The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน PSM

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Cps HR, 2022-05-20 01:18:36

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน PSM

ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน PSM

คู่มือพนักงาน
กฎ ระเบยี บข้อบังคบั เกยี่ วกบั การทางาน

ของ
บริษทั เพม่ิ ทรัพย์ 88 มาร์เกต็ ติง้ จากดั

คานา

ในนามของ บริษทั เพมิ่ ทรัพย์ 88 มาร์เกต็ ติ้ง จากดั ขอตอ้ นรับทา่ นเขา้ ร่วมงานกบั บริษทั ฯ ดว้ ย
ความยนิ ดีอยา่ งยง่ิ และหวงั วา่ ท่านจะมีความรักในองคก์ รแห่งน้ี มีความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิงาน
ตลอดจนมีความสุขกบั การทางาน ไดพ้ บเพ่ือนร่วมงานที่ดี ช่วยเหลือร่วมมือกนั สร้างสรรคผ์ ลงาน ใหเ้ กิด
ประโยชนเ์ พ่ือความเจริญกา้ วหนา้ แก่ท่านและบริษทั ฯตอ่ ไป บริษทั ฯ มีจุดมงุ่ หมายที่จะใหพ้ นกั งานไดท้ ราบ
ถึงระเบียบขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางาน รวมถึงสิทธิ ผลประโยชน์ และสวสั ดิการต่าง ๆ ท่ีบริษทั ฯ จดั ใหแ้ ละ
เพอ่ื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจและสามารถปฏิบตั ิตามไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง จึงไดด้ าเนินการจดั ทา ”คู่มือพนกั งาน” ข้ึน
เพือ่ ใหเ้ ป็นหมวดหมแู่ ละศึกษาทาความเขา้ ใจไดง้ ่าย

หากพนกั งานมีกรณีขอ้ สงสยั เกี่ยวกบั ระเบียบขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางานในหนงั สือคู่มือพนกั งาน
น้ีขอใหพ้ นกั งานสอบถามผบู้ งั คบั บญั ชาตน้ สังกดั โดยตรงตามลาดบั ช้นั และหากพนกั งานท่านใดยงั มีกรณี
ขอ้ สงสยั ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาสูงสุดตน้ สงั กดั ดหน่วยงานสอบถามไดท้ ่ี ฝ่ายบริหารทรัพยากรบคุ คล ท้งั น้ีคาวนิ ิจฉยั
สุดทา้ ยของกรรมการผจู้ ดั การถือเป็นขอ้ ยตุ ิเพอ่ื ถือไวเ้ ป็นแนวทางการดาเนินการปฏิบตั ิต่อไป

สารบญั

สารบัญ

ค่านิยมบริษัท
ข้อพงึ ประพฤติปฏบิ ตั ิของพนกั งาน
ข้อแนะนาเม่ือมีปัญหา
บทท่ี 1 บททั่วไป

1.1 บริษทั ฯ
1.2 พนกั งาน
บทท่ี 2 ประเภทพนกั งาน
2.1 พนกั งานทดลองงาน
2.2 พนกั งานประจา
2.3 พนกั งานรายวนั
บทท่ี 3 การจ้างและการบรรจุพนักงาน
3.1 คุณสมบตั ิของผทู้ ่ีจะเป็นพนกั งาน
3.2 การผา่ นการทดลองงาน
3.3 การเปลี่ยนแปลง และโยกยา้ ยตาแหน่งหนา้ ท่ีการงาน
บทที่ 4 วันทางาน เวลาทางานปกติ เวลาพกั วนั หยุดงาน และการบนั ทกึ เวลาทางาน
4.1 พนกั งานประจาสานกั งาน
4.2 วนั หยดุ ตามประเพณี
4.3 วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี
4.4 การบนั ทึกเวลาทางาน
บทที่ 5 ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยดุ และค่าล่วงเวลาในวนั หยุด
5.1 การจ่ายคา่ จา้ งและการรับค่าจา้ ง
5.2 การกาหนดค่าจา้ ง
5.3 การข้นึ อตั ราค่าจา้ งและการปรับอตั ราคา่ จา้ ง
5.4 การคานวณค่าล่วงเวลา และคา่ ทางานในวนั หยดุ
บทที่ 6 วันลา และหลกั เกณฑ์การลาหยดุ งาน
6.1 การลากิจ
6.2 การลาป่ วย
6.3 การลาคลอด

6.4 การลาเพอื่ รับราชการทหาร
6.5 การลาเพ่ือทาหมนั
6.6 การลาเพ่ือฝึกอบรมหรือพฒั นาความรู้ความสามารถ

บทที่ 7 สวสั ดกิ าร และสิทธิประโยชน์
7.1 ประกนั สงั คม
7.2 กองทุนเงินทดแทน
7.3 เคร่ืองแบบพนกั งาน
7.4 โบนสั
7.5 ประกนั ชีวติ ประกนั อุบตั ิเหตุ ประกนั สุขภาพ
7.6 การตรวจสุขภาพประจาปี
7.7 การฝึกอบรม
7.8 กีฬา และบนั เทิง
7.9 เงินช่วยเหลือกรณีสามี, ภรรยา, บุตร, บิดา, มารดา เสียชีวิต
7.10 เงินกูย้ มื กรณีซ่อมแซมท่ีอยอู่ าศยั , รักษาพยาบาล สามี, ภรรยา, บุตร, บิดา, มารดา
7.11 เบ้ียเล้ียงและค่าใชจ้ ่ายในเรื่องการเดินทาง

บทที่ 8 วินัย และโทษทางวินัย
8.1 ระเบียบวินยั เก่ียวกบั การมาทางาน
8.2 ระเบียบวินยั เกี่ยวกบั ความประพฤติ
8.3 การลงโทษทางวินยั

บทท่ี 9 การร้องทุกข์ และการเสนอความคดิ เห็น
9.1 การร้องทุกข์
9.2 การเสนอความคิดเห็น

บทท่ี 10 การพ้นสภาพจากการเป็ นพนกั งาน
10.1 ถึงแก่กรรม
10.2 ลาออก
10.3 เกษยี ณอายุ
10.4 เลิกจา้ ง

บทที่ 11 เงินชดเชยเม่ือพ้นสภาพจากการเป็ นพนกั งาน

ค่านิยมบริษทั

บริษทั เพิ่มทรัพย์ 88 มาร์เกต็ ติ้ง จากดั มีคา่ นิยมในการประกอบธุรกิจ ซ่ึงพนกั งานทุกคนตอ้ งพึง
ประพฤติปฏิบตั ิในฐานะตวั แทนของบริษทั ฯ ดงั น้ี

1. ซ่ือสตั ย์
คอื การมีความซื่อตรง มีความซื่อสตั ย์ มีความจริงใจตอ่ ผอู้ ื่น คนเราอยรู่ ่วมตวั กนั ตอ้ งมีความซื่อสัตย์

สุจริต และจริงใจต่อกนั ไมเ่ ป็นคนคดในขอ้ งอในกระดูกไม่มีลบั ลมคมในตอ่ กนั พูดคาใดตอ้ งมีดงั ท่ีพูด ไม่
โกหกหลอกลวงกนั ความอยา่ ง ใจจริงเป็นอยา่ งไรตอ้ งพดู แสดงออกไปตามความจริง

คนซ่ือตรงเป็นคนมีเกียติ ผอู้ ่ืนให้ความเคารพและใหก้ ารยกยอ่ งวา่ เป็นคนดี อาชีพทกุ ชนิดมีเกียติ คน
โกงเป็นบุคคลไมน่ ่าคบ ความซ่ือสัตยส์ ุจริตที่แสดงออกท้งั กาย วาจา ใจ เป็นสิ่งประเสริฐ

ประโยชน์และความสาคญั ของความซ่ือสตั ยส์ ุจริต ผใู้ ดประพฤติปฏิบตั ิ แต่ความซ่ือสัตย์ จะไดร้ ับ
การยกยอ่ งสรรเสริญวา่ เป็นคนมีเกียติไดร้ ับความไวว้ างใจ ไดร้ ับการยอมรับและเชื่อถือ

เป็นคุณธรรมอนั สาคญั ที่สุดที่ประเทศชาติตอ้ งการ เม่ือประกอบกิจการงานใดกม็ ีแตค่ วาม
เจริญกา้ วหนา้ หากจะประกอบอาชีพพนกั งานลูกจา้ งก็เป็นสิ่งที่ตอ้ งการของนายจา้ งและบริษทั หา้ งร้านตา่ ง ๆ
และจะมีความเจริญกา้ วหนา้ ในงานท่ีทาอยา่ งไมม่ ีท่ีสิ้นสุด

2. ขยนั ทุ่มเท อดทน
คือ การท่ีพนกั งานมีความต้งั ใจมุ่งมนั่ การทางาน ไม่ทอ้ แทแ้ มบ้ างคร้ังงานน้นั จะยาก หรือมีอุปสรรค

ตา่ งๆบางอยา่ งบา้ งกม็ านะทาจนสาเร็จ เมื่อมีเวลาวา่ งกใ็ ชเ้ วลาน้นั ใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ การทางานของตนโดย
ศึกษาคน้ ควา้ จากแหลง่ ความรู้ต่างๆเพมิ่ เติม เม่ือมีปัญหาหรือขอ้ สงสัยดา้ นการงานก็พยายามศึกษาหาความรู้
ดว้ ยวธิ ีการท่ีถกู ตอ้ งเพ่ือคล่ีคลายปัญหาของตนอยเู่ สมอ

3. สร้างสรรคส์ ่ิงใหม่
คือ ความสามารถในการมองเห็นความสัมพนั ธ์ของส่ิง ต่างๆ การขยายขอบเขตความคิดออกไปจาก

กรอบความคิดเดิมที่มีอยสู่ ู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไมเ่ คยมีมาก่อน เพ่อื คน้ หาคาตอบท่ีดีที่สุดใหก้ บั ปัญหาที่เกิดข้ึน
เป็นการสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ท่ีแตกต่างไปจากเดิม เป็นความคิดที่ หลากหลาย คิดไดก้ วา้ งไกล หลายแง่หลายมุม
เนน้ ท้งั ปริมาณและคณุ ภาพ ท้งั น้ี ความคดิ น้นั ตอ้ งเป็นส่ิงใหม่ไม่เคยมีมาก่อน (New Original) ใชก้ ารได้
(Workable) และมี ความเหมาะสม (Appropriate) การคดิ เชิงสร้างสรรคจ์ ึงเป็นการคดิ เพอ่ื การเปลี่ยนแปลงจาก
ส่ิงเดิมไปสู่ส่ิง ใหม่ท่ีดีกวา่

4. มีวินยั
หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คบั สาหรับควบคมุ ความประพฤติทางกาย วาจา ของคนในสังคม

ใหเ้ รียบร้อยดีงาม เป็นแบบแผน อนั หน่ึงอนั เดียวกนั จะไดอ้ ยรู่ ่วมกนั ดว้ ยความสุขสบาย ไม่กระทบกระทง่ั ซ่ึงกนั และ
กนั วินยั ช่วยใหค้ นในสังคมห่างไกลจากความชว่ั ท้งั หลาย การอยรู่ ่วมกนั เป็นหมู่เหล่า ถา้ ขาดระเบียบวินยั ต่างคนต่าง
ทาตามอาเภอใจ ความขดั แยง้ และลกั ลนั่ ก็จะเกิดข้นึ ยงิ่ มากคนก็ยงิ่ มากเร่ือง ไม่มีความสงบสุข การงานที่ทาก็จะเสียผล
ดอกไมจ้ านวนมากท่ีวางรวมกนั หากวางอยรู่ ะเกะระกะกระจดั กระจาย ก็จะดอ้ ยคา่ ลง ท้งั ยงั ทาใหร้ กรุงรังอีกดว้ ย แต่
เมื่อเรานาดอกไมเ้ หล่าน้ีมาร้อยรวมเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยเส้นดา้ ย ดอกไมเ้ หล่าน้ีกจ็ ะกลายเป็นพวงมาลยั อนั งดงาม เหมาะท่ีจะ
นาไปประดบั ตกแตง่ ใหเ้ จริญตาเจริญใจ ถา้ ประชาชนแต่ละคนเป็นเสมือนดอกไมแ้ ตล่ ะดอก เส้นดา้ ยท่ีใชร้ ้อยดอกไม้
ใหร้ วมกนั ยอู่ อยา่ งมีระเบียบงดงามน้นั กเ็ ปรียบเสมือนวนิ ยั

วนิ ยั จึงเป็นส่ิงที่ใชค้ วบคุมคน ใหค้ นเราใชค้ วามรู้ความสามารถไปในทางท่ีถูกที่ควร คือทาคนให้
เป็นคน “ฉลาดใช”้ นน่ั เอง

5. ใฝ่คุณธรรม
หมายถึง เป็นคนศรัทธาในศาสนา ยดึ มน่ั ในหลกั ธรรมมีค่านิยมที่ถูกตอ้ ง มีความรักและใหอ้ ภยั มี

สามคั คีธรรม กตญั ญตู ่อสถาบนั และผมู้ ีพระคณุ มีความเขา้ ใจ และซาบซ้ึงในคุณค่าของวฒั นธรรม มีความ
ซื่อสัตย์ อดทน สามารถบรู ณาการวทิ ยาการ และเทคโนโลยเี ขา้ กบั สัจธรรมอนั สูงส่ง เพอ่ื การดารงชีวิตที่มี
คุณค่าตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน

6. ทดแทนคุณแผน่ ดิน
หมายถึง การประพฤติปฏิบตั ิตนเป็นคนดี เป็นสถาบนั ที่ดี เป็นองคก์ รท่ีดี เป็นตวั อยา่ งที่ดี มุ่งกระทาแต่

ความดีเพ่อื ประโยชน์ของสงั คมและประเทศชาติ ต่อไป

ข้อพงึ ประพฤตปิ ฏิบัติของพนักงาน

บริษทั ฯ กาหนดขอ้ พึงประพฤติปฏิบตั ิไวใ้ หพ้ นกั งานนาไปใชใ้ นการทางาน ดงั ต่อไปน้ี

1. การรักษาทรัพย์สินของบริษทั ฯ
ทรัพยส์ ินของบริษทั ฯ หมายถึง สงั หาริมทรัพยแ์ ละอสงั หาริมทรัพยท์ ้งั ปวงของบริษทั ฯ รวมถึง
เทคโนโลยี ความรู้ทางวชิ าการ ขอ้ มลู เอกสารสิทธ์ิ สิทธิ ลขิ สิทธ์ิ สิทธิบตั ร ตลอดจนส่ิงประดิษฐ์ และ
ความลบั ของบริษทั ฯ พนกั งานมีหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบท่ีจะใชท้ รัพยส์ ินของบริษทั ฯ ใหไ้ ดป้ ระโยชน์
อยา่ งเตม็ ที่ และดูแล มิให้เส่ือมเสีย สูญหาย อีกท้งั ไมน่ าไปใชเ้ พอื่ ประโยชนข์ องตนเอง หรือผอู้ ื่นเวน้ แต่จะ
ไดร้ ับอนุญาตจากผมู้ ีอานาจอนุมตั ิ
นอกจากน้ีหา้ มมิใหพ้ นกั งานเปิ ดเผยขอ้ มูลของบริษทั ฯ และลกู คา้ ท่ีตนไดล้ ว่ งรู้มาเนื่องจากการดาเนินธุรกิจ
อนั เป็นขอ้ มูลที่ตามปกติวิสยั จะพึงสงวนไวไ้ มเ่ ปิ ดเผย เวน้ แตจ่ ะไดร้ ับความยนิ ยอมจากบริษทั ฯ และลูกคา้ หรือเป็นการ
เปิ ดเผยตามกฎหมาย

2. การรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ
พนกั งานไมพ่ ึงกระทาการใด ๆ อนั เป็นการขดั ตอ่ ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ไดแ้ ก่ การมีกิจกรรม
หรือกระทาการใด ๆ อนั อาจทาใหบ้ ริษทั ฯ เสียผลประโยชนห์ รือไดป้ ระโยชน์นอ้ ยกว่าท่ีควร หรือเป็นการ
แบง่ ผลประโยชนจ์ ากบริษทั ฯ ตวั อยา่ ง เช่น

2.1 การแข่งขันกบั บริษัทฯ
พนกั งานไมพ่ ึงประกอบการ ดาเนินการ หรือลงทุนใด ๆ อนั เป็นการแข่งขนั หรืออาจเป็ น
การแข่งขนั กบั กิจการของบริษทั ฯ หรือดาเนินการลกั ษณะนายหนา้ ตวั แทนให้กบั บริษทั ฯ ในกรณีท่ีพนกั งานไดล้ งทุน
หรือมีกิจการที่เป็นการแข่งขนั หรืออาจเป็นการแขง่ ขนั กบั บริษทั ฯ หรือ มีหุน้ ของบริษทั คู่แขง่ หรือมีกิจการในลกั ษณะ
นายหนา้ ตวั แทนใหก้ บั บริษทั ฯ แต่ไดล้ งทนุ มีกิจการหรือมีหุน้ น้นั อยกู่ ่อนที่จะเขา้ เป็ นพนกั งานของบริษทั ฯ หรือ
ก่อนท่ีบริษทั ฯจะเขา้ ไปทาธุรกิจ นนั้ หรือไดม้ าโดยทางมรดก หรือจากการใหโ้ ดยเสน่หา พนกั งานจะตอ้ งรายงานให้
ผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั ช้นั ทราบ
2.2 การซื้อหุ้นหรือเป็ นหุ้นส่วนในกจิ การของคู่แข่ง
พนกั งานอาจซ้ือหุน้ หรือเขา้ เป็นหุน้ ส่วนของบริษทั ฯ หรือธุรกิจท่ีดาเนินกิจการแข่งขนั กบั
บริษทั ฯ ไดแ้ ต่มีขอ้ พงึ พจิ ารณาดงั ต่อไปน้ี หากพนกั งานมีหุน้ ของคู่แข่งขนั จนทาใหพ้ นกั งานกระทาการ หรือละเวน้
การกระทาที่ควรทาตามหนา้ ท่ี หรือจนทาใหก้ ระทบกระเทือนต่องานของพนกั งานท่ีจะปฏิบตั ิใหบ้ ริษทั ฯ แลว้ การมี
หุน้ น้นั ก็ถือไดว้ า่ เป็นเรื่องไม่สมควร
2.3 การใช้ข้อมูลของบริษทั ฯ หาประโยชน์
พนกั งานยอ่ มไม่หาประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเองหรือผอู้ ่ืนโดยอาศยั ขอ้ มูลของบริษทั ฯ หรือโดยท่ีผอู้ ื่นอาจ
เขา้ ใจวา่ อาศยั ขอ้ มลู ของบริษทั ฯ แมว้ า่ บริษทั ฯ อาจไม่เสียประโยชน์ใด ๆ ก็ตาม เช่น การซ้ือขายหุน้ ของบริษทั ฯใน
ขณะท่ีจะประกาศผลการดาเนินงาน หรือจ่ายเงินปันผล หรือจะมีโครงการ หรือการดาเนินการใด ๆ ท่ีอาจมีผลใหร้ าคา
หลกั ทรัพยเ์ ปลี่ยนแปลง หรือการกระทาใด ๆ อนั เป็นไปในทางที่ส่อวา่ จะหาผลประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเองหรือผอู้ ่ืน

2.4 การรับประโยชน์และการเกี่ยวขอ้ งทางการเงินกบั ผทู้ าธุรกิจกบั บริษทั ฯ
พนกั งานยอ่ มไม่เรียกรับ หรือยนิ ยอมจะรับเงิน ส่ิงของ หรือประโยชน์อ่ืนใดจากลูกคา้ ผแู้ ทนจาหน่าย
พ่อคา้ ผรู้ ับเหมา ผขู้ ายสินคา้ และบริการใหบ้ ริษทั ฯ หรือจากบุคคลอ่ืนใดที่ทาธุรกิจกบั บริษทั ฯนอกจากน้ีพนกั งานไม่
พงึ เขา้ ไปเก่ียวขอ้ งทางการเงิน เช่น ร่วมทุน หรือทาการคา้ ใหย้ มื หรือกูย้ มื เงินเรี่ยไร ใชเ้ ช็คแลกเงินสด ซ้ือสินคา้ เช่ือ ซ้ือ
ขาย เช่นหรือใหเ้ ช่า หรือก่อ ภาระผกู พนั ทางการเงินใด ๆ กบั บุคคลเหลา่ น้ี
2.5 การรับของขวญั ตามประเพณีนิยม
ในโอกาสตามประเพณีนิยม ซ่ึ งมีธรรมเนียมการใหข้ องขวญั หากพนกั งานไดร้ ับของขวญั ที่มีมูลค่า
เกินปกติวิสยั จากผทู้ าธุรกิจกบั บริษทั ฯ ใหพนกั งานรายงานผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั ข้นั
3. การรักษาชื่อเสียงของบริษทั ฯ
พนกั งานยอ่ มมีสิทธิเสรีภาพในการประพฤติปฏิบตั ิในเร่ืองที่เป็นการส่วนตวั แตโ่ ดยท่ีบางเรื่องอาจ
กระทบกระเทือนถึงบริษทั ฯได้ ซ่ึงอาจเป็นเพราะระดบั ตาแหน่งหนา้ ที่ของพนกั งานรวมกบั ลกั ษณะของการกระทาน้นั
ๆ ดงั น้นั พนกั งานพึงหลีกเลี่ยงการกระทาใด ๆ อนั อาจกระทบกระเทือนต่อชื่อเสียงของบริษทั ฯหรืออาจเป็นปัญหาแก่
บริษทั ฯ ตวั อยา่ ง เช่น
3.1 การใชส้ ิทธิทางการเมือง
พนกั งานยอ่ มมีเสรีภาพในการใชส้ ิทธิทางการเมือง เช่น การลงคะแนนเสียงเลือกต้งั หรือเป็นสมาชิก
พรรคการเมือง แต่ถา้ พนกั งานไปรับหนา้ ที่เป็นกรรมการพรรคการเมือง หรือเป็นตวั แทนพรรคการเมืองในกิจกรรม
สาธารณะตา่ ง ๆ แลว้ อาจทาใหเ้ กิดความเขา้ ใจไดว้ า่ บริษทั ฯ มีส่วนเก่ียวขอ้ งหรือฝักใฝ่ พรรคการเมืองน้นั ได้ พนกั งาน
ควรหลีกเล่ียงการกระทาดงั กลา่ ว
3.2 การวางตวั ในสังคม
พนกั งานพึงรักษาเกียรติของตนใหเ้ ป็นท่ียอมรับในสงั คม ไม่พงึ ประพฤติตนหรือกระทาการใดๆ อนั
อาจนาความเส่ือมเสียมาสู่บริษทั ฯ

4. การปฏิบัติตนและการปฏิบตั ิต่อพนักงานคนอ่ืน
4.1 การปฏิบตั ิตนและการปฏิบตั ิตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา
พนกั งานที่เป็นผบู้ งั คบั บญั ชา พงึ ปฏิบตั ิตนใหเ้ ป็นท่ีเคารพนบั ถือของพนกั งานและพนกั งานไมพ่ ึง

กระทาการใด ๆ อนั เป็นการไม่เคารพนบั ถือผบู้ งั คบั บญั ชานอกจากน้ีพนกั งานตอ้ งปฏิบตั ิหนา้ ท่ีดว้ ยความซ่ือสัตยส์ ุจริต
ไม่แจง้ หรือรายงานเทจ็ หรือปกปิ ดขอ้ เทจ็ จริงเกี่ยวกบั การทางานต่อผบู้ งั คบั บญั ชา

4.2 ความมีวินยั
ปัจจยั สาคญั ที่ทาใหค้ นจานวนมากร่วมกนั ทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ คือความมีวินยั ไดแ้ ก่การ
ประพฤติปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั และประเพณีอนั ดีงามอยา่ งถูกตอ้ ง ไมว่ า่ จะระบุไวเ้ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
หรือไม่ก็ตาม และมีจิตสานึกท่ีจะประพฤติปฏิบตั ิเช่นน้นั ตลอดไป
4.3 การรักษาความสามคั คี
พนกั งานพึงรักษาไวซ้ ่ึงความสามคั คีในหมู่คณะหรือบริษทั ฯ และช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ดว้ ยความ
ซื่อสตั ยส์ ุจริต

ข้อแนะนาเม่ือมปี ัญหา

คา่ นิยมในการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ และขอ้ พึงประพฤติปฏิบตั ิของพนกั งานท่ีกาหนดไวน้ ้นั
คงจะไมส่ ามารถครอบคลุมถึงทกุ กรณีท่ีอาจมีข้ึน ดงั น้นั เมื่อมีปัญหาในทางปฏิบตั ิดงั กลา่ วเกิดข้ึน พนกั งาน
ควรปรึกษาผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั ข้นั

บทท่ี 1

บททว่ั ไป

วตั ถุประสงค์

เพ่อื ใหก้ ารดาเนินกิจการของบริษทั เพม่ิ ทรัพย์ 88 มาร์เกต็ ติง้ จากดั เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย
เหมาะสมตามวตั ถุประสงค์ และจุดมงุ่ หมายท่ีไดว้ างไว้ บริษทั ฯ จึงไดจ้ ดั ทากฎระเบียบขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางาน
เพ่อื ใหพ้ นกั งานของบริษทั ฯ รับทราบ และยดึ ถือในแนวปฏิบตั ิเดียวกนั อนั จะเป็นการเสริมสร้างและรักษาไวซ้ ่ึงความ
เขา้ ใจอนั ดี ความสามคั คี และความสัมพนั ธท์ ี่ดีระหวา่ งพนกั งาน กบั ผบู้ งั คบั บญั ชา พนกั งานกบั บริษทั ฯ และในหมู่
พนกั งานดว้ ยกนั เอง ซ่ึงจะนาไปสู่ความสงบเรียบร้อย และความมีประสิทธิภาพในการทางานร่วมกนั อยา่ งมีความสุข

1.1 ขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางานฉบบั น้ี ใชบ้ งั คบั พนกั งานประจาทุกคนของ บริษทั เพมิ่ ทรัพย์ 88 มาร์เกต็ ติ้ง จากดั
1.2 บรรดา กฎ ขอ้ บงั คบั ระเบียบ คาสัง่ ประกาศ หรือแนวปฏิบตั ิใดๆ ท่ีขดั หรือแยง้ กบั ขอ้ บงั คบั การทางานฉบบั น้ี
ใหย้ กเลิกและใหใ้ ชข้ อ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางานฉบบั น้ีแทน
1.3 บริษทั ฯ สงวนสิทธิท่ีจะเปล่ียนแปลง ยกเลิก แกไ้ ข เพม่ิ เติมขอ้ ความท้งั หมด หรือบางส่วนในขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั
การทางานฉบบั น้ี ไดต้ ามความเหมาะสมเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ สงั คม รวมท้งั สอดคลอ้ งกบั
กฎหมายแรงงาน และกฎหมายตา่ งๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง ท้งั น้ี เพ่ือใหบ้ ริษทั ฯ สามารถดาเนินธุรกิจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
สูงสุด

1.4 คานิยาม และความหมายในขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั การทางานฉบบั น้ี
“บริษทั ฯ” หมายถึง บริษทั เพิม่ ทรัพย์ 88 มาร์เก็ตติ้ง จากดั
“พนกั งาน” หมายถึง บคุ คลซ่ึงตกลงเป็นลูกจา้ งเพอ่ื ทางานใหแ้ ก่บริษทั เพมิ่ ทรัพย์ 88 มาร์เก็ตติ้ง จากดั
ตามเง่ือนไขที่กาหนด
“ปี ” หมายถึง ปี ปฏิทิน เวน้ แต่ขอ้ ความในขอ้ น้นั ๆ จะกาหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอื่น
“คา่ จา้ ง” หมายถึง เงินเดือนมูลฐาน ซ่ึงไม่รวมเงินอื่นใดที่บริษทั ฯและพนกั งานตกลงกนั จ่ายเป็น
ค่าตอบแทนในการทางานตามสัญญาจา้ งแรงงาน

1.5 นโยบายการจา้ งงานทว่ั ไป
1.5.1 บริษทั ฯ มีนโยบายที่จะวา่ จา้ งพนกั งานตามความเหมาะสมกบั งานที่มีอยเู่ ทา่ น้นั หน่วยงาน

บริหารทรัพยากรบุคคลจะเป็นผูส้ รรหาผสู้ มคั รท้งั ภายในและภายนอกท่ีมีคณุ สมบตั ิ รวมท้งั ผทู้ ่ีมีความสามารถตรง
ตามตาแหน่งท่ีตอ้ งการ เพือ่ หาผทู้ ี่เหมาะสมที่สุดสาหรับตาแหน่งที่ตอ้ งการน้นั ๆ โดยไม่คานึงถึงเช้ือ ชาติ ศาสนา สีผวิ
เพศ หรือความเชื่อใด

1.5.2 กรณีท่ีบริษทั ฯจะวา่ จา้ งงานพนกั งานใหม่ บริษทั ฯจะพจิ ารณาโดยการคดั เลือกจากพนกั งาน
ภายในท่ีมีความสามารถและความเหมาะสมก่อน การพิจารณาจา้ งงานจากบคุ คลภายนอก

จะกระทาต่อเมื่อพนกั งานภายในที่มีอยใู่ นปัจจุบนั มีไม่เพียงพอ ไม่เหมาะสม หรือเป็นตาแหน่งที่ตอ้ งการผทู้ ี่มีความ
ชานาญเฉพาะดา้ น

1.5.3 เมื่อหน่วยงานใดประสงคจ์ ะจา้ งงาน ผบู้ งั คบั บญั ชาของตาแหน่งงานที่ตอ้ งการจา้ งงานน้นั
จะตอ้ งจดั ทาใบขอรับพนกั งานตามแบบท่ีบริษทั ฯกาหนด เสนอผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั ช้นั พจิ ารณาอนุมตั ิตาม
กระบวนการที่บริษทั ฯ กาหนด เพื่อท่ีฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคลจะไดส้ รรหา คดั เลือกบคุ คลท่ีตอ้ งการใหต้ ่อไป

1.6 ผทู้ ี่ไดร้ ับการคดั เลือกเป็นพนกั งานจะตอ้ งมอบเอกสารต่อไปน้ีไวเ้ ป็นหลกั ฐานแก่หน่วยงาน
บริหารทรัพยากรบคุ คล

1.6.1 ใบสมคั รงานตามท่ีบริษทั ฯ กาหนด
1.6.2 สาเนาทะเบียนบา้ น
1.6.3 สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน
1.6.4 สาเนาหลกั ฐานการศึกษาข้นั สูงสุด (ตามคุณสมบตั ิที่บริษทั ฯตอ้ งการ)รวมท้งั ใบรับรอง
การผา่ นงาน (ถา้ มี)
1.6.5 ใบรับรองแพทยแ์ ละผลตรวจสุขภาพโดยแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึง ตามรายละเอียดท่ี
ทางบริษทั ฯ กาหนด
1.6.6 บตั รประกนั สงั คม / บตั รรับรองสิทธิ (ถา้ มี)
1.6.7 หลกั ฐานผา่ นการเกณฑท์ หาร (ถา้ มี) ท้งั น้ีบริษทั ฯ อาจใชด้ ุลยพินิจในการพิจารณา
เอกสารเป็นรายบคุ คลตามความเหมาะสม
1.6.8 หลกั ฐานอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น สาเนาทะเบียนสมรส สาเนาสูติบตั รของบุตร
สาเนาใบเปล่ียนชื่อ-สกุล หรืออื่นๆ ตามที่บริษทั ฯ จะกาหนด
1.7 ในกรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ เก่ียวกบั เอกสารตา่ งๆ ดงั กลา่ วในขอ้ 1.6 พนกั งานจะตอ้ งแจง้
ใหฝ้ ่ายบริหารทรัพยากรบุคคลทราบ และตอ้ งนาสาเนาเอกสารที่เปลี่ยนแปลงน้นั ๆ มอบใหแ้ ก่ฝ่ายบริหารทรัพยากร
บุคคลทุกคร้ัง ภายใน 7 วนั นบั แต่วนั ที่ไดม้ ีการเปลี่ยนแปลง
1.8 บริษทั ฯ สงวนสิทธิท่ีจะปรับปรุง เปล่ียนแปลง หรือโยกยา้ ยหนา้ ท่ีงาน หรือความรับผิดชอบ
ของพนกั งาน รวมท้งั การโอนยา้ ยพนกั งานไปปฏิบตั ิงาน ณ สานกั งาน หน่วยงาน หรือสาขาของบริษทั ฯ ท่ีต้งั อยยู่ งั
สถานที่ตา่ งๆ ไดต้ ามความเหมาะสมภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ิแรงงานสมั พนั ธ์

บทท่ี 2

ประเภทพนักงาน

2.1 พนกั งานทดลองงาน

หมายถึง พนกั งานท่ีบริษทั ฯ ตกลงรับเขา้ ทางานเพ่ือทดลองงานก่อนท่ีจะบรรจุเป็นพนกั งานประจา โดยมี
ระยะเวลาการทดลองงานไม่เกิน 119 วนั นบั ต้งั แต่ วนั เร่ิมเขา้ ทางาน และเม่ือครบกาหนดทดลองงาน หากผลงานเป็น
ที่พอใจ พนกั งานผนู้ ้นั จะไดร้ ับการพิจารณาบรรจุเป็นพนกั งานประจาของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯจะแจง้ ใหท้ ราบ แต่
หากผลงานไม่เป็นที่พอใจ ในระยะระหวา่ งเวลาทดลองงาน บริษทั ฯ มีสิทธิที่จะเลิกจา้ งไดแ้ ละไมจ่ ่ายค่าชดเชยแต่อยา่ ง
ใด โดยบริษทั ฯ จะมีการบอกกล่าวลว่ งหนา้ ตามระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด กรณีที่พนกั งานทดลองงานไดร้ ับการ
บรรจุเป็นพนกั งานประจาอายงุ านของพนกั งานจะเริ่มนบั ต้งั แต่วนั แรกที่บริษทั ฯ รับเขา้ เป็นพนกั งานทดลองงาน

2.2 พนกั งานประจา

หมายถึง พนกั งานที่บริษทั ฯ ไดบ้ รรจุเป็นพนกั งานประจาของบริษทั ฯ หลงั จากไดผ้ า่ นการทดลองงานมาแลว้
โดยใหด้ ารงตาแหน่งต่าง ๆ และใหไ้ ดร้ ับค่าจา้ งเป็นรายเดือน โดยรวมค่าจา้ งในวนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ วนั หยดุ ประเพณี
วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี และวนั หยดุ วนั ลาตา่ ง ๆ ตามท่ีกฎหมายแรงงานหรือบริษทั ฯ กาหนดใหไ้ ดร้ ับค่าจา้ ง

2.3 พนกั งานรายวนั

หมายถึง บุคคลที่ตกลงทางานกบั บริษทั และบริษทั ฯ ตกลงจ่ายค่าจา้ งใหใ้ นอตั รารายวนั พนกั งานรายวนั จะ
ไม่ไดร้ ับค่าจา้ งในวนั หยดุ ประจาสัปดาห์ แตจ่ ะไดร้ ับคา่ จา้ งในวนั หยดุ ตามประเพณี วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี และวนั ลา
ตามท่ีกฎหมายกาหนด

บทที่ 3

การจ้างและการบรรจุพนกั งาน

3.1 คณุ สมบตั ขิ องผู้ทจ่ี ะเป็ นพนักงาน

3.1.1 มีคณุ สมบตั ิตรงกบั ท่ีบริษทั ฯ ตอ้ งการ เช่น การศึกษา ประสบการณ์ ความชานาญ
3.1.2 มีสญั ชาติไทยหรือตา่ งชาติท่ีไมข่ ดั กบั กฎหมายวา่ ดว้ ยคนเขา้ เมืองและคนต่างดา้ ว
3.1.3 มีสุขภาพสมบูรณ์สมประกอบ ไมเ่ ป็นบคุ คลที่ติดยาเสพติดใหโ้ ทษ ไม่เป็นโรคติดตอ่ หรือโรคที่สงั คม
รังเกียจ และเป็นผทู้ ่ีมีสติสัมปชญั ญะสมบรู ณ์ ผลการเอก็ ซเรยป์ อด และการตรวจโรคจะตอ้ งไดร้ ับการรับรองจากแพทย์
3.1.4 ประวตั ิความประพฤติ ตอ้ งไม่เป็นอนั ธพาล ไม่เป็นผูม้ ีหนีสิ้นลน้ พน้ ตวั และไมเ่ คยถูกศาลพพิ ากษา
จาคกุ เวน้ แตเ่ ป็นความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานประมาท โดยบริษทั ฯ มีสิทธิจะดาเนินการตรวจสอบประวตั ิได้
3.1.5 ถา้ เป็นชาย ตอ้ งผา่ นพน้ การคดั เลือกเขา้ รับราชการทหาร หรือไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งเขา้ รับราชการ
ทหารมาแลว้
3.1.6 ตอ้ งไม่เป็นผทู้ ี่เคยถูกไลอ่ อก หรือใหอ้ อก โดยมีความผดิ ในการทางานจากสถานท่ีน้ีหรือสถานท่ีอ่ืนหรือ
เป็นบริษทั คแู่ ข่งทางการคา้ บุคคลซ่ึงบริษทั ฯ ไดบ้ รรจุเขา้ เป็นพนกั งานแลว้ ภายหลงั พบวา่ มีคณุ สมบตั ิไมค่ รบถว้ น
ดงั กลา่ ว ขา้ งตน้ เพราะบุคคลผนู้ ้นั มิไดแ้ จง้ คุณสมบตั ิตามความเป็นจริง หรือแสดงหลกั ฐานเทจ็ ให้แก่บริษทั ฯ หรือทา
ใหบ้ ริษทั ฯ เขา้ ใจผิดจากขอ้ เทจ็ จริง บริษทั ฯ มีสิทธิจะเลิกจา้ งเพราะบุคคลน้นั ไม่มีคุณสมบตั ิครบถว้ นตามที่กล่าวอา้ ง
และตรงกบั ความตอ้ งการของบริษทั ฯ แต่แรก

3.2 การผ่านการทดลองงาน

เม่ือผลการปฏิบตั ิงานของพนกั งานเป็นที่พอใจ บริษทั ฯ จะพิจารณาประเมินผลใหผ้ า่ นการทดลองงาน ใน
ระยะเวลาติดต่อกนั ไม่เกิน 119 วนั นบั ต้งั แตว่ นั เริ่มทดลองงาน ท้งั น้ี บริษทั ฯ จะแจง้ ใหท้ ราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

3.3 การเปลยี่ นแปลง และโยกย้ายตาแหน่งหน้าทกี่ ารงาน

3.3.1 มีคณุ สมบตั ิตรงกบั ที่บริษทั ฯ ตอ้ งการ เช่น การศึกษา ประสบการณ์ ความชานาญ
3.3.2 บริษทั ฯ ขอสงวนไวซ้ ่ึงสิทธิในการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งหนา้ ท่ีการงานของพนกั งานไดต้ ลอดระยะเวลา
ของการจา้ งงาน ท้งั น้ีเพ่ือประโยชนต์ อ่ การบริหารและการดาเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ใหม้ ีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน
3.3.3 เพ่ือความเหมาะสม หรือความตอ้ งการภายในหน่วยงานของบริษทั ฯ พนกั งานอาจไดร้ ับการพิจารณาให้
โยกยา้ ยหนา้ ท่ีการงาน ไมว่ า่ จะเป็นการโยกยา้ ยในหน่วยงานเดียวกนั หรือโยกยา้ ยไปหน่วยงานอื่น
3.3.4 บริษทั ฯ อาจพจิ ารณาโยกยา้ ยพนกั งานไปยงั ตาแหน่งท่ีมีความรับผดิ ชอบสูงข้ึน และไดร้ ับคา่ จา้ งเพิม่ ข้ึน
อยา่ งไร ก็ตามการเลื่อนตาแหน่งไมจ่ าเป็นตอ้ งไดร้ ับค่าจา้ งเพิม่ ข้นึ เสมอไป แต่เป็นการส่งเสริมใหพ้ นกั งานมีอนาคตใน
การทางานที่ดีข้นึ
3.3.5 บริษทั ฯ อาจพิจารณาโยกยา้ ยสถานท่ีทางานของพนกั งานจากสถานที่หน่ึงไปยงั สถานที่หน่ึงไดต้ ามความ
เหมาะสมในการบริหารของบริษทั ฯ ท้งั น้ีในการดาเนินการ ต้งั แต่ 3.3.1 – 3.3.5 บริษทั ฯ จะปฏิบตั ิตามกฎหมายแรงงาน

บทที่ 4

วนั ทางาน เวลาทางานปกติ เวลาพกั วนั หยดุ งาน และการบนั ทึกเวลาทางาน

4.1 วนั เวลาทางานปกตพิ นกั งานประจาโรงงาน ทางานสัปดาห์ละ 6 วนั

4.1.1 วนั ทางาน วนั จนั ทร์ ถึง วนั เสาร์ เวลาทางาน 08.00 – 17.00 น.

เวลาพกั 12.00 – 13.00 น.

4.1.2 วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ วนั อาทิตย์

ท้งั น้ี บริษทั ฯ หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมายจากบริษทั ฯ อาจกาหนดวนั และเวลาทางาน ปกติของพนกั งานเป็น

อยา่ งอ่ืนได้ แต่รวมแลว้ ตอ้ งไมเ่ กินสัปดาหล์ ะ 48 ชวั่ โมง โดยบริษทั ฯจะปฏิบตั ิตามกฎหมายแรงงาน

4.2 วนั หยดุ ตามประเพณี

บริษทั ฯ กาหนดใหม้ ีวนั หยดุ ตามประเพณี ปี ละไม่นอ้ ยกวา่ 13 วนั รวมวนั แรงงานแห่งชาติ โดย

ไดร้ ับค่าจา้ งเท่ากบั วนั ทางานปกติ ท้งั น้ี บริษทั ฯ จะประกาศใหท้ ราบลว่ งหนา้ เป็นปี ๆ ไป (ถา้ วนั หยดุ ตามประเพณีใด

ตรงกบั วนั หยดุ ประจาสัปดาห์ บริษทั ฯ จะหยดุ ชดเชยใหใ้ นวนั ทางานถดั ไป)

4.3 วนั หยดุ พกั ผ่อนประจาปี

4.3.1 บริษทั ฯ กาหนดใหพ้ นกั งานลาหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ได้ โดยไดร้ ับคา่ จา้ งตามเกณฑ์ ดงั น้ี

4.3.1.1 มีอายงุ านครบ 1 ปี บริบรู ณ์ข้ึนไป แตไ่ ม่เกิน 2 ปี ลาหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ไดป้ ี ละ 6 วนั ทางาน

4.3.1.2 มีอายงุ านครบ 3 ปี บริบรู ณ์ข้ึนไป ลาหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ไดป้ ี ละ 7 วนั ทางาน

4.3.1.3 มีอายงุ านครบ 4 ปี บริบรู ณ์ข้ึนไป ลาหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ไดป้ ี ละ 8 วนั ทางาน

4.3.1.4 มีอายงุ านครบ 5 ปี บริบรู ณ์ข้ึนไป ลาหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ไดป้ ี ละ 12 วนั ทางาน

ท้งั น้ี พนกั งานท่ีประสงคจ์ ะลาพกั ร้อนตอ้ งยนื่ ใบลาก่อนการลาอยา่ งนอ้ ย 7 วนั ทาการ

4.3.2 กรณีพนกั งานมีความจาเป็นท่ีจะหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี เป็นช่วงๆ ก็สามารถทาไดแ้ ต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ คราว

ละ 5 วนั ทางาน เพ่ือมิให้เป็นการเสียหายแก่บริษทั ฯ ผบู้ งั คบั บญั ชามีสิทธิที่จะเป็นผกู้ าหนดใหพ้ นกั งานลาหยดุ พกั ผอ่ น

ประจาปี ในวนั ใดก็ได้

4.3.3 สิทธิในการลาหยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ตามขอ้ 4.3.1.1 ถึงขอ้ 4.3.1.4 พนกั งานจะตอ้ งใชใ้ หห้ มด

ภายในปี เดียวกนั จะนาไปสะสมหรือสมทบกบั วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี ในปี ถดั ไปไม่ได้

4.4 การบนั ทกึ เวลาทางาน

พนกั งานทกุ คนจะตอ้ งบนั ทึกเวลาทางานทุกครั้งท่ีเขา้ ทางาน เลิกงาน หรือลาโดยไดร้ ับอนุญาตระหวา่ งทางาน

ไม่วา่ จะเป็นการมาทางานในวนั ปกติ หรือวนั หยดุ งานตามระเบียบวิธีการที่บริษทั ฯ กาหนดไว้ เวน้ แต่พนกั งานที่บริษทั

ฯ หรือผทู้ ี่บริษทั ฯ มอบหมาย พจิ ารณาอนุมตั ิใหไ้ ม่ตอ้ งบนั ทึกเวลาทางานหรือใหบ้ นั ทึกเวลาการทางานเป็นอยา่ งอื่น

บทท่ี 5

ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยดุ และค่าล่วงเวลาในวนั หยดุ

5.1 การจ่ายค่าจ้างและการรับค่าจ้าง

บริษทั ฯ จะจ่ายค่าจา้ ง และกาหนดการรับคา่ จา้ งใหแ้ ก่พนกั งาน ดงั ต่อไปน้ี
5.1.1 พนกั งานซ่ึงปฏิบตั ิงานตามปกติ ณ สานกั งาน จะไดร้ ับเงินเดือนจากบริษทั ฯ ณ สานกั งานน้นั ในทกุ วนั
สุดทา้ ยของเดือนถดั ไป
5.1.2 การรับค่าจา้ ง การท่ีบริษทั ฯ ไดโ้ อนเงินเขา้ บญั ชีเงินฝากในธนาคารกรุงเทพ เทา่ น้นั ซ่ึงใหถ้ ือเสมือนเป็น
หลกั ฐานในการโอนเงินเขา้ บญั ชีเงินฝากของพนกั งาน โดยไดร้ ับความยนิ ยอมจากพนกั งาน และเป็นเอกสารเกี่ยวกัการ
จ่ายเงินดงั กลา่ ว จึงไม่จาเป็นที่จะใหพ้ นกั งานลงลายมือชื่อรับค่าจา้ ง

5.2 การกาหนดค่าจ้าง

บริษทั ฯ ไดก้ าหนดคา่ จา้ งใหเ้ ป็นไปโดยยตุ ิธรรมและเหมาะสมกบั ตาแหน่งหนา้ ที่ และการกาหนดคา่ จา้ งน้นั
บริษทั ฯ ไดพ้ จิ ารณาโดยนาปัจจยั ต่างๆ มาประกอบ ดงั น้ี

5.2.1 สภาพทางเศรษฐกิจ ทวั่ ๆ ไปของประเทศ
5.2.2 สภาพอตั ราคา่ จา้ งในตลาดแรงงานภายในประเทศ
5.2.3 ระดบั ตาแหน่งหนา้ ที่ต่าง ๆ รวมท้งั สภาพทางานของหนา้ ที่ตา่ ง ๆ ภายในบริษทั ฯ
5.2.4 สถานการณ์ และความจาเป็นของบริษทั ฯ
5.2.5 พ้นื ฐานทางการศึกษา

5.3 การขนึ้ อตั ราค่าจ้างและการปรับอตั ราค่าจ้าง

5.3.1 การข้ึนเงินเดือนปกติตามผลการปฏิบตั ิงาน บริษทั ฯ จะพจิ ารณาข้ึนเงินเดือน เพื่อเป็นการตอบแทน
พนกั งาน เน่ืองจากการปฏิบตั ิงานปี ละ 1 คร้ัง กรณีพนกั งานเขา้ ใหม่ ท่ีอายงุ านยงั ไม่ครบ 1 ปี จะไดร้ ับการพิจารณาข้ึน
ค่าจา้ งตามความรู้ความสามารถ และความประพฤติตามสัดส่วนของอายงุ าน (PRO RATE) ส่วนพนกั งานเขา้ ใหม่จะ
ไดร้ ับการปรับค่าจา้ งตามสัดส่วนของอายงุ าน(PRO RATE) บวกทบกลบั เขา้ คา่ จา้ งหรือเงินเดือน ในรอบปี การปรับ
เดือนถดั ไป

5.3.2 การข้ึนเงินเดือนจากการเลื่อนตาแหน่ง จะพิจารณาจากการเลื่อนไปทางานในตาแหน่งใหม่ ซ่ึ ง
ตาแหน่งงานน้นั อยใู่ นกลมุ่ เงินเดือนท่ีสูงกวา่ และ / หรือ มีความรับผิดชอบงานมากกวา่ ตาแหน่งงานเดิม บริษทั ฯ ขอ
สงวนสิทธิจะไมข่ ้นึ เงินเดือน หากบริษทั ฯ ยงั ไม่มีความพร้อมในปัจจยั ประกอบตา่ งๆ

5.4 การคานวณค่าล่วงเวลา และค่าทางานในวนั หยุด

โดยปกติ บริษทั ฯ ไม่มีนโยบายท่ีจะใหพ้ นกั งานทางานล่วงเวลาหรือมาทางานในวนั หยดุ งาน ท้งั น้ีเพ่ือให้
พนกั งานไดม้ ีเวลาพกั ผอ่ นเต็มท่ี แต่ในบางคราวที่เป็นงานฉุกเฉินตอ้ งทางานติดต่อกนั ไป และถา้ หยดุ จะเกิดความ
เสียหาย ผบู้ งั คบั บญั ชาจะสงั่ ใหพ้ นกั งานทางานลว่ งเวลา หรือใหม้ าทางานในวนั หยุดงานเท่าที่มีความจาเป็น และใน

กรณีที่บริษทั ฯ ใหพ้ นกั งานทางานเกินเวลาทางานปกติในวนั ทางาน หรือทางานในวนั หยดุ เกินเวลาทางานของวนั
ทางาน พนกั งานจะตอ้ งไดร้ ับคา่ ลว่ งเวลาในอตั ราท่ีกาหนด ดงั น้ี

5.4.1 ค่าล่วงเวลาในวนั ทางานปกติ จะไดร้ ับในอตั รา 1.5 เทา่ (หน่ึงเท่าคร่ึง) ของอตั ราค่าจา้ ง
รายเดือนในเวลาทางานปกติ โดยเฉล่ียเป็นชวั่ โมง

5.4.2 คา่ จา้ งในวนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ กรณีทางานภายในเวลาปกติ จะไดร้ ับเพม่ิ อีก 1 เท่า(หน่ึงเทา่ )
ของอตั ราค่าจา้ งรายเดือนในเวลาทางานปกติ โดยเฉล่ียเป็นชวั่ โมง

5.4.3 ค่าจา้ งในวนั หยดุ ตามประเพณี ตามประกาศของบริษทั ฯ และวนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปี หากทางาน
ภายในเวลาทางานปกติ จะไดร้ ับเพิ่มอีก 1 เท่า (หน่ึงเทา่ ) ของอตั ราค่าจา้ งรายเดือนในเวลาทางานปกติ โดยเฉล่ียเป็น
ชวั่ โมง

5.4.4 คา่ ล่วงเวลาในวนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ วนั หยดุ ประเพณี จะไดร้ ับเพ่ิมข้ึนอีก 3 เท่า (สามเท่า) ของอตั รา
ค่าจา้ งรายเดือนในเวลาทางานปกติเฉล่ียเป็นชว่ั โมง

อน่ึงพนกั งานซ่ึงมีอานาจหนา้ ท่ีทาการแทนนายจา้ งสาหรับกรณีการจา้ ง การให้บาเหน็จ การลดค่าจา้ ง หรือการ
เลิกจา้ ง จะไม่มีสิทธิไดร้ ับค่าลว่ งเวลาและค่าทางานในวนั หยดุ พนกั งานซ่ึงโดยสภาพของงานไม่อาจกาหนดเวลาทางาน
ไดแ้ น่นอน ไม่มีสิทธิ ไดร้ ับค่าล่วงเวลาพนกั งานซ่ึงไดร้ ับเบ้ียเล้ียง หรือคา่ ตอบแทนอื่น ๆ จากการปฏิบตั ิงาน และไมม่ ี
สิทธิไดร้ ับคา่ ลว่ งเวลาและค่าทางานในวนั หยดุ บริษทั ฯ จะไม่รับผดิ ชอบตอ่ การทางานลว่ งเวลา การทางานในวนั หยดุ
หรือการทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ ของพนกั งานที่ไมไ่ ดร้ ับคาสง่ั หรืออนุมตั ิจากผมู้ ีอานาจลงนาม

บทที่ 6

วนั ลา และหลกั เกณฑ์การลาหยุดงาน

การลาหยดุ งานไมว่ า่ กรณีใด ๆ พนกั งานจะตอ้ งขอใบลาตามท่ีบริษทั ฯ กาหนด จากฝ่ายบริหารทรัพยากร
บุคคล แลว้ นาเสนอเพ่ือขออนุมตั ิจากผบู้ งั คบั บญั ชาตน้ สงั กดั การลาหยดุงาน ทุกคร้ังจะตอ้ งแจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบ
ลว่ งหนา้ และไดร้ ับอนุมตั ิเสียก่อน เวน้ แต่กรณีป่ วยกะทนั หนั ซ่ึงในกรณีน้ีพนกั งานจะตอ้ งแจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบ
ในโอกาสแรกท่ีทาได้ และจะตอ้ งส่งใบลาป่ วยยอ้ นหลงั ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาพิจารณาทนั ทีในวนั แรกที่กลบั เขา้ มาทางาน
ถา้ ส่งใบลาชา้ กวา่ 1 วนั นบั ต้งั แตว่ นั แรกท่ีเขา้ ทางาน จะถือวา่ ขาดงานหรือกรณีที่หยดุ งานไม่วา่ กรณีใด ๆ โดยไม่มี
ใบลา หรือหยดุ งานไปโดยไม่ได้ รับอนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชาอยา่ งถูกตอ้ ง บริษทั ฯ จะถือเป็นการขาดงาน โดยไมไ่ ด้
รับคา่ จา้ งในวนั ท่ีหยดุ งาน และอาจถกู ลงโทษทางวินยั ดว้ ย

6.1 การลากจิ

ในกรณีที่พนกั งานมีความจาเป็นที่ตอ้ งปฏิบตั ิภารกิจส่วนตวั ซ่ึงเป็นภารกิจจาเป็นที่พนกั งานตอ้ งทาดว้ ยตนเอง
ก็สามารถลากิจไดต้ ามท่ีผบู้ งั คบั บญั ชาเห็นสมควรโดยไดร้ ับคา่ จา้ งตามปกติ ดงั น้ี

6.1.1 ลากิจ ทว่ั ไป ปี ละ 7 วนั ทางาน โดยไดร้ ับค่าจา้ งตามปกติ ส่วนท่ีเกินกวา่ 7 วนั จะไมไ่ ดร้ ับคา่ จา้ ง
6.1.2 ลากิจพิเศษ

6.1.2.1 ลาเพื่อการสมรส
- พนกั งานที่ไดร้ ับการบรรจุเป็นพนกั งานประจาของบริษทั ฯแลว้ มีสิทธิลาเพ่ือการสมรสได้ 5 วนั
ทางานโดยไดร้ ับคา่ จา้ งตามปกติส่วนที่เกินกวา่ 5 วนั จะไม่ไดร้ ับคา่ จา้ ง
- พนกั งานตอ้ งแนบหลกั ฐาน (บตั รเชิญร่วมงานสมรส) พร้อมใบลาหยดุ งานต่อผูบ้ งั คบั บญั ชา
ล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 15 วนั
- การลาเพอ่ื การสมรสให้ลาไดเ้ พียงคร้ังเดียว ตลอดระยะเวลาที่เป็นพนกั งานของบริษทั ฯ
6.1.2.2 ลาจดั การงานศพ
- ในกรณีที่บิดา, มารดา, สามี, ภรรยาหรือบุตรของพนกั งาน (และใหห้ มายรวมถึงบิดา มารดา และ
บตุ รบุญธรรม ท่ีจดทะเบียนถูกตอ้ งตามกฎหมายดว้ ย) ถึงแก่กรรมใหม้ ีสิทธิลาเพ่อื จดั การงานศพได้ 5 วนั
ทางาน โดยไดร้ ับค่าจา้ งตามปกติ ส่วนที่เกินกวา่ 5 วนั จะไมไ่ ดร้ ับค่าจา้ ง
- พนกั งานตอ้ งแนบหลกั ฐาน (ใบมรณบตั ร) พร้อมใบลาหยดุ งานต่อผบู้ งั คบั บญั ชาทนั ทีท่ีไดร้ ับใบ
มรณบตั รจากทางราชการ
6.1.2.3 การลาอุปสมบท หรือลาประกอบพิธีทางศาสนา
- พนกั งานชายที่มีอายงุ านไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปี บริบูรณ์ ยงั ไมเ่ คยอุปสมบทมาก่อน มีความประสงคจ์ ะ
อุปสมบทเป็นพระภิกษใุ นพุทธศาสนา บริษทั ฯ อนุญาตใหล้ าไดไ้ ม่เกิน 15 วนั ทางานโดยไดร้ ับค่าจา้ งตามปกติ
ส่วนที่เกินกวา่ 15 วนั จะไม่ไดร้ ับค่าจา้ ง

- พนกั งานท่ีนบั ถือศาสนาอิสลามมีอายงุ านไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปี บริบรู ณ์ ยงั ไม่เคยไปประกอบพธิ ีทาง
ศาสนาท่ีเมกกะ บริษทั ฯอนุญาตใหล้ าไปประกอบพิธีทางศาสนาท่ีเมกกะไดไ้ ม่เกิน 15 วนั ทางาน โดยไดร้ ับ
คา่ จา้ งตามปกติส่วนท่ีเกินกว่า 15 วนั จะไม่ไดร้ ับค่าจา้ ง

- การลาดงั กลา่ ว บริษทั ฯ ให้ลาไดเ้ พียงคร้ังเดียวในระหวา่ งท่ีเป็นพนกั งานของบริษทั ฯโดยพนกั งาน
จะตอ้ งแนบหลกั ฐาน (บตั รเชิญร่วมงานอปุ สมบท ถา้ มี) พร้อมแนบใบลาหยดุ งานต่อผบู้ งั คบั บญั ชาล่วงหนา้
ไม่นอ้ ยกวา่ 30 วนั ก่อนวนั ท่ีจะลาอปุ สมบทหรือก่อนวนั ท่ีเดินทาง มิฉะนน้ั อาจจะไมไ่ ดร้ ับการพิจารณา

- พนกั งานที่ไดร้ ับอนุญาตใหล้ า จะตอ้ งกลบั มาทางานตามปกติภายใน 15 วนั นบั ต้งั แต่วนั ลา
สิกขาบท หรือวนั ท่ีเดินทางจากเมกกะมาถึงประเทศไทย มิฉะน้นั จะถือวา่ พนกั งานผูน้ ้นั ลาออกจากการเป็น
พนกั งานของบริษทั ฯ

- พนกั งานท่ีไดร้ ับอนุญาตใหล้ า จะตอ้ งนาหลกั ฐานการอุปสมบทและการลาสิกขาบทหรือหนงั สือ
เดินทางแลว้ แต่กรณีมาแสดงต่อบริษทั ฯ ภายใน 7 วนั นบั ต้งั แต่วนั ที่กลบั เขา้ ทางานตามปกติ มิฉะน้นั จะถือวา่
การลาดงั กล่าวเป็นการขาดงาน

6.2 การลาป่ วย

6.2.1 บริษทั ฯ อนุญาตใหพ้ นกั งานซ่ึงเจบ็ ป่ วยสามารถลาป่ วยไดเ้ ท่าที่ป่ วยจริง โดยไดร้ ับคา่ จา้ งในวนั ที่ลาไม่
เกิน 30 วนั ทางาน

6.2.2 หากพนกั งานเจ็บป่ วยในระหวา่ งปฏิบตั ิงาน จะตอ้ งรีบรายงานใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบทนั ที เพื่อส่งตวั ไป
รับการรักษาพยาบาลจากแพทย์

6.2.3 หากพนกั งานลาป่ วยเกินกวา่ คร้ังละ 3 วนั ทางานติดต่อกนั ข้ึน ไป จะตอ้ งมีใบรับรองแพทยแ์ ผนปัจจุบนั
ช้นั หน่ึง หรือของสถานพยาบาลของทางราชการมาแสดงเป็นหลกั ฐาน ถา้ พนกั งานไม่อาจแสดงใบรับรองแพทยไ์ ด้ ให้
พนกั งานช้ีแจง้ ใหบ้ ริษทั ฯ ทราบ

6.2.4 หากพนกั งานที่เจ็บป่ วยซ่ึงไมเ่ กี่ยวกบั การปฏิบตั ิงานในหนา้ ท่ี และการลาป่ วยนานเกินกวา่ 3 เดือนโดยมี
ผลกระทบต่อการทางาน ทาใหง้ านมีประสิทธิภาพนอ้ ยลง บริษทั ฯ มีสิทธิท่ีจะพจิ ารณาเลิกจา้ งเน่ืองจากป่ วยนาน ท้งั น้ี
บริษทั ฯจะพิจารณาจ่ายเงินคา่ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน

6.2.5 พนกั งานท่ีเจ็บป่ วย เน่ืองจากการทางานใหบ้ ริษทั ฯ พนกั งานสามารถหยดุ ทางานไดโ้ ดยไม่ถือเป็นวนั ลา
ป่ วยระหวา่ งหยดุ งาน ซ่ึงทางบริษทั ฯอนุญาตใหล้ าป่ วยไดโ้ ดยไดร้ ับค่าจา้ งตามกาหนดในใบรับรองแพทยแ์ ผนปัจจุบนั
ช้นั หน่ึงหรือของสถานพยาบาลของทางราชการ

6.3 การลาคลอด

พนกั งานซ่ึงเป็นหญิงมีครรภ์ มีสิทธิลาคลอด ก่อนและหลงั คลอด ครรภห์ น่ึงไม่เกิน 98 วนั โดยนบั รวมวนั หยดุ
ท่ีมีในระหวา่ งการลาดว้ ย บริษทั ฯจะจ่ายค่าจา้ งใหต้ ามอตั ราค่าจา้ งในวนั ทางานตลอดระยะเวลาท่ีลา แต่ไมเ่ กิน 45 วนั
(วนั ลาคลอดบุตร บริษทั ฯจะไมน่ บั รวมกบั การลาป่ วย) ในกรณีที่พนกั งานซ่ึงเป็นหญิงมีครรภ์ มีใบรับรองแพทยแ์ ผน
ปัจจุบนั ช้นั หน่ึงมาแสดงวา่ ไม่อาจทางานในหนา้ ที่เดิมต่อไปได้ ใหพ้ นกั งานน้นั มีสิทธิขอใหบ้ ริษทั ฯ เปลี่ยนงานใน
หนา้ ที่เดิมเป็นการชว่ั คราวก่อนหรือหลงั คลอดได้ และให้บริษทั ฯ พจิ ารณาเปล่ียนงานท่ีเหมาะสมใหแ้ ก่พนกั งานน้นั

ตามที่เห็นสมควรในกรณีท่ีพนกั งานหญิงแทง้ บุตร ซ่ึงมีระยะการต้งั ครรภน์ อ้ ยกวา่ 28 สัปดาห์ ใหใ้ ชส้ ิทธิการลาป่ วย
ตามที่กาหนดไวใ้ นระเบียบบริษทั ฯ วา่ ดว้ ยการลาป่ วย

6.4 การลาเพ่ือรับราชการทหาร

บริษทั ฯ อนุญาตใหพ้ นกั งานลาเพอื่ รับราชการทหาร ในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึกวชิ าทหารหรือเพ่ือ
ทดลองความพร่ังพร้อมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการรับราชการทหาร โดยพนกั งานตอ้ งรายงานใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบ
โดยเร็ว พร้อมท้งั แสดงหลกั ฐาน นบั ต้งั แตไ่ ดร้ ับหมายเรียกเป็นตน้ ไปบริษทั ฯ จะจ่ายค่าจา้ งเทา่ กบั วนั ทางานตลอด
ระยะเวลาท่ีลาแต่ไมเ่ กิน 60 วนั โดยนบั รวมวนั หยดุ ที่มีในระหวา่ งการลา เม่ือกลบั จากการไปรับราชการทหาร
เนื่องจากถกู เรียกระดมพลหรือรับการฝึกอบรมเพ่มิ เติมตอ้ งนาหลกั ฐานเพ่ือมาแสดงต่อผบู้ งั คบั บญั ชา และหากไม่มี
หลกั ฐานดงั กลา่ ว บริษทั ฯ ถือว่าพนกั งานผูน้ ้นั ขาดงาน

6.5 การลาเพ่ือทาหมนั

ใหพ้ นกั งานมีสิทธิลาเพือ่ ทาหมนั ได้ และมีสิทธิลาเนื่องจากทาหมนั โดยไดร้ ับคา่ จา้ งตามระยะเวลาที่แพทย์
แผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงกาหนด และออกใบรับรอง หากไม่มีหลกั ฐานดงั กลา่ ว บริษทั ฯ ถือวา่ พนกั งานผนู้ ้นั ขาดงาน

6.6 การลาเพ่ือฝึ กอบรมหรือพฒั นาความรู้ความสามารถ

พนกั งานมีสิทธิลาเพ่ือฝึกอบรมหรือพฒั นาความรู้ความสามารถได้ โดยไดร้ ับค่าจา้ งเฉพาะความรู้ท่ีสอดคลอ้ ง
กบั งานประจาที่รับผิดชอบหรือตามสภาพการจา้ งท้งั น้ี บริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิไม่อนุญาตใหพ้ นกั งานลาในกรณีที่เคย
ไดร้ ับอนุญาตใหล้ าเพ่อื การฝึ กอบรม หรือพฒั นาความรู้ความสามารถมาแลว้ ในปี น้นั 30 วนั หรือ 3 คร้ัง หรือ การลา
น้นั อาจเกิดความเสียหายหรือกระทบต่อการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ

บทที่ 7

สวสั ดิการ และสิทธิประโยชน์

บริษทั ฯ ไดจ้ ดั ใหม้ ีสวสั ดิการและสิทธิประโยชน์สาหรับพนกั งาน ดงั น้ี

7.1 ประกนั สังคม

บริษทั ฯ ดาเนินการใหพ้ นกั งานทุกคนเป็นผปู้ ระกนั ตน ตามพระราชบญั ญตั ิประกนั สังคม พ.ศ.2533 โดย
บริษทั ฯ และพนกั งานตอ้ งจ่ายเงินสมทบเขา้ กองทนุ ประกนั สังคมทุกเดือนในอตั ราที่กาหนดตามประกาศของ
สานกั งานประกนั สังคมในแตล่ ะปี โดยพนกั งานมีสิทธิไดร้ ับประโยชน์ทดแทนจากกองทุนประกนั สังคม ดงั น้ี

ก. ประโยชนท์ ดแทนในกรณีประสบอนั ตราย หรือเจบ็ ป่ วยอนั มิใช่เนื่องจากการทางาน
ข. ประโยชนท์ ดแทนในกรณีคลอดบุตร
ค. ประโยชน์ทดแทนในกรณีทพุ พลภาพ อนั มิใช่เนื่องมาจากการทางาน
ง. ประโยชน์ทดแทนในกรณีเสียชีวิต อนั มิใช่เนื่องมาจากการทางาน
จ. ประโยชนท์ ดแทนในกรณีสงเคราะหบ์ ุตร
ฉ. ประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ
ช. ประโยชน์ทดแทนในกรณีวา่ งงาน

7.2 กองทนุ เงนิ ทดแทน

บริษทั ฯ ดาเนินการใหพ้ นกั งานทุกคนไดร้ ับการคุม้ ครองแรงงานจากกองทุนเงินทดแทน โดยบริษทั ฯ เป็นผู้
ออกคา่ ใชจ้ ่ายสมทบตามขอ้ กาหนดของกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนเงินทดแทน และพนกั งานจะมีสิทธิไดร้ ับประโยชนเ์ งิน
ทดแทน ในกรณีที่พนกั งานประสบอนั ตรายหรือเจ็บป่ วยหรือเสียชีวิตเน่ืองจากกาทางานจากกองทนุ เงินทดแทน

7.3 เคร่ืองแบบพนกั งาน

เพื่อความเป็นมาตรฐานและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงไดก้ าหนดเกณฑแ์ ละการ
ปฏิบตั ิ ดงั น้ี

7.3.1 บริษทั ฯ จะเป็นผกู้ าหนดประเภทเคร่ืองแบบ
7.3.2 พนกั งานที่บริษทั ฯ กาหนดใหแ้ ตง่ เครื่องแบบจะตอ้ งสวมใส่เครื่องแบบมาปฏิบตั ิงานระเบียบเก่ียวกบั
เครื่องแบบพนกั งาน (ท้งั พนกั งานชายและพนกั งานหญิง) ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนดไวใ้ นระเบียบบริษทั ฯ

7.4 โบนัส

พนกั งานจะไดร้ ับเงินโบนสั ตามจานวนเงินท่ีคณะกรรมการบริหารบริษทั ฯ ไดพ้ จิ ารณาจ่ายและประกาศให้
ทราบ อน่ึงการจ่ายเงินโบนสั มิใช่ส่ิงท่ีพนกั งานจะคาดหวงั ไดต้ ลอดไป การจ่ายเงินโบนสั จะข้ึนอยกู่ บั การพิจารณาของ
คณะกรรมการของบริษทั ฯ และผลประกอบการของบริษทั

7.5 ประกนั ชีวติ ประกนั อบุ ตั เิ หตุ ประกนั สุขภาพ

บริษทั ฯ จดั ใหม้ ีการประกนั ชีวิตหมู่ และประกนั อุบตั ิเหตใุ หพ้ นกั งานบางแผนก ภายในวงเงินไม่ต่ากวา่
50,000 บาท โดยบริษทั ฯ เป็นผอู้ อกเบ้ียประกนั ให้ ซ่ึงพนกั งานจะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการประกนั ตามที่ระบไุ วใ้ น
กรมธรรม์ เงื่อนไขและวงเงินประกนั อาจเปล่ียนแปลงภายหลงั ไดต้ ามความเหมาะสมบริษทั ฯ จดั ใหม้ ีการประกนั
สุขภาพหมใู่ หแ้ ก่พนกั งานประจาตาแหน่งผจู้ ดั การฝ่าย หรือเทียบเท่าข้ึนไปทุกคนโดยมีวตั ถุประสงคท์ ี่จะช่วยเหลือ
ค่าใชจ้ ่ายในการรักษาพยาบาลจากการเจบ็ ป่ วยหรือบาดเจ็บซ่ึงมิใช่จากการทางานและตอ้ งเขา้ รักษาตวั ในสถาน
พยาบาล ท้งั กรณีผปู้ ่ วยในและผปู้ ่ วยนอก โดยพนกั งานจะมีสิทธิไดร้ ับผลประโยชนจ์ ากการประกนั ตามที่ระบุใน
กรมธรรม์

7.6 การตรวจสุขภาพประจาปี

ในทุกๆ ปี บริษทั ฯ จะมีโปรแกรมการตรวจสุขภาพพนกั งานประจาปี ตามมาตรฐานท่ีบริษทั ฯ กาหนดไวด้ งั น้ี
ก. ตรวจสุขภาพทว่ั ไปโดยแพทย์ (P/E)
ข. เอก็ ซเรยท์ รวงอก(ฟิ ลม์ ใหญ่) เพื่อวิเคราะห์สภาพปอดและหวั ใจ
ค. ตรวจหาความสมบรู ณ์ของโลหิต (CBC) ตรวจหาภาวะโลหิตจาง, มะเร็งเมด็ เลือด, ภูมิแพ,้ ตรวจหา

ระดบั คลอเรสเตอรอล
ง. ตรวจปัสสาวะทว่ั ไป (U/A), ตรวจทางเดินปัสสาวะ, หาน่ิว, เบาหวาน, โรคไต ท้งั น้ีบริษทั ฯ อาจจะ

กาหนดใหม้ ีการตรวจเพม่ิ เติมไดเ้ พือ่ ความเหมาะสมโดยจะประกาศแจง้ ใหท้ ราบเป็นคราวๆไป ผลการตรวจ
สุขภาพ บริษทั ฯ จะเก็บบนั ทึกผลการตรวจไว้ ณ ฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ปี นับแต่วนั
สิ้นสุดของการจา้ งลูกจา้ งแต่ละราย ในกรณีที่มีการฟ้องคดีเกี่ยวกบั โรคหรืออนั ตรายอยา่ งใดตอ่ สุขภาพของ
พนกั งาน บริษทั ฯ ตอ้ งเก็บบนั ทึกผลการตรวจไวจ้ นกวา่ จะมีคาส่ังหรือคาพพิ ากษาถึงท่ีสุดเก่ียวกบั เร่ือดงั กล่าว

7.7 การฝึ กอบรม

บริษทั ฯ มีนโยบายส่งเสริมให้พนกั งานไดร้ ับการพฒั นาความรู้ความสามารถเพ่มิ ข้ึน โดยบริษทั ฯ จะจดั ใหม้ ี
การฝึกอบรมเพ่ือเสริมความรู้และทกั ษะใหแ้ ก่พนกั งาน ท้งั ในสถานที่ทางานและส่งพนกั งานเขา้ ฝึกอบรมหรือสัมมนา
นอกสถานท่ีทางาน ตามโอกาสอนั สมควร ซ่ึงฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล มีหนา้ ที่เสนอแนะหลกั สูตรที่เป็นประโยชน์
ต่อหน่วยงาน เพื่อหน่วยงานพิจารณา ตามความเหมาะสม และเสนอแนะความตอ้ งการในการจดั ฝึกอบรมท่ีเป็ น
ประโยชนต์ ่อพนกั งานไปยงั ฝ่ายบริหารทรัพยากรบคุ คล เพือ่ จดั ทาแผนการฝึกอบรมที่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ
ตอ่ ไป

7.8 กฬี า และบันเทงิ

บริษทั ฯ ไดจ้ ดั สรรงบประมาณใหพ้ นกั งานไดม้ ีโอกาส พบปะสงั สรรค์ และพกั ผอ่ นหยอ่ นใจร่วมกันนอกเวลา
การทางาน เพ่ือเป็นการเช่ือมสมั พนั ธไมตรีในหม่พู นกั งาน และสนบั สนุนใหพ้ นกั งานซ่ึงร่วมกนั ไปทศั นาจรร่วมกนั
เป็นหมคู่ ณะ โดยข้นึ อยกู่ บั การพจิ ารณาของคณะกรรมการของบริษทั ฯ

7.9 เงนิ ช่วยเหลือกรณี สามี, ภรรยา, บุตร, บดิ า, มารดา เสียชีวติ

บริษทั ฯ จดั ใหม้ ีการช่วยเหลือแก่พนกั งานประจาหรือครอบครัวของพนกั งานในกรณีที่พนกั งานประจาหรือ
ครอบครัวของพนกั งานเสียชีวิต รายละเอียดเกี่ยวกบั เงินช่วยเหลือกรณีสามี ภรรยา บุตร บิดามารดาเสียชีวิตให้เป็นไป
ตามที่กาหนดไวใ้ นระเบียบบริษทั ฯ

7.10 เงินก้ยู ืม รักษาพยาบาล สามี, ภรรยา, บุตร, บดิ า, มารดา

เพ่อื เป็นการช่วยเหลือพนกั งานท่ีมีความจาเป็นหรือมีความเดือดร้อนดา้ นการเงิน บริษทั ฯ ไดจ้ ดั สรรเงินให้
พนกั งานกูย้ มื โดยไม่เสียดอกเบ้ียหรือเสียดอกเบ้ียในอตั ราท่ีต่าเพื่อใชใ้ นการรักษาพยาบาล โดยจะพิจารณาใหส้ ิทธิใน
การกูย้ มื ตามความจาเป็นและสมควรท่ีพนกั งานควรไดร้ ับ ซ่ึงอาจมีการปรับปรุงใหเ้ หมาะสมอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจของบริษทั ฯ

7.11 เบยี้ เลยี้ งและค่าใช้จ่ายในเร่ืองการเดินทาง

บริษทั ฯ ไดจ้ ดั เบ้ียเล้ียงในการเดินทางใหส้ าหรับพนกั งานท่ีมีความจาเป็นตอ้ งเดินทางไปปฏิบตั ิงาน ตามที่
ไดร้ ับมอบหมาย หรือตามท่ีบริษทั ฯ เป็นผูจ้ ดั ส่งไป โดยระเบียบการจ่ายค่าเบ้ียเล้ียงและคา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางน้ี
บริษทั ฯ จะประกาศ หรือแจง้ เป็นแนวปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหพ้ นกั งานรับทราบอยา่ งต่อเนื่อง โดยค่าเบ้ียเล้ียงและค่าใชจ้ ่าย
อาจจะไมเ่ หมือนกนั เสมอไป ข้นึ อยกู่ บั สภาพการทางานของแต่ละหน่วยงานและ/หรือตาแหน่งงาน ซ่ึงอาจมีการ
ปรับเปล่ียนใหเ้ หมาะสมอยา่ งต่อเน่ือง เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจของบริษทั ฯ

บทท่ี 8

วนิ ยั และโทษทางวนิ ยั

ในการทางานร่วมกนั จาเป็นตอ้ งมีระเบียบวินยั ในการทางาน เพ่อื ให้เกิดความสงบเรียบร้อยความปลอดภยั ใน
การทางาน และเพอ่ื ให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองแก่บริษทั ฯ และพนกั งานทุกคน เพราะฉะน้นั ทางบริษทั ฯ จึงถือกฎ และ
ระเบียบขอ้ บงั คบั ทางวินยั ตา่ ง ๆ ของพนกั งานเป็นส่ิงสาคญั ยงิ่ ในการดาเนินกิจการของบริษทั ฯ

ดงั น้นั พนกั งานทกุ คนตอ้ งปฏิบตั ิตามอยา่ งเคร่งครัด ท้งั น้ีเพอื่ รักษาไวซ้ ่ึงระเบียบวินยั อนั ดี ขณะเดียวกนั ก็เพ่ือ
รักษาไวซ้ ่ึงผลประโยชนข์ องบริษทั ฯ แต่กระน้นั ก็ตามการกระทาใดๆ ที่กฎและระเบียบขอ้ บงั คบั ของบริษทั ฯ มิได้
กาหนดไว้ มิไดห้ มายความวา่ ผกู้ ระทาผดิ น้นั ๆ จะพน้ จากการถกู ลงโทษ เพราะฉะน้นั ในกรณีท่ีมีผไู้ ม่ปฏิบตั ิตามกฎ
บริษทั ฯ จะลงโทษตามลกั ษณะการฝ่าฝืนระเบียบวนิ ยั น้นั ๆ ดงั น้ี

8.1 ระเบยี บวนิ ัยเกย่ี วกบั การทางาน

8.1.1 การมาทางาน
8.1.1.1 ไม่ละทิง้ หนา้ ที่ ขาดงานหรือหยดุ งานโดยไมม่ ีเหตุผลอนั สมควร
8.1.1.2 ไม่เขา้ ทางานสายบ่อยคร้ัง
8.1.1.3 หา้ มพนกั งานบนั ทึกเวลาการทางานแทนพนกั งานอื่น หรือแกไ้ ขเพิม่ เติมเวลาทางาน อนั ทาให้

พนกั งานอ่ืนไดร้ ับประโยชน์หรือเสียประโยชน์
8.1.1.4 พนกั งานตอ้ งสวมใส่เครื่องแบบทางานท่ีบริษทั ฯ กาหนด
8.1.1.5 พนกั งานตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบียบวา่ ดว้ ยการลา หรือการหยดุ งาน โดยเคร่งครัด

8.1.2 การปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
8.1.2.1 เคารพและปฏิบตั ิตามระเบียบวินยั ในการทางานของบริษทั ฯ โดยเคร่งครัด
8.1.2.2 เชื่อฟังและปฏิบตั ิตามคาส่งั โดยชอบของผบู้ งั คบั บญั ชา
8.1.2.3 ปฏิบตั ิหนา้ ที่ดว้ ยความซื่อสัตย์ สุจริต ขยนั หมน่ั เพียร เสียสละ อดทน และมีความต้งั ใจจริง
8.1.2.4 ไม่แจง้ หรือรายงานความเทจ็ หรือปกปิ ดขอ้ เท็จจริงเกี่ยวกบั การทางานต่อผบู้ งั คบั บญั ชา
8.1.2.5 ไม่จงใจ หรือเจตนาปฏิบตั ิงานใหล้ ่าชา้

8.1.3 การรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ
8.1.3.1 ตอ้ งไม่ใชเ้ วลาทางานของบริษทั ฯ ไปเพอ่ื ทากิจธุระส่วนตวั หรือกระทาการใดๆ ที่ไม่เก่ียวกบั

งานในหนา้ ที่
8.1.3.2 พนกั งานตอ้ งช่วยรักษาผลประโยชนข์ องบริษทั ฯ ไมแ่ สวงหาหรือยอมรับผลประโยชนใ์ ด ๆ

จากคณะบคุ คลหรือบุคคลใดซ่ึงติดต่อคา้ ขายหรือกาลงั หาทางติดต่อคา้ ขายกบั บริษทั ฯ หรือประกอบกิจการอนั
เป็นการแข่งขนั กบั บริษทั ฯ

8.1.3.3 ไม่เปิ ดเผยขอ้ ความใดๆ อนั เป็นเร่ืองปกปิ ดหรือความลบั เก่ียวกบั กิจการดาเนินงานของบริษทั ฯ

8.1.4 การใชแ้ ละการระวงั รักษาทรัพยส์ ินของบริษทั ฯ
8.1.4.1 ไม่ปลอ่ ยใหเ้ กิดการสูญเสียแก่เครื่องมือ เคร่ืองใช้ หรือทรัพยส์ ินอ่ืนใดของบริษทั ฯโดยไม่

สมควร
8.1.4.2 หา้ มนาเครื่องมือเครื่องใช้ หรือทรัพยส์ ินอื่นใดของบริษทั ฯ ไปใชเ้ พ่ือประโยชน์ส่วนตวั หรือ

ผอู้ ่ืน เวน้ แตจ่ ะไดร้ ับอนุญาตจากผมู้ ีอานาจอนุมตั ิ
8.1.5 ความซ่ือสัตยส์ ุจริต

8.1.5.1 พนกั งานตอ้ งแจง้ ขอ้ มูลของตนตามท่ีบริษทั ฯ ตอ้ งการต่อบริษทั ฯ ตามความเป็นจริง
8.1.5.2 พนกั งานตอ้ งใหค้ วามร่วมมือกบั บริษทั ฯ ในการสอบสวนเร่ืองราวต่างๆ ที่บริษทั ฯตอ้ งการ
และการร่วมมือดงั กลา่ วตอ้ งกระทาดว้ ยความสุจริต
8.1.5.3 พนกั งานตอ้ งไมเ่ ปล่ียนแปลง ปลอม แกไ้ ข ตดั ทอนหรือทาลายเอกสารต่างๆ ของบริษทั ฯ หรือ
เอกสารท่ีมีความเก่ียวขอ้ งระหวา่ งบริษทั ฯ กบั พนกั งาน โดยไม่มีอานาจหรือหนา้ ท่ีที่จะกระทาการดงั กล่าว
8.1.5.4 พนกั งานตอ้ งยนิ ยอมใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีรักษาความปลอดภยั ของบริษทั ฯ หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย
จากบริษทั ฯตรวจคน้ ในกรณีท่ีเกิดความสงสัยวา่ จะมีส่ิงของท่ีผิดกฎหมายหรือไดม้ าจากการกระทาผกิ ฎหมาย
หรืออาวธุ อยใู่ นตวั พนกั งาน
8.1.5.5 พนกั งานตอ้ งไม่แจง้ ขอ้ ความอนั เป็นเทจ็ ต่อบริษทั ฯ ผบู้ งั คบั บญั ชา หรือฝ่ายบริหาร

8.2 ระเบยี บวนิ ัยเกย่ี วกบั ความประพฤติ

8.2.1 ไม่ประพฤติตนไปในทางท่ีจะนาความเสื่อมเสียชื่อเสียงมาสู่ตนเองหมคู่ ณะ หรือบริษทั ฯ
8.2.2 ไม่ใชก้ ิริยาวาจาไมส่ ุภาพต่อเพ่ือนร่วมงานและผอู้ ่ืน
8.2.3 ไมก่ ระทาหรือสนบั สนุนใหม้ ีการทะเลาะววิ าท หรือทาร้ายร่างกายเพ่อื นร่วมงาน
8.2.4 ไม่แพร่ข่าวอกศุ ล ใส่ร้ายผอู้ ื่น แอบอา้ งทาให้เกิดความเสียหายแก่พนกั งานหรือบริษทั ฯ หรือก่อให้เกิด
ความแตกแยกความสามคั คใี นระหวา่ งพนกั งานดว้ ยกนั
8.2.5 หา้ มนาส่ิงเสพติด สุรา ของมึนเมา และของท่ีผดิ กฎหมายเขา้ มาบริเวณบริษทั ฯ
8.2.6 หา้ มเลน่ การพนนั ทกุ ชนิดในบริเวณบริษทั ฯ
8.2.7 ไมห่ ลบั ระหวา่ งเวลาทางาน
8.2.8หา้ มรับประทานอาหารในระหวา่ งเวลาทางานการรับประทานอาหารในบริเวณสานกั งานจะตอ้ ง
รับประทาน ในบริเวณที่บริษทั ฯ จดั ให้
8.2.9 หา้ มพนกั งานพูดจาหยอกลอ้ เลน่ พูดจายว่ั ยวน ส่งเสียงดงั รบกวน หรือกระทาการใด ๆ รบกวนพนกั งาน
อ่ืนในเวลาปฏิบตั ิงาน
8.2.10 ไม่เสพส่ิงเสพติด สุรา หรือส่ิงมึนเมาระหวา่ งเวลาทางาน หรือทางานในสภาพมึนเมา
8.2.11 ไมเ่ ป็นผกู้ ระทา หรือใหค้ วามร่วมมือในการโจรกรรม หรือทาลายทรัพยส์ ินของบริษทั ฯ หรือกระทาการ
อยา่ งใดอนั เป็นผลใหบ้ ริษทั ฯ ไดร้ ับความเสียหาย

8.2.12 พนกั งานตอ้ งไมพ่ กพาอาวุธ หรือครอบครองสิ่งผิดกฎหมายทุกชนิด เขา้ มาในบริเวณบริษทั ฯ
และบา้ นพกั ของบริษทั ฯ เวน้ แตไ่ ดร้ ับอนุญาตเป็นกรณีพิเศษ

8.2.13 หา้ มทางาน ต่อเติม หรือแกไ้ ขขอ้ ความในแผน่ ประกาศของบริษทั ฯ หรือ ของผอู้ ่ืนท่ีบริษทั ฯ
อนุญาตเป็ นกรณีพิเศษ

8.2.14 หา้ มขดี เขียนขอ้ ความหยาบคายกา้ วร้าว หรือ ดูหมิ่นบุคคลใดในสถานท่ีทางานของบริษทั ฯ
8.2.15 หา้ มดาเนินการหรือกระทาการใดๆ ในทางที่ขดั ต่อกฎหมายหรือศีลธรรมอนั ดี อนั อาจมีผลให้
บริษทั ฯ ไดร้ ับความเสียหาย
8.2.16 หา้ มแจกใบปลิว ติดป้ายประกาศ ออกแถลงการณ์ หรือใชเ้ ครื่องขยายเสียงในบริเวณบริษทั ฯ
เวน้ แตไ่ ดร้ ับอนุญาตจากกรรมการผจู้ ดั การ หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมายเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร
8.2.17 พนกั งานตอ้ งไม่เปิ ดเผยคา่ จา้ งของตนเอง หรือของผอู้ ื่น
8.2.18 พนกั งานตอ้ งดูแลสุขภาพของตวั เอง เพื่อไมใ่ หเ้ ป็นโรคที่สงั คมรังเกียจหรือโรคติดต่อท่ีร้ายแรง
อาทิ โรคซาร์, ซิฟิ ลิซ, วณั โรค หรือเอดส์ เป็นตน้
8.2.19 พนกั งานตอ้ งไมม่ ีเรื่องชูส้ าว ในท่ีทางาน เน่ืองจากจะก่อใหเ้ กิดเหตทุ ะเลาะววิ าท ทาใหส้ ่งผล
ต่อหนา้ ท่ีการงาน
8.2.20 พนกั งานจะตอ้ งไม่คุยโทรศพั ทส์ ่วนตวั เป็นเวลานาน ซ่ึงจะส่งผลตอ่ การทางานและเพอ่ื น
ร่วมงาน
8.2.21 พนกั งานไม่ควรออกนอกพ้ืนท่ีในเวลางาน ถา้ มีความจาเป็นตอ้ งแจง้ หวั หนา้ งานและขอ
เอกสารออกนอกพ้นื ที่จากแผนกบุคคล
8.2.22 พนกั งานหา้ มพูดคยุ กนั เรื่องเงินเดือน หรือสอบถามเงินเดือนของพนกั งานทา่ นอ่ืน หา้ ม
เผยแพร่ขอ้ มลู เก่ียวกบั สลิปเงินเดือนต่อพนกั งานท่านอ่ืน

8.3 การลงโทษทางวนิ ยั

วนิ ยั ของพนกั งานตามที่ระบุมาน้ีพนกั งานมีหนา้ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งเคร่งครัด ถา้ พนกั งานผใู้ ดปฏิบตั ิหรือละเวน้
การปฏิบตั ิใดๆ อนั ถือวา่ เป็นการฝ่าฝืนวินยั ดงั กล่าวจะตอ้ งถกู พิจารณาลงโทษทางวินยั ตามลกั ษณะแห่งความผิด หรือ
ความหนกั เบาของการกระทาผิดหรือความร้ายแรงท่ีเกิดข้ึน การลงโทษเป็นไปตามขอ้ หน่ึงขอ้ ใดหรือหลายขอ้ รวมกนั ก็
ได้ ตามบทลงโทษทางวินยั บริษทั ฯ กาหนดบทลงโทษทางวนิ ยั ไวป้ ระการ ดงั น้ี

8.3.1 ตกั เตือนดว้ ยวาจา
8.3.2 ตกั เตือนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร (หนงั สือตกั เตือนมีอายุ 12 เดือนนบั แต่วนั ที่พนกั งานกระทาความผิด)
8.3.3 พกั งานโดยไม่ไดร้ ับคา่ จา้ ง มีกาหนดไม่เกิน 7 วนั (การพกั งานในระหวา่ งการสอบสวนไม่ถือเป็นการพกั
งานเพือ่ การลงโทษ)
8.3.4 เลิกจา้ งโดยไม่จ่ายค่าชดเชย

การได้รับหนงั สือเตือนไม่ว่ากรณใี ด ๆ จะไม่มกี ารพจิ ารณาโบนสั และการปรับขนึ้ เงินเดือนในปี น้นั ๆ

หลกั เกณฑ์การพจิ ารณาลงโทษทางวินยั

8.3.1 การลงโทษโดยการตกั เตือนดว้ ยวาจา ผมู้ ีอานาจลงโทษมีหลกั เกณฑใ์ นการพิจารณา ดงั น้ี
1. การผิดวนิ ยั น้นั ยงั ไมก่ ่อใหเ้ กิดผลเสียหายใดๆ ต่อบริษทั ฯ
2. พนกั งานผกู้ ระทาผิดวินยั ไม่เคยกระทาผิดวนิ ยั ในเรื่องเดียวกนั น้ีมาก่อน
3. พนกั งานรู้สึกสานึกวา่ ตนไดก้ ระทาผดิ วินยั และยนื ยนั วา่ จะไมก่ ระทาผดิ อีก ถา้ การฝ่ าฝืนวินยั ใดๆ

มีพฤติกรรมผลลพั ธแ์ ตกตา่ งจากหลกั เกณฑท์ ้งั 3 ขอ้ น้ีไม่วา่ ขอ้ ใดขอ้ หน่ึง ผมู้ ีอานาจพิจารณาลงโทษจะพิจารณาลงโทษ
ตามบทลงโทษอื่นๆ การลงโทษดว้ ยการตกั เตือนดว้ ยวาจาน้นั เม่ือผบู้ งั คบั บญั ชาไดท้ าการลงโทษไปแลว้ ใหท้ าบนั ทึก
รายละเอียดของพฤติกรรมเวลา สถานท่ีบคุ คลที่เกี่ยวขอ้ งและรายละเอียดอ่ืน ๆ อนั เกี่ยวกับการกระทาความผดิ ของ
พนกั งานแลว้ ส่งไปยงั ฝ่ายบริหารทรัพยากรบคุ คลโดยเร็วที่สุด
8.3.2 การลงโทษโดยการตกั เตือนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ผมู้ ีอานาจลงโทษมีหลกั เกณฑใ์ นการพิจารณาโทษ ดงั น้ี

1. ผพู้ ิจารณาลงโทษ เห็นวา่ การลงโทษโดยการตกั เตือนดว้ ยวาจาไม่ประสบผล
2. ปรากฏเจตนาในการกระทาผดิ วนิ ยั อยา่ งชดั แจง้ หรือทาผดิ วนิ ยั ซ้าในเร่ืองเดิมอีกภายในระยะเวลาไลเ่ ลี่ยกนั
และยงั อยใู่ นเวลาตามกาหนดของการลงโทษ
3. ความผิดดงั กลา่ ว ยงั ไม่ก่อใหเ้ กิดผลเสียหายโดยตรงต่อบริษทั ฯ แต่ก่อใหเ้ กิดความราคาญกบั ผเู้ ก่ียวขอ้ ง
8.3.3 การลงโทษโดยการพกั งานโดยไมร่ ับคา่ จา้ ง ผมู้ ีอานาจลงโทษมีหลกั เกณฑใ์ นการพจิ ารณาโทษ ดงั น้ี
1. ปรากฏเจตนาในการกระทาผิดวินยั อยา่ งชดั แจง้
2. กระทาผิดวนิ ยั ซ้า ในเรื่องเดิมบ่อย ๆ ภายในระยะเวลา 1 ปี และยงั อยใู่ นเวลาตามกาหนดของการลงโทษ
3. ความผิดดงั กลา่ วก่อใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ บริษทั ฯ ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นชื่อเสียงหรือทรัพยส์ ินก็ตาม
8.3.4 การลงโทษดว้ ยการเลิกจา้ งโดยไม่จ่ายค่าชดเชย ผมู้ ีอานาจลงโทษมีหลกั เกณฑใ์ นการพจิ ารณาโทษ ดงั น้ี
1. พนกั งานทจุ ริตต่อหนา้ ท่ี หรือกระทาความผิดอาญาโดยเจตนาแก่บริษทั ฯ
2. พนกั งานจงใจกระทาใหบ้ ริษทั ฯ ไดร้ ับความเสียหาย เช่น เขา้ ไปมีส่วนร่วมในการดาเนินการไม่วา่ จะเป็น
โดยทางตรงหรือทางออ้ มกบั ผปู้ ระกอบการอื่นใดที่มีลกั ษณะเป็นการแขง่ ขนั โดยทางตรงหรืทางออ้ มกบั
บริษทั ฯ
3. พนกั งานไดก้ ระทาการจงใจหรือประมาทเลินเลอ่ อนั เป็นเหตุใหบ้ ริษทั ฯไดร้ ับความเสียหายอยา่ งร้ายแรง
4. พนกั งานไดก้ ระทาการฝ่าฝืนขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางาน หรือระเบียบหรือคาส่ังของบริษทั ฯอนั ชอบดว้ ย
กฎหมายและเป็นธรรม และบริษทั ฯโดยผบู้ งั คบั บญั ชาไดต้ กั เตือนเป็นหนงั สือแลว้ (กรณีร้ายแรงบริษทั ฯ ไม่
จาเป็นตอ้ งตกั เตือน) และหนงั สือ เตือนดงั กล่าวยงั คงอยใู่ นระยะเวลา 1 ปี (12 เดือน) นบั ต้งั แต่วนั ท่ีพนกั งาน
ไดก้ ระทาผดิ
5. พนกั งานละทิง้ หนา้ ท่ีเป็นเวลา 3 วนั ทางานติดต่อกนั ไม่วา่ จะมีวนั หยดุ คน่ั หรือไม่ก็ตามโดยไมม่ ีเหตุอนั
สมควร
6. พนกั งานไดร้ ับโทษจาคุกตามคาพพิ ากษาอนั ถึงที่สุดใหร้ ับโทษจาคกุ เวน้ แต่เป็นโทษสาหรับความผดิ ที่ได้
กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษและตอ้ งเป็นเหตุทาใหบ้ ริษทั ฯไดร้ ับความเสียหาย

ผ้มู ีอานาจพจิ ารณา และดาเนินการลงโทษทางวินัย

1. การลงโทษโดยการตกั เตือนดว้ ยวาจาผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรงของพนกั งานผกู้ ระทาผดิ เป็นผพู้ จิ ารณาและ
ดาเนินการลงโทษ

2. การลงโทษโดยการตกั เตือนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรงร่วมกับผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผจู้ ดั การ
ของพนกั งานผกู้ ระทาผดิ เป็นผพู้ ิจารณาและดาเนินการลงโทษ

3. การลงโทษโดยการพกั งานโดยไมไ่ ดร้ ับคา่ จา้ งผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรงร่วมกับผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั เหนือข้ึน
ไป และผอู้ านวยการสายงาน ของพนกั งานผกู้ ระทาผดิ เป็ นผรู้ ่วมกนั ดาเนินการพจิ ารณาโทษทางวินยั และเม่ือลงโทษ
แลว้ ใหร้ ายงานกรรมการผจู้ ดั การไดท้ ราบ

4. การลงโทษดว้ ยการเลิกจา้ งโดยไมจ่ ่ายคา่ ชดเชยผบู้ งั คบั บญั ชาโดยตรงร่วมกับผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั เหนือข้ึน
ไปทุกระดบั ช้นั ของพนกั งานผกู้ ระทาผดิ จนถึงกรรมการผจู้ ดั การของบริษทั ฯ หรือผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมายกระทาการแทน
กรรมการผจู้ ดั การ เป็นผรู้ ่วมดาเนินการพิจารณาและดาเนินการลงโทษทางวนิ ยั บริษทั ฯ มีสิทธิสงั่ พกั งานพนกั งานเพ่อื
การสอบสวน กรณีท่ีพนกั งานถกู กล่าวหาวา่ มีความผิด โดย

1. ระยะเวลาการพกั งานไม่เกิน 7 วนั (การพกั งานเพอ่ื การสอบสวนไม่ถือเป็ นการลงโทษ)
2. บริษทั ฯ จะแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบล่วงหนา้ ก่อนการพกั งาน
3. ระหวา่ งพกั งาน บริษทั ฯ จะไมจ่ ่ายคา่ จา้ งให้
4. เมื่อการสอบสวนเสร็จสิ้นหากปรากฏวา่ พนกั งานไมไ่ ดก้ ระทาผดิ บริษทั ฯ จะจ่ายคา่ จา้ งในส่วนที่
ขาดใหค้ รบ เท่ากบั คา่ จา้ งในวนั ทางานนบั แตว่ นั ที่ถกู สั่งพกั งาน

บทที่ 9

การร้องทกุ ข์ และการเสนอความคดิ เหน็

9.1 การร้องทกุ ข์

เพอื่ ใหเ้ กิดความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบริษทั ฯ และพนกั งาน และเพอ่ื ใหพ้ นกั งานทางานดว้ ยความสุข
พนกั งานมีความไม่พึงพอใจหรือมีความทุกขใ์ ดเกิดข้ึน เนื่องจากการทางาน ไม่วา่ จะเป็นเรื่องสภาพการทางาน สภาพ
การจา้ ง การบงั คบั บญั ชา การสง่ั หรือมอบหมายงาน การจ่ายค่าตอบแทนในการทางานหรือประโยชน์อื่น หรือการ
ปฏิบตั ิใดท่ีไมเ่ หมาะสมระหวา่ งบริษทั ฯ หรือผบู้ งั คบั บญั ชาตอ่ พนกั งาน หรือระหวา่ งพนกั งานดว้ ยกนั และพนกั งานได้
เสนอความไมพ่ อใจหรือความทุกขน์ ้นั ต่อบริษทั ฯ เพื่อให้บริษทั ฯ ไดด้ าเนินการแกไ้ ขหรือยุติเหตกุ ารณ์น้นั โดยมี
วธิ ีการ ข้นั ตอน กระบวนการ ดงั ต่อไปน้ี

9.1.1 วิธีการ และข้นั ตอนการร้องทกุ ข์
การร้องทกุ ข์ จะกระทาดว้ ยวาจาหรือลายลกั ษณ์อกั ษรก็ได้ พนกั งานควรจะไดป้ รึกษาหารือขอ้ ขอ้ งใจ

กบั ผบู้ งั คบั บญั ชาช้นั ตน้ เพื่อหาทางตกลงก่อน หากการปรึกษาหารือน้นั ไร้ผล การยนื่ เร่ืองราวร้องทกุ ขท์ าได้
แต่เฉพาะเร่ืองของตนเองเท่าน้นั หา้ มมิใหย้ น่ื เรื่องราวร้องทกุ ขแ์ ทนบุคคลอื่น หรือในนามบคุ คลอ่ืน นอกจากน้ี
หนงั สือร้องทกุ ขท์ ี่ลงลายมือชื่อร่วมกนั หรือทาเป็นบตั รสนเทห่ ์ไม่ ระบชุ ่ือ ผรู้ ้องจะไม่ไดร้ ับการพิจารณา
พนกั งานก็อาจจะยนื่ เรื่องราวร้องทุกขน์ ้นั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ตามลาดบั ข้นั ดงั น้ี

1. ผบู้ งั คบั บญั ชาช้นั ตน้ หรือหวั หนา้ งาน
2. ผจู้ ดั การแผนก
3. ผจู้ ดั การฝ่าย
4. รองกรรมการผจู้ ดั การ
5. กรรมการผจู้ ดั การ
การร้องทกุ ขด์ ว้ ยลายลกั ษณ์อกั ษร บริษทั ฯ จะไมพ่ ิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ ที่มิไดล้ งช่ือจริงของผรู้ ้องทุกข์
ผบู้ งั คบั บญั ชาจะแจง้ ผลการพจิ ารณาขอ้ ร้องทุกขใ์ หพ้ นกั งานผรู้ ้องทุกขท์ ราบโดยเร็ว
9.1.2 การสอบสวนและพิจารณาขอ้ ร้องทกุ ข์
ใหผ้ รู้ ับคาร้องทุกขส์ อบสวนและพิจารณาขอ้ ร้องทกุ ข์ และแกไ้ ขปัญหาตามข้นั ตอนความรับผิดชอบ
ของตนโดยเร็ว ถา้ เป็นเร่ืองท่ีไมส่ ามารถแกไ้ ขปัญหาเองได้ ใหร้ ายงานตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาใหผ้ มู้ ีอานาจในการ
วินิจฉยั ขอ้ ร้องทุกขพ์ ิจารณาแกไ้ ขปัญหาดว้ ยความยตุ ิธรรม เพ่อื ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ร่วมกนั ระหวา่ งพนกั งาน
กบั บริษทั ฯ
9.1.3 กระบวนการยตุ ิขอ้ ร้องทุกข์
ถา้ ผรู้ ้องทุกขไ์ ม่พอใจผลการพจิ ารณาก็อาจอทุ ธรณ์ได้ โดยยน่ื คาอทุ ธรณ์ต่อกรรมการผจู้ ดั การ คาตดั สินของ
กรรมการผจู้ ดั การถือเป็นสิ้นสุด ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวขอ้ งตอ้ งถือปฏิบตั ิตาม

9.1.4 ความคุม้ ครองผรู้ ้องทกุ ข์ และผเู้ ก่ียวขอ้ ง
พนกั งานผรู้ ้องทุกข์ และผเู้ ก่ียวขอ้ งจะไม่ถกู ดาเนินการทางวินยั เนื่องจากการร้องทกุ ข์ เวน้ แตข่ อ้ ร้อง

ทกุ ขเ์ ป็นความเท็จ หรือผรู้ ้องทกุ ข์ หรือผเู้ ก่ียวขอ้ งกระทาผดิ วนิ ยั ดว้ ยตนเอง

9.2 การเสนอความคดิ เห็น

บริษทั ฯ ถือวา่ พนกั งานทกุ คนยอ่ มเป็นกาลงั สาคญั และมีส่วนที่จะช่วยเสริมสร้างความเจริญใหแ้ ก่บริษทั ฯ
บริษทั ฯ เห็นสมควรใหพ้ นกั งานทุกคนทกุ ระดบั ไดม้ ีส่วนในการเสนอความคดิ เห็นต่อบริษทั ฯ ในปัญหาตา่ ง ๆ
เกี่ยวกบั การปรับปรุงแกไ้ ขการดาเนินงาน เพ่อื ใหเ้ กิดผลดีต่อกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ฯ จึงวางหลกั การไว้ คือ

9.2.1 พนกั งานผใู้ ดมีความคดิ เห็นอนั อาจเป็นประโยชนต์ ่อบริษทั ฯ ไมว่ า่ จะเกี่ยวกับกิจการและการดาเนินงาน
ของบริษทั ฯ หรือเก่ียวกบั พนกั งานน้นั เอง ก็ขอให้จดั ทาขอ้ เสนอเป็นหนงั สือส่งผจู้ ดั การฝ่ายโดยแจง้ ช่ือให้
ชดั เจนและแสดงหน่วยงานที่ตนปฏิบตั ิงานอยดู่ ว้ ย ในการน้ีบริษทั ฯ จะปกปิ ดช่ือผเู้ สนอเป็นความลบั ที่สุด
9.2.2 บริษทั ฯ จะไมพ่ จิ ารณาขอ้ เสนอความคิดเห็นท่ีไมไ่ ดแ้ จง้ ช่ือจริง พร้อมท้งั ลายมือชื่อของผเู้ สนอ
9.2.3 ขอ้ เสนอความคิดเห็นของพนกั งานผใู้ ดท่ีเป็นประโยชน์ต่อบริษทั ฯ บริษทั ฯ อาจพิจารณาความชอบตอบ
แทนใหแ้ ก่พนกั งานผูน้ ้นั

บทที่ 10

การพ้นสภาพจากการเป็ นพนักงาน

พนกั งานจะพน้ สภาพจากการเป็นพนกั งานของบริษทั ฯ ในกรณี ดงั น้ี

10.1 ถึงแก่กรรม หมายถึง พนกั งานท่ีถึงแก่ความตายไม่วา่ ดว้ ยเหตใุ ด โดยมีใบมรณบตั ร ซ่ึงออกใหโ้ ดยทาง

ราชการมามอบใหท้ างบริษทั ฯ

10.2 ลาออก หมายถึง พนกั งานสมคั รใจจะลาออก โดยยนื่ ความจานงเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรล่วงหนา้ ตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา

ตามลาดบั ช้นั ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 วนั ก่อนถึงวนั ท่ีพนกั งานประสงคจ์ ะลาออก การลาออกจะมีผลต่อเม่ือไดร้ ับอนุมตั ิจากผมู้ ี
อานาจอนุมตั ิแลว้

10.3 เกษยี ณอายุ หมายถงึ พนกั งานท่ีอายคุ รบ 60 ปี บริบูรณ์ตอ้ งพน้ สภาพการเป็นพนกั งาน พนกั งานที่ครบเกษียณ

อายใุ นปี ใด บริษทั ฯ จะใหพ้ นกั งานผูน้ ้นั พน้ สภาพจากการเป็นพนกั งาน นบั ต้งั แตว่ นั ที่ 1 มกราคมของปี ถดั ไป โดย
ไดร้ ับค่าชดเชยตามกฎหมาย ในกรณีจาเป็น บริษทั ฯ อาจจะพจิ ารณาต่ออายงุ านของพนกั งานตามความเหมาะสม

10.4 เลกิ จ้าง หมายถึง การที่นายจา้ งไม่ใหล้ กู จา้ งทางานตอ่ ไปและไม่จ่ายคา่ จา้ งให้ ไม่วา่ จะเป็นเพราะเหตุสิ้นสุด

สญั ญาจา้ ง หรือ การท่ีลูกจา้ งไม่ไดท้ างานและไม่ไดร้ ับค่าจา้ งเพราะเหตุท่ีนายจา้ งไมส่ ามารถดาเนินกิจการตอ่ ไป หรือ
เหตุอื่นใด ดงั ต่อไปน้ี

ก. พนกั งานกระทาผิดทางวนิ ยั ถึงข้นั ร้ายแรง
ข. ยบุ เลิกหน่วยงาน หรือลดอตั รากาลงั
ค. เจ็บป่ วยถึงข้นั ทพุ พลภาพ จนไม่สามารถทางานไดห้ รือสุขภาพไม่สมบรู ณ์ และแพทยล์ งความเห็นวา่ เป็น
โรคเร้ือรัง หรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรงอนั อาจเป็นอนั ตรายต่อพนกั งานคนอื่น จนไม่สามารถทางานในหนา้ ที่เดิมหรือ
หนา้ ที่อ่ืนต่อไปได้
ง. หยอ่ นสมรรถภาพ หมายถึง ผลงานของพนกั งานผูน้ ้นั ไม่ไดเ้ ป็นไปตามที่กาหนดไวใ้ นแบบแสดงลกั ษณะ
งาน ซ่ึงผบู้ งั คบั บญั ชาไดเ้ คยช้ีแจง้ ตกั เตือนดว้ ยวาจา และดว้ ยลายลกั ษณ์อกั ษรมาก่อนแลว้ แต่ยงั ไม่ปรับปรุงใหด้ ีข้ึน
ภายในเวลาอนั สมควร
จ. ปฏิบตั ิตวั ไม่เหมาะสม หมายถึง

1. วิธีปฏิบตั ิงานของพนกั งานผนู้ ้นั ทาใหป้ ระสิทธิภาพการทางานของหน่วยงานน้นั หรือหน่วยงาน
อ่ืนลดนอ้ ยถอยลง

2. ลกั ษณะเฉพาะตวั พนกั งานผนู้ ้นั ทาใหป้ ระสิทธิภาพการทางานของหน่วยงานน้นั หรือหน่วยงาน
อื่นลดนอ้ ยถอยลง

กรณีตามขอ้ 1 และขอ้ 2 แห่งขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การทางานฉบบั น้ีบริษทั ฯ จะพจิ ารณาตามความ
เหมาะสมเป็นราย ๆ ไป
พนกั งานที่พน้ สภาพการจา้ งตามขอ้ ตอ่ ไปน้ี ไม่มีสิทธิไดร้ ับค่าชดเชย

พนกั งานที่พน้ สภาพการจา้ งตามขอ้ ต่อไปน้ี ไม่มีสิทธิไดร้ ับคา่ ชดเชย
ก. พนกั งานท่ีสมคั รใจลาออกเอง
ข. พนกั งานทดลองงานตามที่กาหนดเวลาทดลองงานไวไ้ มค่ รบ 119 วนั และเลิกจา้ งในระหวา่ งเวลาน้นั
ค. สาหรับการจา้ งงานในโครงการเฉพาะที่มิใช่งานปกติของธุรกิจ หรือการคา้ ของบริษทั ฯซ่ึงตอ้ งมีระยะเวลา

เร่ิมตน้ และสิ้นสุดของงานที่แน่นอน หรือในงานอนั มีลกั ษณะเป็นคร้ังคราวที่มีกาหนดการสิ้นสุด หรือความสาเร็จ
ของงานหรืองานตามฤดูกาล ซ่ึงงานน้นั จะตอ้ งแลว้ เสร็จภายในเวลาไม่เกินสองปี

ง. พนกั งานท่ีบริษทั ฯ บอกเลิกจา้ ง หากบริษทั ฯ สามารถพิสูจน์ทราบภายหลงั วา่ ก่อนเขา้ ทางานมีการแจง้
ขอ้ ความเป็นเทจ็ และก่อใหเ้ กิดความเสียหายแก่บริษทั ฯ

จ. พนกั งานที่ถูกเลิกจา้ งแห่งขอ้ บงั คบั ฉบบั น้ี
ฉ. กรณีอ่ืนใด ตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ (พรบ.คมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 ม.119)

บทที่ 11

เงินชดเชยเมื่อพ้นสภาพจากการเป็ นพนักงาน

กรณีที่พนกั งานพน้ สภาพจากการเป็นพนกั งานของบริษทั ฯ โดยไดร้ ับเงินค่าชดเชย บริษทั ฯ จะจ่ายเงิน
คา่ ชดเชยใหแ้ ก่พนกั งานตามอตั ราที่กฎหมายแรงงานกาหนดไว้ ดงั น้ี

1. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ 120 วนั (หน่ึงร้อยยสี่ ิบวนั ) แต่ไมค่ รบหน่ึงปี ใหจ้ ่ายไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ ง อตั รา
สุดทา้ ย สามสิบวนั หรือไม่นอ้ ยกวา่ คา่ จา้ งของการทางาน 30 วนั สุดทา้ ย สาหรับลกู จา้ งซ่ึงไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดย
คานวณเป็ นหน่วย

2. ลกู จา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ 1 ปี (หน่ึงปี ) แต่ไมค่ รบสามปี ใหจ้ ่ายไม่นอ้ ยกวา่ คา่ จา้ งอตั ราสุดทา้ ย 90วนั
หรือไม่นอ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางาน 90 วนั สุดทา้ ย สาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

3. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั ครบ 3 ปี (สามปี ) แตไ่ ม่ครบหกปี ใหจ้ ่ายไมน่ อ้ ยกวา่ คา่ จา้ งอตั ราสุดทา้ ย 180วนั
หรือไม่นอ้ ยกวา่ คา่ จา้ งของการทางาน 180 วนั สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ งซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

4. ลูกจา้ งทางานติดต่อกนั ครบ 6 ปี (หกปี ) แตไ่ มค่ รบ 10 ปี (สิบปี ) ใหจ้ ่ายไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย 240
วนั หรือไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งของการทางาน 240 วนั สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ งซ่ึง ไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็น
หน่วย

5. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั 10 ปี ข้ึนไป ใหจ้ ่ายไมน่ อ้ ยกวา่ คา่ จา้ งอตั ราสุดทา้ ย 300 วนั หรือไม่ นอ้ ยกวา่
คา่ จา้ งของการทางาน 300 วนั สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ ง ซ่ึงไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

6. ลูกจา้ งซ่ึงทางานติดต่อกนั 20 ปี ข้ึนไป ใหจ้ ่ายไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย 400 วนั หรือไม่ นอ้ ยกวา่
ค่าจา้ งของการทางาน 400 วนั สุดทา้ ยสาหรับลูกจา้ ง ซ่ึงไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย

ก. ในกรณีที่บริษทั ฯ ยา้ ยสถานประกอบกิจการไปต้งั ณ สถานท่ีอ่ืน อนั มีผลกระทบสาคญั ต่อการ
ดารงชีวิตตามปกติของพนกั งานหรือครอบครัว บริษทั ฯ จะแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ สามสิบ
วนั ก่อนวนั ยา้ ยสถานประกอบกิจการ ในการน้ีถา้ พนกั งานไม่ประสงคจ์ ะไปทางานดว้ ย ใหล้ ูกจา้ งมีสิทธิบอก
เลิกสญั ญาจา้ งได้ โดยลกู จา้ งมีสิทธิไดร้ ับคา่ ชดเชยพเิ ศษไมน่ อ้ ยกวา่ อตั ราค่าชดเชยที่พนกั งานพงึ มีสิทธิไดร้ ับ
ตามขอ้ 1 - ขอ้ 6 แลว้ แตก่ รณี

ข. ในกรณีท่ีบริษทั ฯ ไม่แจง้ ใหพ้ นกั งานทราบการยา้ ยสถานประกอบกิจการล่วงหนา้ ตามที่ระบไุ วใ้ น
ขอ้ ก. บริษทั ฯ จะจ่ายค่าชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ เท่ากบั ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ยสามสิบวนั หรือ
เทา่ กบั ค่าจา้ งของการทางานสามสิบวนั สุดทา้ ยสาหรับพนกั งานซ่ึงไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงาน โดยคานวณเป็น
หน่วยดว้ ย

ค. ในกรณีที่บริษทั ฯ จะเลิกจา้ งพนกั งานเพราะเหตุที่บริษทั ฯ มีการปรับปรุงหน่วยงานกระบวนการ
ผลิต การจาหน่าย หรือการบริการ อนั เนื่องมาจากการนาเคร่ืองจกั รมาใชห้ รือเปลี่ยนแปลงเครื่องจกั รหรือ
เทคโนโลยี ซ่ึงเป็นเหตุใหต้ อ้ งลดจานวนพนกั งาน บริษทั ฯ จะแจง้ วนั ที่จะเลิกจา้ ง เหตุผลของการเลิกจา้ งและ

รายชื่อพนกั งาน ตอ่ พนกั งานตรวจแรงงาน และ พนกั งานที่จะเลิกจา้ งทราบลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 60 วนั (หก
สิบวนั ) ก่อนวนั ท่ีจะเลิกจา้ ง หากบริษทั ฯ ไม่แจง้ ใหท้ ราบลว่ งหนา้ บริษทั ฯ จะจ่ายคา่ ชดเชยตามกฎหมาย และ
คา่ ชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกล่าวลว่ งหนา้ เท่ากบั ค่าจา้ งอตั ราสุดทา้ ย 60 วนั หากพนกั งานน้นั ทางานติดตอ่ กนั
เกิน 6 ปี (หกปี ) ข้ึน ไป บริษทั ฯ จ่ายค่าชดเชยพเิ ศษเพิ่มข้ึน จากค่าชดเชยตามกฎหมาย ไม่นอ้ ยกวา่ คา่ จา้ งอตั รา
สุดทา้ ย 15 วนั (สิบหา้ วนั ) ต่อการทางานครบหน่ึงปี แตค่ ่าชดเชยตามมาตราน้ีรวมแลว้ ตอ้ งไมเ่ กินค่าจา้ งอตั รา
สุดทา้ ยสามร้อยหกสิบวนั กรณีระยะเวลาทางานไม่ครบหน่ึงปี ถา้ เศษของระยะเวลาทางานมากกวา่ 180 วนั
(หน่ึงร้อยแปดสิบวนั ) ใหน้ บั เป็นการทางานครบหน่ึงปี

ระเบียบขอ้ บงั คบั การทางานน้ีใหม้ ีผลต้งั แต่วนั ที่ประกาศน้ีเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ. วนั ท่ี 1 มกราคม 2564 เป็ นต้นไป

……………………………..
(นายไพรวลั ย์ เผา้ หอม)
รองกรรมการผจู้ ดั การ

.................................................
(นายสุนทร ปทมุ มาศ)
กรรมการผจู้ ดั การ


Click to View FlipBook Version