เหลก็ อยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ ข. สมัยประวตั ศิ าสตรเ์ ร่มิ เม่อื มนุษยร์ ูจ้ ักประดิษฐ์อกั ษร

ค. ประวัตศิ าสตร์สมยั ใหม่เป็นการแบง่ ตามแบบไทย ง. การแบ่งสมัยตามอาณาจกั รเปน็ การแบ่งยุคตามสากล

2. หลักฐานในข้อใดทแี่ สดงให้เห็นวา่ ดินแดนประเทศไทยเร่ิมเข้าสสู่ มยั ประวตั ิศาสตร์

ก.จารกึ ศรเี ทพ ข. จารึกวัดศรีชมุ

ค. จารกึ ปราสาทเขาน้อย ง. ศลิ าจารกึ สุโขทยั หลักที่ 1

3. เหตุการณ์สงครามโลกครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2457-2461 อยู่ในชว่ งสมัยใด

ก. ประวัตศิ าสตร์สมยั โบราณ ข. ประวัติศาสตร์สมยั ใหม่

ค. ประวัติศาสตรส์ มัยกลาง ง. ประวัตศิ าสตร์ร่วมสมัย

4. การแบง่ ยคุ สมัยออกเปน็ สมยั สุโขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสินทร์ จะตรงกับหลักการแบ่งในข้อใด

ก. แบง่ ตามรัชกาล ข. แบง่ ตามราชวงศ์

ค. แบง่ ตามอาณาจักรและแบ่งตามราชธานี ง. แบ่งตามการเปล่ยี นแปลงทางการเมือง

5. ปัจจุบนั ประเทศไทยมีกรุงเทพมหานครเปน็ ราชธานี จดั อยใู่ นสมยั ใด

ก. สมยั สุโขทัย ข. สมัยอยุธยา

ค. สมัยธนบรุ ี ง. สมยั รัตนโกสนิ ทร์

6. ประวัติศาสตรส์ มัยใด เป็นช่วงเวลาทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอารยธรรมตะวันตกจากอารยธรรมโรมนั ไปสูอ่ ารยธรรม

คริสต์ศาสนา

ก. ประวัติศาสตรส์ มัยโบราณ ข. ประวัติศาสตร์สมัยใหม่

ค. ประวัตศิ าสตร์สมัยกลาง ง. ประวัตศิ าสตรร์ ว่ มสมัย

7. โคลอสเซยี มเป็นสถาปัตยกรรมทมี่ ีชื่อเสยี งของโรมนั เป็นสงิ่ หนงึ่ ทแี่ สดงให้เห็นความร่งุ เรอื งของประวตั ิศาสตรส์ มัยใด

ก. ประวตั ศิ าสตร์สมัยโบราณ ข. ประวตั ิศาสตรส์ มยั ใหม่

ค. ประวัตศิ าสตร์สมัยกลาง ง. ประวัตศิ าสตรร์ ่วมสมยั

8. สงครามเย็น เกิดขน้ึ ตรงกับยุคสมัยใดทางประวัติศาสตร์

ก. ประวัตศิ าสตร์สมยั โบราณ ข. ประวัตศิ าสตร์สมัยใหม่

ค. ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ง. ประวัติศาสตรป์ จั จบุ นั หรอื รว่ มสมยั

9. เกิดการการสำรวจทางทะเล การปฏิวัตทิ างวทิ ยาศาสตร์ การปฏิวัติอุตสาหกรรม การกำเนิดแนวคดิ ทาง

การเมืองใหม่ (เสรีนิยม ชาตนิ ยิ ม และประชาธปิ ไตย) คือยคุ สมยั ใดทางประวตั ศิ าสตร์

ก. ประวตั ิศาสตร์สมยั โบราณ ข. ประวตั ิศาสตรส์ มยั ใหม่

ค. ประวัตศิ าสตร์สมยั กลาง ง. ประวตั ิศาสตรป์ ัจจบุ นั หรือร่วมสมยั

10. การแบ่งออกเป็นยุคสมัยจะแบง่ อยา่ งกวา้ ง ๆ ออกเป็นสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ และสมัยประวตั ิศาสตร์

ถือวา่ เป็นการแบง่ ยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตรข์ องไทยในแบบใด

ก. แบ่งตามสมยั ข. แบ่งตามอาณาจักร

ค. แบง่ ตามราชวงศ์ ง. แบ่งตามการเมืองการปกครอง

กระดาษคำตอบเฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรอ่ื ง การแบ่งยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์
(ยคุ สมัยประวัตศิ าสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย ()
ลงในช่องใหต้ รงกับข้อท่นี ักเรยี นเลือกตอบ

ช่ือ……………………………………นามสกุล…………………………………ช้นั …………เลขท…่ี …..

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10 

รวมคะแนนทไี่ ด้

ช่อื …………………………………นามสกลุ …………………….ช้นั ..………เลขท…ี่ ........

เฉลยบตั รกจิ กรรมชดุ ที่ 1
เรอื่ ง การแบง่ ยคุ สมัยประวัติศาสตร์

คำช้แี จง : นักเรียนจำแนกการแบง่ ยคุ สมยั ประวัติศาสตร์ท้งั การแบง่ แบบไทยและแบบสากลตอ่ ไปน้ใี ห้ถูกต้อง

การแบง่ ช่วงเวลาตามแบบไทย (แบ่งตามราชธาน)ี การยดึ ถือเอาช่วงเวลาทีม่ เี มืองใดเมืองหนึ่งเป็น
ราชธานหี รอื เปน็ ศนู ย์กลางการปกครองของอาณาจกั รหรือแควน้

การแบง่ ชว่ งเวลาตามแบบสากล (ประวตั ิศาสตรส์ มยั ใหม่) เร่ิมภายหลังกรุงคอนสแตนติโนเปิล
แตก จนสิ้นสุดสงครามโลกคร้งั ที่ 2 และเปน็ สมัยทม่ี กี ารเปล่ียนแปลงมากมายทัง้ ด้านศาสนา
มกี ารปฏริ ปู ศาสนา ด้านการปกครอง

การแบง่ ช่วงเวลาตามแบบไทย (แบ่งตามสมยั ) แบ่งออกแบบกว้าง ๆ โดยจะแบง่ เป็นสมัยก่อน
ประวัตศิ าสตร์ และสมยั ประวัตศิ าสตร์

การแบ่งช่วงเวลาตามแบบสากล (ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย) หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกคร้ังท่ี 2
จนถงึ ปจั จบุ นั เป็นสมยั ทีโ่ ลกมีความก้าวหนา้ และเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วย่ิงกว่าสมัยใด ๆ

การแบ่งชว่ งเวลาตามแบบสากล (ประวตั ิศาสตรส์ มยั กลาง) เริ่มภายหลงั กรุงโรมแตก เป็นสมยั
ทีอ่ ารยธรรมหยดุ ชะงกั ในช่วงแรก และเร่มิ เปลย่ี นแปลงในครึง่ หลงั

การแบ่งชว่ งเวลาตามแบบไทย (แบง่ ตามราชวงศ์) ยึดเอาสมัยทพ่ี ระมหากษตั รยิ ์พระองคน์ น้ั ๆ
ทรงครองราชยส์ มบตั อิ ยู่ ทำให้เกดิ ความเขา้ ใจขอบเขตของชว่ งเวลาทศี่ ึกษาได้เป็นอยา่ งดี

ชื่อ…………………………………นามสกุล…………………….ชนั้ ..………เลขท…่ี ........

เฉลยบัตรกิจกรรมชุดท่ี 2
เร่ือง การแบ่งยคุ สมัยประวตั ิศาสตร์

คำช้แี จง : ให้นักเรยี นนำตวั เลขหน้าข้อความใสล่ งในช่องว่างด้านลา่ งใหส้ มั พนั ธก์ นั

1. ประวตั ิศาสตรส์ มัยโบราณ 4. แบ่งตามอาณาจกั ร 7. แบง่ ตามราชวงศ์
2. แบ่งตามการเปล่ียนแปลงทางการเมอื ง 5. ประวัตศิ าสตร์สมัยปัจจุบนั
3. ประวตั ศิ าสตรส์ มยั กลาง 6. แบง่ ตามสมยั

หมายเลข รายละเอยี ด

2 สมยั สมบูรณาญาสิทธริ าชยแ์ ละสมัยประชาธปิ ไตย โดยถอื เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลง
5 ทางการเมืองเมื่อวันท่ี 24 มิถนุ ายน 2475 เป็นเสน้ แบ่งยุคสมยั การเปลี่ยนแปลง
4 การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย
3
7 เป็นสมัยที่โลกมีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าสมัยใด ๆ
1 โดยเฉพาะเครื่องมือและอุปกรณ์สารสนเทศ เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
โทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี เครื่องระบตุ ำแหนง่ บนพื้นโลก (จีพเี อส)

เรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยก่อนหน้าที่จะมีอาณาจักรสุโขทัยเกิดขึ้น
ใน พ.ศ. 1792 นั้นดินแดนประเทศไทยได้มีอาณาจักรต่าง ๆ เกิดขึ้นมาก่อนแล้ว
และไดเ้ สือ่ มสลายลงไป หลังจากนนั้ ก็มอี าณาจักรใหม่เกดิ ขน้ึ มาอีก

เป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอารยธรรมตะวันตกจากอารยธรรมโรมันไปสู่อารย
ธรรมคริสต์ศาสนา เป็นสมัยที่ตะวันตกได้รับอิทธิพลอย่างมากจากคริสต์ศาสนา
ทง้ั ทางดา้ น การเมือง เศรษฐกิจ สงั คม และศิลปวฒั นธรรม

ประวัติศาสตร์ไทยผูกพันอยู่กับพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นเจ้า
แผน่ ดนิ และเจา้ ชีวิตของชนเผา่ ไทยมาตัง้ แต่โบราณกาล ขณะเดียวกันบางช่วงเวลาได้มี
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองถึงขั้นผลัดแผ่นดิน เปลี่ยนกษัตริย์องค์ใหม่ก็หลาย
ครงั้
เริ่มเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกบริเวณ ดินแดนเมโสโปเตเมียแถบลุ่มแมน่ ้ำไทกริส-ยูเฟรทีส
และดนิ แดน อยี ิปตแ์ ถบลมุ่ แม่นำ้ ไนล์ ทีช่ าวเมโสโปเตเมียและชาวอียิปต์รู้จักประดิษฐ์
ตวั อกั ษรได้เมอื่ 3,500 ปีก่อนคริสต์- ศักราช

คำชแ้ี จง เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน

1. แบบทดสอบเป็นปรนยั แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลือก มีจำนวน 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ให้นกั เรยี นทำเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคำตอบที่ถกู ต้องเพียงคำตอบเดียว
3. ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 15 นาที

1. สงครามเยน็ เกดิ ขึน้ ตรงกับยคุ สมัยใดทางประวตั ิศาสตร์

ก. ประวัตศิ าสตรส์ มัยโบราณ ข. ประวัติศาสตร์สมยั ใหม่

ค. ประวัติศาสตร์สมยั กลาง ง. ประวตั ศิ าสตรป์ ัจจบุ ันหรอื รว่ มสมัย

2. หลักฐานในขอ้ ใดทีแ่ สดงให้เหน็ ว่าดนิ แดนประเทศไทยเร่ิมเข้าสสู่ มัยประวตั ิศาสตร์

ก.จารกึ ศรีเทพ ข. จารกึ วัดศรชี มุ

ค. จารึกปราสาทเขาน้อย ง. ศิลาจารึกสโุ ขทัยหลกั ท่ี 1

3. เหตกุ ารณส์ งครามโลกครั้งท่ี 1 พ.ศ. 2457-2461 อยู่ในช่วงสมยั ใด

ก. ประวัติศาสตรส์ มยั โบราณ ข. ประวัติศาสตรส์ มยั ใหม่

ค. ประวตั ศิ าสตร์สมยั กลาง ง. ประวัตศิ าสตรร์ ่วมสมยั

4. การแบง่ ยุคสมัยออกเปน็ สมยั สุโขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี และรตั นโกสินทร์ จะตรงกับหลักการแบง่ ในข้อใด

ก. แบ่งตามรชั กาล ข. แบง่ ตามราชวงศ์

ค. แบ่งตามอาณาจักรและแบ่งตามราชธานี ง. แบง่ ตามการเปล่ยี นแปลงทางการเมือง

5. โคลอสเซียมเป็นสถาปตั ยกรรมทีม่ ชี ือ่ เสียงของโรมนั เปน็ สิ่งหนงึ่ ท่ีแสดงใหเ้ ห็นความรุ่งเรอื งของประวตั ิศาสตรส์ มัยใด

ก. ประวัตศิ าสตรส์ มัยโบราณ ข. ประวตั ิศาสตรส์ มัยใหม่

ค. ประวัติศาสตร์สมยั กลาง ง. ประวตั ศิ าสตร์ร่วมสมัย

6. ประวัตศิ าสตรส์ มยั ใด เป็นชว่ งเวลาที่มีการเปลย่ี นแปลงอารยธรรมตะวันตกจากอารยธรรมโรมนั ไปสูอ่ ารย

ธรรมครสิ ตศ์ าสนา

ก. ประวตั ศิ าสตรส์ มยั โบราณ ข. ประวัติศาสตรส์ มยั ใหม่

ค. ประวตั ิศาสตร์สมยั กลาง ง. ประวัติศาสตร์รว่ มสมยั

7. ปัจจุบนั ประเทศไทยมีกรงุ เทพมหานครเป็นราชธานี จดั อยู่ในสมยั ใด

ก. สมยั สุโขทัย ข. สมยั อยุธยา

ค. สมยั ธนบรุ ี ง. สมยั รตั นโกสินทร์

8. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

ก. ยคุ เหลก็ อยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ ข. สมยั ประวัติศาสตร์เร่มิ เม่อื มนษุ ย์รู้จักประดิษฐ์อกั ษร

ค. ประวัติศาสตรส์ มัยใหมเ่ ป็นการแบ่งตามแบบไทย ง. การแบง่ สมยั ตามอาณาจกั รเปน็ การแบง่ ยุคตามสากล

9. เกิดการการสำรวจทางทะเล การปฏิวัตทิ างวิทยาศาสตร์ การปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม การกำเนดิ แนวคดิ ทาง

การเมืองใหม่ (เสรีนิยม ชาตนิ ยิ ม และประชาธปิ ไตย) คือยุคสมัยใดทางประวตั ศิ าสตร์

ก. ประวตั ิศาสตรส์ มยั โบราณ ข. ประวตั ิศาสตร์สมัยใหม่

ค. ประวตั ิศาสตร์สมยั กลาง ง. ประวัติศาสตรป์ ัจจุบันหรอื ร่วมสมยั

10. การแบง่ ออกเปน็ ยคุ สมัยจะแบง่ อยา่ งกว้าง ๆ ออกเป็นสมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ และสมยั ประวัติศาสตร์

ถอื วา่ เปน็ การแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ของไทยในแบบใด

ก. แบง่ ตามสมัย ข. แบง่ ตามอาณาจักร

ค. แบ่งตามราชวงศ์ ง. แบง่ ตามการเมืองการปกครอง

กระดาษคำตอบเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เร่ือง การแบ่งยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร์
(ยคุ สมยั ประวัตศิ าสตร์)

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดลงในกระดาษคำตอบ โดยทำเครื่องหมาย ()
ลงในช่องใหต้ รงกับข้อทน่ี กั เรยี นเลอื กตอบ

ช่ือ……………………………………นามสกุล…………………………………ชั้น…………เลขท…่ี …..

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10 

รวมคะแนนทไี่ ด้

กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2546). ยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพค์ ุรุสภา ลาดพรา้ ว

จนิ ตนา มัธยมบรุ ษุ . (2535). ประวัตศิ าสตร์ไทยและสากล. เชยี งใหม:่ คณะวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
วทิ ยาลัยครูเชยี งใหม.่

ลดั ดา สาระยา. ยคุ สมัยประวัติศาสตร์ตามแบบไทยและแบบสากล. (ออนไลน์) สบื ค้น 20 กันยายน 2562 จาก
http://www.pccnst.ac.th/jiaranai/web/work/3- 5%E0%B8%81.pdf

วรฤทธิ์ ทศรตั น์. ยุคประวตั ิศาสตร์. (ออนไลน์) สบื คน้ 20 กันยายน 2562 จาก
https://sites.google.com/site/somyoschamnongsooth/prawatisastr/kar-baeng-yukh-smay-
thang-prawatisastr


Click to View FlipBook Version