The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaiwut, 2020-08-06 01:03:10

คนหล่อ

บทที่ 2
แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารเพื่อแสวงหาและสร้างนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา


วัตถุประสงค ์
1..เพื่อศึกษาทบทวน ใบงานที่ 2 บทที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารเพื่อแสวงหาและ
สร้างนวัตกรรมทางการ
2..เพื่อศึกษาความหมายความส าคัญ การบริหารเพื่อแสวงหาและสร้างนวัตกรรม

ทางการบริหารการศึกษา

1..เพื่อศึกษาทบทวน ใบงานที่ 2 บทที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารเพื่อแสวงหาและสร้าง

นวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา

ให้นักศึกษาศึกษากรณตัวอย่างจากเอกสาร แล้วจัดท ารายงาน ไม่เกิน 5 หน้า
ก าหนดหัวข้อนวัตกรรมในหน่วยงาน สถานศึกษาของท่าน ด้านการบริหารจัดการศึกษาตาม

เกณฑ์การประเมินคุณภาพผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมของครุสภาจากคู่มือการด าเนินงาน
โครงการหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรม ประจ าปี 2555 ก าหนดส่ง ตั้งแต่วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา

01.00 ถึงวันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 24.00 น.
2..เพื่อศึกษาความหมายความส าคัญ การบริหารเพื่อแสวงหาและสร้างนวัตกรรมทางการบริหาร
การศึกษา

1. ความหมายของ นวัตกรรม
ความคิดและการกระท าใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมให้ดีขึ้น
และเมื่อน ามาใช้งานก็ท าให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. นวัตกรรมการศึกษาความหมาย

ความคิดและการกระท าใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมให้ดีขึ้น
และเมื่อน ามาใช้งานก็ท าให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น บรรลุเป้าหมายมากขึ้น เมื่อน านวัตกรรมมาใช ้
ในการศึกษาเราก็เรียกว่านวัตกรรมการศึกษา
3. หลักส าคัญในการพิจารณาว่าเป็นนวัตกรรม ตามแนวคิดของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้ให้เกณฑ์ในการ

พิจารณาสิ่งที่จะถือว่าเป็น
พิสูจน์ด้วยการวิจัย ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน
เป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วน น าวิธีการจัดระบบมาใช้
4. หลักส าคัญในการน านวัตกรรมเข้ามาใช

มีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดกว่า วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธีการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีความเหมาะสมกับ
ระบบหรือสภาพที่เป็นอยู่ มีการวิจัยหรือกรณีศึกษาที่ยืนยัน เกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช ้
5. นวัตกรรมการศึกษา แบ่งเป็น 5 ประเภท

นวัตกรรมด้านสื่อการสอน นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
6. ขั้นตอนการวิจัยเชิงการพัฒนา (Research and Development) ก าหนดเป็น 3 ขั้นตอน

ขั้นที่ 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพ ขั้นที่ 2 ศึกษาผลการน าไปใช ขั้นที่ 3 ประเมินผล


7. การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา จะแบ่งส่วนส าคัญออกได้ 3 ส่วน
คือ ส่วนน า ส่วนเนื้อหา และ ส่วนอ้างอิง
8. การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา ส่วนน า

ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ
9. การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา ส่วนเนื้อหา

บทน า เอกสาร/งานวิจัย วิธีด าเนินการ ผลการวิเคราะห์ สรุป/อภิปราย/เสนอแนะ
10. การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา ส่วนอ้างอิง

บรรณานุกรม เนื้อหาเพิ่มเติม หลักฐาน ประวัติ

11.-20. ภาษาอังกฤษ ค าเดิม

------------------------------------------------------------------------------

2.ความหมายความส าคัญของนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมและนวัตกรรมการศึกษา

นวตกรรม หรือ นวกรรม มาจากค าว่า
“นว” หมายถึง ใหม่
“กรรม” หมายถึง การกระท า
เมื่อน าสองค านี้มารวมกัน เป็น นวตกรรม หรือนวกรรม จึงหมายถึงการกระท า ใหม่ ๆ ซึ่งในที่นี้มี

นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของค าน ี้
โดยสรุปแล้ว นวัตกรรมหมายถึง ความคิดและการกระท าใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อนหรือการ
พัฒนาดัดแปลงจากของเดิมให้ดีขึ้นและเมื่อน ามาใช้งานก็ท าให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อน า

นวัตกรรมมาใช้ในการศึกษาเราก็เรียกว่านวัตกรรมการศึกษา
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) จึงหมายถึง การกระท าใหม่
การสร้างใหม่ หรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใดๆ แล้วท าให้การศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนมีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเดิม ท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนเปลี่ยนแปลงในการเรียนรู้ เกิดการ

เรียนรู้อย่างรวดเร็ว มีแรงจูงใจในการเรียน ท าให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธผลสูงสุดกับผู้เรียน

หลักส าคัญในการพิจารณาว่าเป็นนวัตกรรม
จากความหมายของค าว่านวัตกรรมจะเห็นว่านักการศึกษาแต่ละท่านได้ให้ความหมายไว ้

แตกต่างกันแต่พอจะมีเกณฑ์ให้เราพิจารณาได้ว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมหรือไม่ โดย ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ได้ให้เกณฑ์ในการพิจารณาสิ่งที่จะถือว่าเป็น นวัตกรรมไว้ดังนี้
1. จะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วน

2. มีการน าวิธีการจัดระบบมาใช้ โดยพิจารณาองคประกอบทั้งส่วนข้อมูลที่ใส่เข้าไป
กระบวนการ และผลลัพธ์ ให้เหมาะสมก่อนที่จะท าการเปลี่ยนแปลง
3. มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัย หรืออยู่ระหว่างการวิจัยวา จะช่วยให้การด าเนินงานบางอย่างมี

ประสิทธิภาพสูงขึ้น
4. ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน หากกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบงานที่

ด าเนินอยู่ในขณะนี้ ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรม

หลักส าคัญในการน านวัตกรรมเข้ามาใช้
การที่จะรับนวัตกรรมเข้ามาใช้ในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งนั้น จ าเป็นที่จะต้องมีการพิจารณา

อย่างรอบคอบถึงประโยชน์ที่จะได้รับ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ตลอดจนความคุ้มค่าของการ
น ามาใช้โดยค านึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (กิดานันท์ มลิทอง. 2541:246)
1. นวัตกรรมที่จะน ามาใช้นั้นมีจุดเด่นที่เห็นได้ชัดกว่า วัสดุ อุปกรณ์ หรือวิธีการที่ใช้อยู่ใน
ปัจจุบันมากน้อยเพียงใด

2. นวัตกรรมนั้นมีความเหมาะสมหรือไม่กับระบบหรือสภาพที่เป็นอยู่
3. มีการวิจัยหรือกรณีศึกษาที่ยืนยันแน่นอนแล้วว่า สามารถน ามาใช้ได้ดีในสภาวการณ์ที่
คล้ายคลึงกันนี้

4. นวัตกรรมนั้นมีความเกี่ยวข้องกับความต้องการของผู้ใช้อย่างจริงจัง

2. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวตกรรมที่น ามาใช้ในทางการศึกษา ทั้งการกระท าใหม่ใดๆ การสร้างสิ่งใหม่ๆ รวมทั้งการ

พัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใดๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน ขอแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ

2.1 นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
2.2 นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน

2.3 นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
2.4 นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล

2.5 นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ


2.1 นวัตกรรมด้านสื่อการสอน

แนวทางการพัฒนาสื่อทน ามาใช้ในการเรียนการสอน
ี่
1. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องการคูณส าหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

2. การพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่องระบบนิเวศ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
3. การพัฒนาสื่อประสมเพื่อใช้ในการสอนดนตรี - นาฏศิลป์ ชุดราวงมาตรฐาน ระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 6

4. การพัฒนาชุดฝึกทักษะเรื่องการอ่านหนังสือและวารสารภาษาอังกฤษ ส าหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่


5. การพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวจัย
6. การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียด้วยโปรมแกรมคอมพิวเตอร์ เรื่องการปลูกผักปลอดสารเคมีในกระถาง
ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

7. การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติมสาระพระพุทธศาสนา เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส าหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

8. การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องสิ่งมีชีวิต ส าหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6


9. การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค ส าหรับเด็กปฐมวัย
10. การพัฒนาหนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่องคุณธรรมจริยธรรม ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ฯลฯ


2.2 นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน


แนวทางการพัฒนาด้านวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบต่างๆ เช่น
ั้
1. การพัฒนารูปแบบการสอนแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เรื่อง พืชดอก ส าหรับนักเรียนชน
มัธยมศึกษาปีที่ 4

2. การพัฒนาการสอนแบบร่วมมือร่วมใจ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่
4
3. การพัฒนาวิธีการสอนแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องอุบัติเหตุในชีวิต ประจาวัน

ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

4. การพัฒนาการสอนโดยใช้สถานการณจ าลอง เรื่อง สิ่งแวดล้อม ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่
4

5. การพัฒนาการสอนสุขศึกษาเพื่อป้องกันโรคเอดส์ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ

6. การพัฒนารูปแบบการสอนซ่อมเสริม เรื่อง นาฏศิลป์ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
7. การพัฒนารูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ เรื่องพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

8. การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรคทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระบวนการกร่อน

ที่เกิดจากกระแสน้ า ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
9. การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 5
10. การพัฒนารูปแบบการสอนแบบซิปปา เรื่องการท าโครงงาน ส าหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ฯลฯ


2.3 นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร ยกตัวอย่างเช่น
หลักสูตรสาระเพิ่มเติม
หลักสูตรท้องถิ่น

หลักสูตรการฝึกอบรม
หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ฯลฯ

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรใดๆ ทางด้านการเรียนการสอน เช่น
1. การพัฒนาหลักสูตรสาระเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่องผญา ส าหรับนักเรียนช่วงชั้น
ที่ 4

2. การพัฒนาหลักสูตรสาระเพิ่มเติม เรื่อง การสานตะกร้า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

3. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่องดอกไม้จันทน์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่องเมี่ยง ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

5. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น รายวิชา ท.031 เรื่อง นิทานพื้นบ้าน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น

6. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาจิตสานึกในอาชีพครู

7. การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง เทคนิคการสอนความคิดสร้างสรรค ส าหรับครูประถม ศึกษา
8. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่องการท าหมูยอสมุนไพร
9. การพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมนักเรียน เรื่องการสร้างจิตสานึกสาธารณะ

10. การพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมนักเรียน เรื่องความมีวินัยในตนเอง ฯลฯ

2.4 นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล ยกตัวอย่างเช่น

การสร้างแบบวดต่างๆ
การสร้างเครื่องมือ
การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ

แนวทางการพัฒนาด้านการวัดและการประเมินผล เช่น
1. การสร้างแบบวัดความมีวินัยในตนเอง


2. การสร้างแบบวัดความคิดสร้างสรรค
3. การสร้างแบบวัดแววครู
4. การพัฒนาคลังข้อสอบ

5. การพัฒนาระบบการลงทะเบียนผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

6. การพัฒนาการใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา
7. การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด

8. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลโรงเรียน
9. การพัฒนาโปรแกรมการวิเคราะห์ข้อสอบ

10. การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการเงิน ของโรงเรียน ฯลฯ

2.5 นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ ยกตัวอย่างเช่น
การบริหารเชิงระบบ

การบริหารเชิงกลยุทธ

การบริหารแบบหลอมรวม
การบริหารเชิงบูรณการ


การบริหารเชงวิจัยปฎิบัติการ
การบริหารแบบภาคีเครือข่าย
การบริหารโดยใช้องค์กรเครือข่ายแบบร่วมร่วมท า
การบริหารโดยใช้โรงเรียน บ้าน วัด ชุมชน และสถานประกอบการเป็นฐาน

การบริหารจัดการที่ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ฯลฯ

การบริหารจัดการการเรียนการสอนทางไกลโดยใช้สื่อประสม
แนวทางการพัฒนากระบวนการบริหารใดๆ เช่น
1. การพัฒนารูปแบบการนิเทศเชิงระบบ เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนของครู ระดับการศึกษาขั้น

พื้นฐาน
2. การบริหารแบบร่วมมือร่วมใจ เพื่อการพัฒนางานวิชาการ ระดับประถมศึกษา

3. การบริหารด้วยวัฏจักรเดมิ่ง เพื่อการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
4. การพัฒนาการบริหารแบบ TOPSTAR เพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน


5. การพัฒนากระบวนการกัลยาณมิตรวจัย เพื่อเพิ่มทักษะการท าวิจัยในชั้นเรียน ของครู
6. การบริหารงานกิจการนักเรียนแบบร่วมแรงร่วมใจ เพื่อการแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา


7. การพัฒนาการนิเทศภายในแบบร้อยเปอร์เซ็นต เพื่อการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ของครูระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน

8. การพัฒนารูปแบบการบริหารโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อพัฒนาจิตสานึกประชาธิปไตยในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ส าหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1
9. การพัฒนาการบริหารแบบ ASTEAM เพื่อ การประกันคุณภาพภายในโรงเรียนระดับการศึกษาขั้น

พื้นฐาน
10. การพัฒนากระบวนการบริหารแบบพาคิด พาท า เพื่อการท าวิจัยของครู ระดับการศึกษาขั้น

พื้นฐาน ฯลฯ

2.การบริหารเพื่อแสวงหาและสร้างนวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา
แหล่งสืบคนตัวอย่างนวัตกรรม




3. ขั้นตอนการพฒนานวัตกรรม
ขั้นตอนการวิจัยเชิงการพัฒนา (Research and Development) โดยทั่วไปมักก าหนดเป็น
3 ขั้นตอนดังนี้


ี่
ขั้นท 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพ โดยด าเนินการในขั้นตอนย่อยๆ ดังน
ี้
ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ยกร่างนวัตกรรม (สื่อ วิธีการสอน หลักสูตร การวัดและการประเมิน และกระบวนการ
บริหาร)
เสนอผู้เชี่ยวชาญ

ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง/เป้าหมาย 1, 2,……. ( อาจจะหาประสิทธิภาพ E1/E2 )



ขั้นท 2 ศึกษาผลการน าไปใช้
ี่
น าไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมาย ท าการทดสอบผลและประเมินผลการใช โดย

อาจจะ



- เปรียบเทียบก่อนใช และหลังใช ( ใช t-test แบบ t-pair)



- เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ก าหนด ( ใช t-test แบบ one-sample)

ี่
ขั้นท 3 ประเมินผล
ใช้แบบวัดความพึงพอใจ แบบวัดทัศนคติ แบบวดความคิดเห็น หรือใช้รูปแบบประเมินใดๆ

เพื่อการประเมินผลการใช้นวัตกรรมนั้น
กล่าวโดยสรุปขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมคือ เริ่มต้นด้วยการสร้างหรือการพัฒนา ซึ่ง
หมายถึงการยกร่างนวัตกรรมขึ้นมาใหม่ หรือการพัฒนาวัตกรรมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น จากนั้นสู่ขั้นตอน


การน านวัตกรรมไปใช หมายถึง การน านวัตกรรมไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อรับรองผลว่ามีผลการใช ้

อยู่ในระดับดี โดยยืนยันจากผลการทดสอบ และในขั้นตอนสุดท้ายคอ การประเมินผลการใช้นวัตกรรม
หมายถึงการสอบถามความคิดเห็น หรือความพึงพอใจที่มีต่อนวัตกรรมนั้นๆ ว่าดีมีประโยชน์ มีคุณค่า

สามารถน าไปใช้ได้เป็นอย่างดี โดยยืนยันจากเครื่องมือการวดและประเมินผลนวัตกรรมนั้น


4. การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา
โดยทั่วไปการเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา เต็มรูปแบบ จะ
แบ่งส่วนส าคัญออกได้ 3 ส่วนคือ (1) ส่วนน า (2) ส่วนเนื้อหา และ (3) ส่วนอ้างอิง

เค้าโครงรายงานการวิจัย
ชื่อเรื่อง


บทคัดย่อ
ส่วนน า กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ
บทน า

เอกสาร/งานวิจัย

รายงานการวิจัย ส่วนเนื้อหา วิธีด าเนินการ

ผลการวิเคราะห สรุป/
อภิปราย/เสนอแนะ
บรรณานุกรม
เนื้อหาเพิ่มเติม
หลักฐาน


ส่วนอ้างอิง ประวัติ ผู้วิจัย





แผนภาพที่ 9 แสดงการเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา

กรณีตัวอย่าง 1 การพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา
“รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก”




โรงเรียนขนาดเล็กในสังกัดส านกงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐานที่มีนักเรียนไม่เกิน
๑๒๐ คนรูปแบบนวัตกรรมที่สามารถน าเสนอเป็นแบบอย่างในการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก
โดยจ าแนกได้เป็น ๔ รูปแบบ ได้แก่

๑. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
๒. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์

๓. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระบบทางไกลผ่านดาวเทียม
๔. รูปแบบการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา





กรณีตัวอย่าง 2 การพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารการศึกษา
“การบริหารการจัดการเรียนการสอนทางไกลโดยใช้สื่อประสม (Teleconference Multi –
media)”



ตารางที่ 1 เกณฑ์การประเมินคณภาพผลงานหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรมจากคู่มือการ
ด าเนินงานโครงการหนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจ าป ๒๕๕๕




ระดับคณภาพ
มิติคุณภาพ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓
๑. คุณค่าทาง มีการคิดที่ไม่ซับซ้อน ใช มีกระบวนการคิดที่ มีก ร ะ บ ว น ก า ร คิดที่

วิชาการ ข้อมูลด้านเดียว แสดง หลากหลาย แสดงถึง เชื่อ ม โ ยง สัมพัน ธ์เ ป็น ร ะ

- กระบวนการคิด แนวคิดหลักการ ทฤษฎ แนวคิดหลักการ ทฤษฎ บ บสมเหตุสมผล แสดงถึง


และการพัฒนา แนวคิด หลักการทฤษฎ ี
- ผลลัพธ์ที่เกิด หรือจุดเน้นของ หรือจุดเน้นของ หรือจุดเน้นของนวัตกรรม

และผลกระทบ นวัตกรรมที่ใช้ในการ นวัตกรรมที่ใช้ในการ ที่ใช้ในการพัฒนา มี
พัฒนา มีความคิดรวบ พัฒนา มีความคิด รวบ ความคิดรวบยอดและ
ยอดและความถูกต้อง ยอดและความถูกต้อง ความถูกต้องของสาระที่
ของสาระที่น าเสนอ มี ของสาระที่น าเสนอ มี น าเสนอ มีขั้นตอนการ

ขั้นตอนการปฏิบัติที่น าสู่ ขั้นตอนการปฏิบัติที่น าสู่ ปฏิบัติที่น าสู่ผลที่ก าหนด
ผลตามแบบที่เคยมีหรือ ผลโดยออกแบบ ไว้ได้อย่างแท้จริง ท าให้
ท าไว้แล้ว เกิดผลใน เอง สามารถปรับปรุง เกิดองค์ความรู้ใหม่ และมี
ระยะสั้น เฉพาะตัว แก้ไขให้ดีขึ้น เกิดผลต่อ ทิศทางการพัฒนาอย่าง

กลุ่มที่เกี่ยวข้องใน ต่อเนื่อง ส่งผลระยะยาว
ช่วงเวลาหนึ่ง ต่อสังคมโดยรวมอย่าง

คุ้มค่า
๒.ประโยชน์ของ เป็นผลงานที่น าสู่ผลการ เป็นผลงานที่น าสู่ผลการ เป็นผลงานที่น าสู่ผลการ

นวัตกรรม พัฒนาเฉพาะด้าน และ พัฒนาด้านต่าง ๆ และ พัฒนาที่ยั่งยืน มีผลถึงการ
- ความส าคัญต่อ ท าให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเฉพาะ ท าให้ เปลี่ยนแปลงพัฒนาการ
วิชาชีพ คนเกิดการเรียนรู้ การ ผู้ที่เกี่ยวข้องเฉพาะกลุ่ม รอบด้านของ ผู้ที่เกี่ยวข้อง
- การน าไปใช ้ น าไปใช้ยังไม่ เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งในระดับโรงเรียน และ

แพร่หลาย กว้างขวาง การน าไปใช้จ ากัดเฉพาะ ส่งผลถึงชุมชน เกิดการ
กลุ่ม หรือเฉพาะส่วนงาน เรียนรู้
ร่วมกันจริง การน าไปใช ้
สามารถน าไปประยุกต์ใช ้

ได้ในวงกว้าง อย่างทั่วถึง
๓. ลักษณะของ เป็นผลงานที่มีลักษณะ เป็นผลงานที่ดัดแปลง เป็นผลงานที่สร้างสรรค ์
ผลงาน เหมือนที่มีอยู่ทั่วไป จากผลงานทั่วไป ขึ้นมาใหม่ทั้งหมด
- ความแปลกใหม่ บางส่วน

ที่โดดเด่น
๔. การมีส่วน ผู้ที่เกี่ยวข้องเฉพาะกลุ่ม ผู้ที่เกี่ยวข้องหลายกลุ่มมี ทุกคนที่เกี่ยวข้องมีส่วน
ร่วม เฉพาะคน ได้ร่วมคิด ส่วนร่วมคิด ร่วมท า ใน ร่วมคิด วางแผน ตัดสินใจ

- ความลากหลาย ร่วมท าตามงานที่ก าหนด บางขั้นตอนของ ลงมือท าน าเสนอ ประเมิน
ของผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือออกแบบไว้แล้ว ใน กระบวนการท างาน หรือ และชื่นชมในผลที่เกิดขึ้น
- พฤติกรรมการมี ระยะเริ่มต้นเท่านั้น ในระยะใดระยะหนึ่ง ในกระบวนการท างาน
ส่วนร่วม เท่านั้น ตั้งแต่ต้นจนจบอย่าง

- ระยะเวลา ต่อเนื่อง

๕. การน าเสนอ การน าเสนอผลงานไม่ การน าเสนอผลงานเป็น การน าเสนอผลงานเป็น

- เทคนิคการ ต่อเนื่อง ขาดตอน เสนอ ล าดับ ต่อเนื่อง มีความ ล าดับขั้นตอน แสดงให้
น าเสนอ แต่ประเด็นหลัก ขาด ชัดเจนน่าสนใจ มี เห็นความเชื่อมโยง
- รายละเอียด รายละเอียดของข้อมูล รายละเอียดของข้อมูล สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ
ของข้อมูล และหลักฐานที่สนับสนุน บ้าง แต่ไม่ครอบคลุม มีความกระชับ ชัดเจน
- หลักฐาน ให้เห็นภาพงานที่ชัดเจน ทุกเรื่องที่ท า มีหลักฐาน และน่าสนใจ มีายละเอียด

ร่องรอย ร่องรอยที่เชื่อมั่นได้ว่ามี ของข้อมูลยืนยันสนับสนุน
การลงมือท าจริง เกิดผล เพียงพอว่าลงมือท า จริง มี
จริง ผลเกิดขึ้นจริง มีร่องรอย

หลักฐานชัดเจนตรงตาม
งานที่ท า เชื่อถือได้


ส านักงานเลขาธิการคุรุสภาขอการประกาศผลการคัดสรรผลงานหนึ่งโรงเรียน หนงนวัตกรรม
ึ่
“ระดับประเทศ” (รอบแรก) ประจ าปี 2555 จ านวน 87 เรื่อง ดังน ี้

ด้านการบริหารและการจัดการสถานศึกษา จ านวน 20 เรื่อง
ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ จ านวน 21 เรื่อง
ด้านสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา จ านวน 13 เรื่อง

ด้านการวัดและประเมินผล ไม่มีผลงานผ่านเกณฑ์การประเมิน
ด้านจิตวิทยา จ านวน 3 เรื่อง
ด้านหลักสูตร จ านวน 7 เรื่อง
ด้านแหล่งเรียนรู้ จ านวน 23 เรื่อง



ทั้งนี้ ผลงานนวัตกรรมสถานศึกษาทั้ง 87 เรื่องที่ผ่านการคัดสรร จะต้องน าเสนอนทรรศการ
ผลงานให้คณะกรรมการตรวจและประเมินผลงาน ฯ ประเมินรอบตัดสิน เพื่อรับรางวัลผลงาน
นวัตกรรมระดับประเทศ
ประจ าปี 2555 ในระหว่างวันที่ 11 -13 กันยายน 2555 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ สุขุมวิท 11

กรุงเทพมหานคร โดยส านักงานเลขาธิการคุรุสภาจะมีหนังสือแจ้งรายละเอียดให้สถานศึกษาทราบ
ต่อไป




กรณตัวอย่าง 3 หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจ าป ๒๕๕๕
๑.) ชื่อผลงานนวัตกรรม
๒.) การส่งผลงานนวัตกรรม
๓.) ประเภทผลงานนวัตกรรม

๔). ผู้เสนอผลงานนวัตกรรม
๕.) คณะครูผู้ร่วมพัฒนาผลงานนวัตกรรม
๖.) ข้อมูลสถานศึกษา


๗.) ข้อมูลครุสภาเขตพื้นที่การศึกษา
บทสรุป

ความเปนมาและความส าคัญ

วัตถุประสงค

กระบวนการพัฒนาผลงานนวัตกรรม

๑) สภาพปัญหาก่อนการพฒนา

๒) กรอบแนวคิด


๓) ขั้นตอนการด าเนนงานพฒนา
๔) ผลงานที่เกิดขึ้นจากการด าเนินงาน
๔.๑ ผลที่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียน
๔.๒ ผลที่เกิดขึ้นกับครู
๔.๓ ผลที่เกิดขึ้นกับผู้บริหาร
๔.๔ ผลที่เกิดขึ้นกับโรงเรียนและชุมชน
๕.) สรุปสิ่งที่เรียนรู้และการปรับปรุงให้ดีขึ้น

๖.) การขยายผลและเผยแพร่ผลการพัฒนา
ื่
ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเนอง


Click to View FlipBook Version