รายงานการศึกษาแนวทางการปรับตัวด้าน นอกจากนี้ การศึกษาวิจัยนี้ยังวิเคราะห์
ดิจิทัล (Digital Adoption) สำหรับภาครัฐ ดัชนีชี้วัดการยอมรับสู่ดิจิทัลสากล (Digital
ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อเพิ่ม Adoption Index : DAI) ที่สะท้อนให้เห็นถึง
ประสิทธิภาพการอำนวยความสะดวก การยอมรับการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลซึ่ง
ในการประกอบธุรกิจ ศึกษาสถานการณ์ จัดทำโดยธนาคารโลก ตลอดจน ศึกษานโยบาย
การดำเนินงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล องค์ประกอบความสำเร็จ และวิธีการที่จะช่วย
ของภาครัฐในปัจจุบัน ผ่านการประเมินผล ส่งเสริมสนับสนุนการเข้าถึงดิจิทัลของทุกภาค
ระบบการให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนอย่างทั่วถึง เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(e-Service) ที่ส่งเสริมการอำนวยความ สามารถปรับปรุงการให้บริการดิจิทัลได้ตรง
สะดวกในการประกอบธุรกิจ รวมทั้งสิ้น 5 ประเด็น และวิเคราะห์ศักยภาพในพัฒนา
ระบบ ประกอบด้วย ระบบ e-Tax Invoice ด้านบริการดิจิทัลภาครัฐของประเทศไทยให้
และe-Filing ของกรมสรรพากร ระบบ สามารถอำนวยความสะดวกในการประกอบ
e-Registration ขอ ง กร ม พั ฒน า ธ ุ ร กิ จ ธรุ กจิ ได้ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของธนาคารโลก
ก า ร ค ้ า ร ะ บ บ e-Customs ข อ ง ก ร ม
ศ ุ ล ก า ก ร แ ล ะ ร ะ บ บ e-Payment ข อ ง ผลการศึกษาของโครงการวิจัยนี้ ช่วยให้
สำนกั งานประกันสังคม หน่วยงานภาครัฐของประเทศไทยที่กำกับดูแล
ระบบการให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
ตระหนักถึงประเด็นปัญหาต่างๆ รวมทั้งเข้าใจ
แนวทางการปรับตัวด้านดิจิทัลมากขึ้นจากการ
รับฟังเสียงสะท้อนและประสบการณ์การใช้งาน
บริการดิจิทัลภาครัฐของผู้ประกอบการ
ประชาชนและนักวิชาการ นอกจากนี้ หน่วยงาน
ยังสามารถรับทราบและเรียนรู้จากประสบการณ์
ของประเทศอื่น ๆ ที่กำลังเผชิญกับความท้าทาย
ที่คล้ายคลึงกัน ทั้งวิกฤตทางเศรษฐกิจและ
การเมืองควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงเชิง
โครงสร้างของโลกในศตวรรษที่ 21 เพื่อนำไปสู่
การปรับตวั ด้านดจิ ิทัล
สำนักงาน ก.พ.ร.
กนั ยายน
ขอบเขตการศกึ ษา
e-Tax Invoice e-Filing e-Registration e-Customs e-Payment
กรมสรรพากร กรมสรรพากร กรมพัฒนาธุรกิจ กรมศลุ กากร สำนักงาน
ประกนั สังคม
การคา้
ศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานด้านเทคโนโลยี
ดิจิทัลของภาครัฐในปัจจุบัน วิเคราะห์ดัชนีชี้วัด
การยอมรับสู่ดิจิทัลสากล (Digital Adoption
Index : DAI) ที่สะท้อนให้เห็นถึงการยอมรับการ
เปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลซึ่งจัดทำโดยธนาคารโลก
ตลอดจน ศึกษานโยบาย องค์ประกอบ
ความสำเร็จ และวิธีการที่จะช่วยส่งเสริมสนับสนุน
การเข้าถึงดิจิทัลของทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึง
เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถปรับปรุงการ
ให้บริการดิจิทัลได้ตรงประเด็น และวิเคราะห์
ศักยภาพในพัฒนาด้านบริการดิจิทัลภาครัฐของ
ประเทศไทยให้สามารถอำนวยความสะดวกในการ
ประกอบธุรกิจได้ตามเกณฑ์การประเมินของ
ธนาคารโลก
Literature review
(การทบทวนวรรณกรรม)
ความเหล่อื มล้ำในการเข้าถึงดิจิทัล
ข ้ อ ม ู ล ร ะ ด ั บ ค ร ั ว เ ร ื อ น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ก ำ ล ั ง พ ั ฒ น า มี หากมองจากมุมมองของจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนั้นดูมีความ
โทรศัพท์มือถือมากกว่าการเข้าถึงไฟฟ้าหรือน้ำสะอาด เ ท ่ า เ ท ี ย ม ก ั น ม า ก ก ว ่ า เ ม ื ่ อ ป ร ั บ ข น า ด ต า ม ร า ย ไ ด้
และกว่าร้อยละ 70 ของประชากร ในประเทศกำลัง สะท้อนถึงโลกาภิวัตน์ที่รวดเร็วของอินเทอร์เน็ต คำถามที่
พัฒนามีโทรศัพท์มือถือ จำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้น เกิดขึ้นคือ ในขณะที่เทคโนโลยีดิจิทัลกำลังขยายตัว การแบ่ง
เป็นสามเท่าในรอบทศวรรษ จาก 1 พันล้านในปี 2548 สรรผลประโยชน์จากดิจิทัลกลับไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ถึงประมาณ 3.2 พันล้าน ณ สิ้นปี 2558 ซึ่ง เนื่องจากเหตุผลหลักสองประการ ได้แก่ 1) กว่าร้อยละ 60
หมายความว่า ภาคธุรกิจ ประชาชนและภาครัฐเชื่อมต่อ ของประชากรทั่วโลกยังคงใช้บริการในรูปแบบออฟไลน์ และไม่
กันมากขึ้นกว่าเดิม โดยเฉลี่ยแล้ว 7 ใน 10 ของประชากร สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในเศรษฐกิจดิจิทัล 2) การรับรู้
ในประเทศกำลังพัฒนามีโทรศัพท์มือถือ และมีจำนวน ประโยชน์ของเทคโนโลยีดิจิทัลถูกทดแทนด้วยความเสี่ยงที่
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้จะอยู่ในอันดับที่ห้าของ เกิดขึ้นใหม่ ประเทศเศรษฐกิจขั้นสูงหลายแห่งเผชิญกับ
ประชากรที่มีรายได้ต่ำ กว่าร้อยละ 70 มีโทรศัพท์มือถือ ตลาดแรงงานที่มีการแบ่งขั้วเพิ่มขึ้นและความไม่เท่าเทียมที่
การรุกทางโทรศัพท์ที่ต่ำที่สุดอยู่ใน Sub-Saharan เพิ่มขึ้น ส่วนหนึ่งเกิดจากเทคโนโลยีต้องการทักษะที่สูงขึ้นใน
Africa (ร้อยละ 73) เทียบกับร้อยละ 98 ในประเทศที่มี ขณะเดียวกันก็สามารถแทนที่งานประจำ ส่งผลให้แรงงาน
รายได้สูง แต่การรับเอาอินเตอร์เน็ตมาใช้ (Internet จำนวนมากต้องแข่งขันเพื่อหางานที่มีรายได้น้อย นอกจากน้ี
Adoption) นั้นมีความล้าหลังมาก : มีเพียงร้อยละ 31 การลงทุนของภาครัฐในเทคโนโลยีดิจิทัล ในหลายกรณีที่ขาด
ของประชากรในประเทศกำลังพัฒนาที่เข้าถึงได้ในปี ภาระรับผดิ ชอบ เอือ้ ผลประโยชน์ตอ่ ชนชน้ั สงู ซง่ึ อาจก่อใหเ้ กิด
2014 เทียบกับร้อยละ 80 ในประเทศที่มีรายได้สูง การครอบครองนโยบายและการควบคุมของรัฐมากขึ้น และ
ประเทศจีนมีจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดรองลงมา เนื่องจากธุรกิจอินเทอร์เน็ตมักจะมุ่งเน้นการผูกขาดโดย
คอื สหรฐั อเมริกา ญ่ปี ุน่ อินเดียและบราซลิ ธรรมชาติ การขาดสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เอื้อต่อแข่งขัน
กนั ได้นัน้ จะส่งผลใหเ้ กิดตลาดท่ีเข้มข้นมากขน้ึ
ความเหลือ่ มลำ้ ในการเข้าถึงดจิ ทิ ลั
ผลการสำรวจประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปจำนวน ช่องว่างที่เกี่ยวพันกับกลุ่มประชากรแบบ
63.3 ล้านคน พบว่า กรุงเทพมหานครมีจำนวน เดียวกันนี้ก็เกิดขึ้นในละตินอเมริกา และแม้แต่ใน
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และ ประเทศที่รายได้ปานกลางหรือรายได้สูงในกลุ่ม
โทรศัพท์มือถือสูงที่สุด (ร้อยละ 46.5 ร้อยละ ประเทศสหภาพยุโรป (World Bank, 2016)
77.5 และร้อยละ 94.7 ตามลำดับ) ในขณะที่ภาค ช่องว่างทางดิจิทัลสะท้อนถึงความเหลื่อมล้ำใน
ตะวันออกเฉียงเหนือมีจำนวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์ การเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลและอุปสรรคในการใช้
และอินเตอร์เน็ตต่ำที่สุด ร้อยละ 23.6 และร้อยละ งานให้เกิดประสิทธิภาพ พื้นที่มากมายยังคง
46.2 ในขณะที่การใช้โทรศัพท์มือถือต่ำที่สุดคือ ขาดการเชื่อมต่อ นอกจากนี้ ประชาชนเป็นส่วน
ภาคเหนือ ร้อยละ 86.8 เมื่อพิจารณาการใช้ ใหญ่มักจะใช้ e-government ในการรับข้อมูล
อินเตอร์เน็ตระหว่างเพศชายและเพศหญิงพบว่า สารสนเทศ มากกว่าเพื่อทำธุรกรรมและการใช้
ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก ความเหลื่อมล้ำ e-governmentของประชาชนนั้นมักจะมีความไม่
เกิดขึ้นระหว่างเยาวชน (ร้อยละ 91.4) และผู้ที่มี เท่าเทียมกัน ช่องว่างทางดิจิทัลสะท้อนถึงความ
อายุมากกว่า 50 ปี (ร้อยละ 21.2) และมีจำนวน เหลื่อมล้ำในการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลและ
ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในเขตเทศบาลร้อยละ 66.1 อุปสรรคในการใช้งานให้เกิดประสิทธิภาพ พื้นที่
ในขณะที่นอกเขตเทศบาลมีผู้ใช้อินเตอร์เน็ต มากมายยงั คงขาดการเชอื่ มต่อ
รอ้ ยละ 49.3 (สำนกั งานสถติ ิแหง่ ชาต,ิ 2561)
เชอื่ มโยงภาครัฐ
ภาครัฐกำลังก้าวเข้าสู่ระบบดิจิทัลมากขึ้น และการแบ่งงานด้าน
ไอซีทีของภาครัฐในประเทศกำลังพัฒนามีความเข้มข้นมากกว่า
ภาคเอกชน ภายในปี 2557 รัฐสมาชิกทั้ง 193 แห่งของ
สหประชาชาติ (UN) มีเว็บไซต์ระดับชาติ : 101 ประเทศสามารถ
สร้างบัญชีออนไลน์ส่วนบุคคล 73 ประเทศสามารถดำเนินการ
ยื่นภาษีรายได้ออนไลน์และ 60 ประเทศสามารถดำเนินการจด
ทะเบียนนิติบุคคล สำหรับระบบการบริหารราชการ 190
ประเทศสมาชิกมีระบบการบริหารจัดการทางการเงินแบบ
อัตโนมัติ 179 ประเทศใช้ระบบดังกล่าวสำหรับการประมวลผล
ศุลกากร และ 159 ประเทศสำหรับการบริหารจัดการภาษี และ
148 ประเทศมีรูปแบบ digital identification และ 20 ประเทศมี
แพลตฟอร์ม digital identification ปัจจุบันประเทศกำลัง
พัฒนาได้ลงทุนในฟังก์ชั่น back-office โดยอัตโนมัติมากกว่า
การใหบ้ ริการโดยตรงแกป่ ระชาชนและภาคธุรกิจ
Key findings
Why many
citizens still
prefer the face-
to-face
channel?
(ทำไมประชาชนยงั
นยิ มใช้ชอ่ งทางปกต?ิ )
The citizens’ voice
The citizens’ voice
10 10ALMOST
OUT OF
ชอ่ งทางปกตมิ คี วามสะดวก รวดเรว็ “e-Registration ดูชา้ เพราะว่ามขี ัน้ ตอนทีต่ ้องรอ
ใหท้ ัง้ ฝ่ังผใู้ ชบ้ ริการและเจ้าหนา้ ท่ีเขา้ มาทาํ ในระบบ
ดว้ ยกนั ถ้าอยูห่ นา้ จอพรอ้ มกนั เลย ประมาณ
”พอเปน็ กระดาษการทำธุรกรรมง่ายกวา่ เพราะเจ้าหน้าที่เตรยี ม 10 นาทีกเ็ สรจ็ มีบางรายแก้ไป 10 กวา่ รอบ
เอกสารพรอ้ ม ทุกคนเซน็ มายนื่ ” ซ่ึงถา้ มาย่ืนเองในช่องทางปกติ กส็ ามารถแกไ้ ด้
“ชินกับการใชบ้ ริการแบบกระดาษ” ทีต่ รงนั้น เลย ”
“อยากหารือกบั นายทะเบยี น กรณตี ิดขดั ข้อกฎหมาย” “ย่ืนแบบกระดาษเร็วมากอยแู่ ลว้ เพียงแค่คร่งึ ชั่วโมง
“ระบบออนไลน์ยุง่ ยาก ไม่คุ้มค่า แตร่ ะบบออนไลนต์ อ้ งใชเ้ วลาเพ่ือรอเจา้ หน้าทีอ่ นุมัติ”
เสียเวลา ใหต้ ัวแทนย่นื ดกี ว่า”
“เทคโนโลยียงั ไมส่ ามารถทำแทนคนไดท้ ้งั หมด เชน่ การจดทะเบยี นฯ ตอ้ งใช้ความรู้
ความเช่ียวชาญในการตรวจคำขอ ท้ายทีส่ ดุ ต้องไปพบเจา้ หนา้ ทท่ี ่สี ำนกั งาน”
ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
ในการปรบั ตัวดา้ นดจิ ทิ ลั ภาครฐั
ผลการศึกษาพบว่า การมีอยู่และการดำเนินการของระบบ
การให้บริการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ล้วนสร้างประโยชน์
ให้กับประชาชนและผู้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ด้านความสะดวกในการประกอบธุรกิจ (ease of doing
business) สะท้อนให้เห็นถึงการดำเนินการของระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ที่ตอบสนองต่อบริบทการทำงานของ
ภาคธุรกิจที่ไม่มีข้อจำกัดด้านช่วงเวลาในการทำงาน ช่วยให้
ผู้ประกอบการและประชาชนมีทางเลือกในการรับบริการ
ทางเลือกที่เพิ่มขึ้นนี้ย่อมทำให้การทำธุรกิจมีความสะดวก
มากยิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นฐานสำคัญให้กับการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจดิจิทัล การยกระดับความรู้ด้านดิจิทัล ไม่เพียงแต่
เกิดขึ้นจากการใช้งานระบบ แต่ยังมีปัจจัยด้านการเผยแพร่
ความรู้อย่างเป็นระบบด้วยเช่นกัน ก่อให้เกิดประโยชน์ในเชิง
การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อที่จะนำ
ข้อมูลต่าง ๆ ที่วิเคราะห์มาใช้ในการกำหนดแนวทางในการ
พฒั นาการให้บรกิ ารได้
Policy
recommendations
ทักษะของเจ้าหน้าที่รัฐและผู้ใช้บริการยังคง กำหนดนโยบายในการพฒั นาทักษะ
เป็นปัญหาที่ท้าทายสำหรับผู้กำหนดนโยบาย ทจ่ี ำเป็นและเตรียมความพร้อมใน
ที่จะต้องวางแผนและกำหนดนโยบายในการ การรองรบั การใหบ้ รกิ ารดิจทิ ัล
พัฒนาทักษะที่จำเป็นและเตรียมความพร้อม ภาครัฐผา่ นการฝกึ อบรม
ในการรองรับการให้บริการดิจิทัลภาครัฐผ่าน ทกั ษะการวิเคราะหข์ ้อมลู ทั้งภายใน
การฝึกอบรม ไม่ว่าจะเป็นทักษะการวิเคราะห์ และภายนอก เพ่อื ปรับปรงุ
ข้อมูลทั้งภายในและภายนอก เพื่อปรับปรุง ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ การดำเนินการตา่ ง ๆ ของภาครัฐ
ดำเนนิ การตา่ ง ๆ ของภาครฐั
พฒั นายทุ ธศาสตร์เพ่อื ดึงดูด
พัฒนาและรักษาข้าราชการทม่ี ที กั ษะ
ด้านเทคโนโลยี
กำหนดให้มเี อกสารคูม่ ือการ
ปฏิบัติงาน (Standard Operating
Procedure: SOP)
เสริมทักษะดจิ ิทลั บนพน้ื ฐานของการ
ตระหนกั รู้ถงึ ความสำคญั ของดิจทิ ลั
และเสรมิ สรา้ งความเชี่ยวชาญ และ
ทกั ษะความเป็นผนู้ ำ
การเสรมิ สร้างปจั จัยรว่ มแอนะล็อก (Analog complements)
A CITIZEN-CENTRED กำหนดเป้าหมายยุทธศาสตร์ที่
APPROACH มีความเชอ่ื มโยงกบั การทำให้
(การยดึ ประชาชน งา่ ยและเปน็ ดจิ ทิ ลั ทัว่ ท้งั ภาครัฐ
เปน็ ศนู ยก์ ลาง)
แบง่ ปนั ทรัพยากร
ด้านเทคโนโลยีเพือ่
เอ้ือตอ่ การทำงาน
รว่ มกนั กับ
หน่วยงานอืน่ และ
ให้เปน็ มาตรฐาน
เดียวกัน
จดั ทำระบบดิจิทัลท่ีมคี วาม เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเขา้ มา
เชื่อมโยงและบูรณาการ มสี ่วนรว่ มในการปรบั ปรุง
กระบวนการดำเนินการ
ดิจทิ ลั ภาครฐั
DIGITAL SERVICE การโต้ตอบกบั ผูร้ บั บริการ (responsiveness)
QUALITY
(การยกระดับคุณภาพ
การให้บริการรปู แบบ
อิเล็กทรอนกิ ส)์
ความมปี ระสทิ ธิภาพ ความง่ายใน
ของเวป็ ไซด์ (website การใชส้ ืบคน้
effectiveness) (ease of
navigation)
การตอบสนองวตั ถุประสงคใ์ นการรับบริการ (fulfilment)
กำหนดเปา้ หมายยุทธศาสตร์ทีม่ ีความเชือ่ มโยง
กับการทำให้งา่ ยและเป็นดจิ ิทลั ทั่วทงั้ ภาครัฐ
การวางแผนการดำเนนิ งาน
ทีข่ บั เคล่ือนไดจ้ ริง และมี
ภาระรบั ผดิ ชอบ
การทบทวนกฎมายที่เปน็
อุปสรรค
การกำหนดหนว่ ยงานหลัก
ในการขบั เคล่ือนการใหบ้ รกิ าร
รูปแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์
การออกแบบและให้บริการท่ี
เปน็ มิตร
เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนเข้ามามสี ว่ นร่วมในการ
ปรับปรงุ กระบวนการดำเนินการดิจิทลั ภาครัฐ
มีชอ่ งทางเว็ปไซตเ์ พื่อรับฟงั เสียงสะท้อน
ของประชาชน
เปิดชอ่ งทาง
ร้องเรียนทเี่ ป็นระบบ
นวตั กรรมห้อง
ปฏบิ ัติการภาครัฐ
การสำรวจ
จดั ทำระบบดิจทิ ลั ท่มี ีความเชื่อมโยงและบรู ณาการ
ลดความซับซอ้ นของขอ้ กำหนด
ในการดำเนินธรุ กรรมของภาครัฐ
การสร้างมาตรฐานในรปู ลกั ษณข์ อง
interfaces และการโตต้ อบ
อำนวยความสะดวกในการเขา้ ถงึ
สำหรบั คนพกิ าร
แบง่ ปนั ทรพั ยากรด้านเทคโนโลยเี พือ่ เอ้ือตอ่ การทำงานร่วมกนั
กับหนว่ ยงานอ่นื และใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดียวกนั
แพลตฟอร์มทส่ี ามารถ
ทำงานร่วมกนั
ระบบดิจิทลั ด้านอัตลกั ษณ์ ลายเซ็นดิจทิ ลั
ระบบการบริการเชอ่ื มโยงขอ้ มูล ระบบชำระเงินทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ระบบเอกสารอเิ ล็กทรอนิกส์
การจัดทำเครื่องมือที่ใช้ข้อมูล นอกจากนี้ ภาครัฐควรให้บริการที่เป็นมิตร
ร่วมกันเพื่ออำนวยความสะดวกในการ กับประชาชน โดยยึดหลักการ 3 ประการที่
ประสานงานและการกำหนดมาตรฐาน ช่วยสร้างปฏิสัมพันธ์ที่เป็นมิตรกับผู้ใช้และ
ได้แก่ แพลตฟอร์มความสามารถในการ ประชาชนมากขึ้น ได้แก่ 1) ลดความซับซ้อน
ท ำ ง า น ร ่ ว ม ก ั น ( interoperability ของข้อกำหนดในการดำเนินธุรกรรมของ
platform) ซึ่งเชื่อมต่อแหล่งข้อมูลท่ี ภาครัฐ เช่น หลีกเลี่ยงการขอข้อมูลที่ภาครัฐ
แตกต่างกัน digital identity ทีส่ ามารถ ครอบครองอยู่แล้วและสามารถหาได้จากการ
ตรวจสอบและยืนยันตัวตนได้ ลายเซ็น ทำงานร่วมกันระหว่างระบบของหน่วยงาน
ดิจิทัล (e-signature) ใช้ลายเซ็นจริง ต่าง ๆ 2) การสร้างมาตรฐานในรูปลักษณ์
สำหรับการรับรองความถูกต้องของ ของอินเทอร์เฟซและการโต้ตอบ เช่น
เอกสาร หรือขั้นตอนต่าง ๆ การชำระเงิน การออกแบบเดียวกันสำหรับจุดบริการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-payment) และ ประชาชน เว็บไซต์และ การกำหนดมาตรฐาน
พัฒนาระบบ National Single Window ของรูปแบบการเก็บข้อมูล และฟังก์ชันการ
แ ล ะ ก า ร จ ั ด ท ำ e-document ท ี ่ มี ทำงานของเว็บไซต์ 3) อำนวยความสะดวกใน
มาตรฐานเดยี วกันทวั่ ทงั้ ภาครัฐ การเข้าถึงสำหรับคนพิการ เช่น สำหรับ
ช่องทางปกติ ควรอำนวยความสะดวกใน
การเข้าถึงทางกายภาพ สำหรับระบบ
ออนไลน์ ศักยภาพในการเข้าถึงสำหรับผู้ที่มี
ความสามารถด้านการมองเห็น การได้ยิน
หรือการรับรู้ที่แตกต่างกัน ควรได้รับการ
ขยายผลให้มากที่สุด การจัดเตรียม
อินเทอร์เฟซแบบบูรณาการและใช้งานง่าย
ต้องใช้ปัจจัยเสริมที่ส่งผลต่อกระบวนการ
สว่ นหนา้ (front office processes) เชน่ การ
แปลงธุรกรรมของรัฐบาลให้เป็นดิจิทัล และ
ก า ร ใ ช ้ National Single Window แ ล ะ
กระบวนการ re-engineering และการสร้าง
มาตรฐาน ความสามารถในการทำงาน
ร่วมกันและการปรับปรุงกฎข้อบังคับเพื่อทำ
ให้การบริหารราชการง่ายขึ้น ปฏิสัมพันธ์
กับประชาชนเป็นแบบบูรณาการอย่างมี
ประสทิ ธิภาพและเรียบงา่ ย