ช่วงแรกของบทนี้จะพูดเรื่องการเรียนและความจ�า ซึ่งจริงๆ
แล้วความจ�ามีหลายชนิด แต่ที่โรงเรียนท่ัวไปมักจะจัดบทเรียนให้
เด็กได้พฒั นาความจ�าสองแบบ ไดแ้ ก่
(1) การจา� ความหมาย (semantic memory) หรือความรู้
ท่วั ไปของโลกบนพ้ืนฐานขอ้ เท็จจริง
(2) การจ�าเหตุการณ์ (episodic memory) คือความ
สามารถทจ่ี ะระลึกเหตุการณ์ในชีวิตของตนเองในอดีต
ที่จริงแล้วนอกจากความจ�าสองแบบข้างต้น ยังมีอีกสอง
แบบท่สี �าคัญ ได้แก่ ความจา� โดยปรยิ าย (implicit memory) และ
ความจ�าเชิงกระบวนวิธี (procedural memory) อูชา กอสวามี
อธิบายสองเรื่องหลังนี้ไว้อย่างรวบรัด และอาจเข้าใจยากส�าหรับ
ผทู้ ีไ่ มค่ ุน้ เคย
ผมขออธบิ ายใหมด่ งั น้ี
ความจ�าโดยปริยาย เป็นความจ�าในระดับจิตก่อนส�านึก
(subconscious) น่ันแปลว่าพร้อมจะผุดขึ้นมาได้ตลอดเวลาโดย
อัตโนมัติ จัดเป็นส่วนหน่ึงของความจ�าระยะยาว (long-term
memory) และเพราะเป็นความจ�าระยะยาวน่เี องจึงเปน็ เร่อื งสา� คัญ
มาก นมี่ ใิ ชค่ วามจา� ชว่ั คราวประเดย๋ี วประดา๋ ว แตเ่ ปน็ ความจา� ทอี่ ยู่
กบั เดก็ และเราตอ่ ไปอกี นาน ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ นม่ี ใิ ชค่ วามจา� ทถี่ กู ขงั ลมื
50 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
มิได้อยู่ในจิตใต้ส�านึก (unconscious) อันลึกสุดคณาจนเจ้าตัว
ยงั ไมร่ ู้วา่ มี มันอยู่แค่ใตผ้ ืนน้า� เท่าน้นั เอง
เพ่ือให้เข้าใจง่ายข้ึน ให้เปรียบเทียบความจ�าโดยปริยาย
หรือ implicit memory กับค�าว่า explicit memory ที่แปลว่า
ความจา� ชดั แจง้ เชน่ บทอาขยานทเี่ ราทอ่ งไดท้ กุ ตวั อกั ษรโดยไมผ่ ดิ
“เด็กเอ๋ยเด็กน้อย ความรู้เรายังด้อยเร่งศึกษา” จะเห็นว่าความ
แขง็ แกรง่ ของความจา� ชดั แจง้ นอ้ี าจจะมมี ากถงึ ระดบั ทเี่ ราพยายาม
จะลบอยา่ งไรกล็ บมไิ ด้ หนา� ซา้� ยงั สง่ ผลตอ่ ชวี ติ ของเราอยา่ งนกึ ไมถ่ งึ
เชน่ กัน เชน่ ความรผู้ ิดๆ ทัง้ ปวงในวชิ าประวัติศาสตรไ์ ทย
หากเราพิจารณาภาษาการจัดการความรู้ (knowledge
management) จะพบค�าว่า explicit knowledge ซึ่งใช้เรียก
ความรู้ที่ต้ังมั่น เป็นความรู้ที่ถูกสถาปนาเอาไว้แล้ว (established
knowledge) กับค�าตรงข้ามท่ีนักจัดการความรู้พูดบ่อยคือ tacit
knowledge ใชเ้ รยี กความรแู้ ฝงในตวั คนทเ่ี กดิ จากประสบการณต์ รง
ความรู้แฝงน้ีเองที่อยู่คู่กายคนท�างาน เช่นเดียวกับความจ�าโดย
ปริยายทอ่ี ย่คู ใู่ จคนทกุ คน
กอสวามเี ขยี นถึงอีกค�าหนึง่ คือ ความจา� เชงิ กระบวนวิธี
ความจ�าเชิงกระบวนวิธีเป็นส่วนย่อยของความจ�าโดย
ปริยาย ได้แก่ ความจ�าเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติในกระบวนการต่างๆ
ยกตัวอยา่ งเช่น การผกู เชอื กรองเทา้
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 51
เด็กผูกเชือกรองเท้าได้ด้วยความจ�าเชิงกระบวนวิธี
แน่นอนว่าเขาได้รับการสอนและฝึกในวันแรกๆ ของชีวิต แต่เขา
จะท�าได้เองในภายหลังโดยไม่ต้องคิด เพราะมันเป็นความจ�าโดย
ปรยิ ายและความจา� เชงิ กระบวนวิธี
อกี ตวั อยา่ งหนงึ่ คอื คนเราขบั รถไดโ้ ดยไมต่ อ้ งคดิ มบี างครง้ั
ทเี่ ราเหมอ่ ขบั รถไปไดจ้ นถงึ ปลายทาง โดยมไิ ดใ้ สใ่ จเรอื่ งราวระหวา่ ง
ทางเลย เมื่อถึงปลายทางเรานึกไม่ออกด้วยซ้�าไปว่าเมื่อสักครู่
เราผ่านสแ่ี ยกไฟแดงท่ีผา่ นทุกเช้าทุกเย็นหรอื เปลา่ ผ่านตอนไหน
ผ่านมาได้อย่างไร มีใครข้ามถนนบ้าง ไฟแดงนานเท่าไร เป็นต้น
เราไม่ต้องคิดถึงวิธีขับรถ แตะเบรก หรือหมุนพวงมาลัย เราท�า
ทงั้ หมดด้วยความจา� โดยปรยิ ายและความจ�าเชิงกระบวนวธิ ี
หนังสือโยงเรื่องน้ีมาถึงเรื่องท่ีส�าคัญมากท่ีสุดเรื่องหน่ึง
สา� หรบั งานพัฒนาการเด็ก นั่นคอื เรือ่ งของ “ตวั บท”
เด็กพัฒนาตนเองโดยใช้ตัวบทเป็นเครื่องมือ เร่ืองท่ี
นา่ มหศั จรรยย์ งิ่ กวา่ คอื เรารวู้ า่ เดก็ พฒั นาความจา� ดว้ ยการใชต้ วั บท
เป็นเคร่ืองมืออีกด้วย และความจ�าที่เด็กพัฒนาขึ้นมานี้เรียกว่า
ความจา� ใช้งาน
เราพัฒนาเด็กเล็กหรือแม้กระทั่งทารกด้วยตัวบท ต�ารา
บางเล่มใช้ค�าว่าจังหวะ (rhythm) กล่าวคือเราฝึกเด็กให้รู้จักเวลา
52 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ดูดนมและเวลานอนอย่างต่อเนื่องและสม่�าเสมอ ด้วยวิธีนี้เด็กจะ
เรียนรู้ตัวบท (หรือจังหวะ) โดยที่ยังไม่มีความคิดค�านึงเรื่องเวลา
แม้แต่น้อย
ถ้าเราท�าเรื่องการดูดนมและการนอนให้เป็น “กิจวัตร”
เด็กก็จะท�าได้เองเมื่อถึงเวลา โดยไม่ต้องบังคับนอนหรือบังคับดูด
แตอ่ ย่างใด
หลังจากทารกได้ตัวบทแรก เมื่อเวลาผ่านไปเขาจะเร่ิม
จดจา� กจิ วตั รใหมๆ่ ทเ่ี พม่ิ เขา้ มางา่ ยขน้ึ แลว้ วนั หนง่ึ เขาจะรเู้ วลากนิ
เวลาดูดนม เวลาอ่านนิทานก่อนนอน และเวลานอน แล้วตัวบท
ชดุ ท่สี องก็ต้ังม่ัน
เมอื่ ทารกได้ตวั บทชุดทส่ี อง หลงั จากเวลาผา่ นไปอีก เขา
จะเรม่ิ จดจา� กจิ วตั รใหมๆ่ ทเ่ี พมิ่ เขา้ มาไดง้ า่ ยขนึ้ กวา่ เดมิ แลว้ วนั หนงึ่
เขาก็จะรูเ้ วลาทคี่ วรเก็บจานไปล้าง แปรงฟัน อาบน้�า แล้วไปอา่ น
หนงั สอื ในตอนเชา้ ของวนั จนั ทรถ์ งึ ศกุ ร์ (ยกเวน้ เสารอ์ าทติ ย)์ เขาก็
จะรเู้ วลาตนื่ นอน เกบ็ ทนี่ อน แปรงฟนั อาบนา้� แตง่ ตวั เขารวู้ ธิ ใี สเ่ สอ้ื
กลดั กระดมุ ใสก่ างเกง เกย่ี วตะขอ คาดเขม็ ขดั ใสถ่ งุ เทา้ ใสร่ องเทา้
พร้อมไปโรงเรียน บัดน้ีความจ�าโดยปริยายและความจ�าเชิง
กระบวนวิธีสอดประสานเป็นหนึ่งเดียว เขาท�าทุกอย่างน้ีได้โดย
อตั โนมัติ
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 53
แต่ก่อนจะถึงวันน้ัน เขาจ�าเป็นต้องผ่านการจดจ�าตัวบท
แรก แลว้ เขาจะจดจา� ตวั บททส่ี องไดง้ า่ ย และเมอื่ จดจา� ตวั บททส่ี อง
ไดง้ า่ ย เขาจะจดจา� ตวั บททสี่ ามไดง้ า่ ยยง่ิ ขน้ึ และงา่ ยยง่ิ ขน้ึ ทกุ ขณะ
เมื่อเวลาผา่ นไป
เห็นหรือยังว่าช่วงเวลา 3 ขวบปีแรกของเด็ก ส่ิงท่ีเรา
ควรท�าและต้องท�าคือการบริหารความจ�าโดยปริยายและความจ�า
ใช้งาน ไม่ใช่ การจ�าความหมายและการจ�าเหตุการณ์ อันน้ันเขา
เรยี กว่าทอ่ งหนังสอื สอบ
แตค่ วามจ�าโดยปริยายมีข้อควรระวงั ดว้ ย เป็นเรอื่ งท่ีงาน
จิตวิทยาสับสนมากท่ีสุดเรื่องหนึ่ง เหตุเพราะความจ�าโดยปริยาย
เป็นจิตก่อนส�านึกซึ่งก็เป็นส่วนย่อยของจิตใต้ส�านึกอยู่ดี ดังน้ัน
เราอาจเผลอเตมิ ความจา� นไี้ ดโ้ ดยไมท่ นั ระวงั และอาจเตมิ ผดิ ๆ ดว้ ย
ในทา� นองเดยี วกนั เดก็ กส็ ามารถเตมิ มนั ไดแ้ ละเตมิ ผดิ ๆ ไดเ้ ชน่ กนั
ยกตวั อยา่ งคา� ใหก้ ารของเดก็ เลก็ ตอ่ ตา� รวจหรอื ครู เราตอ้ ง
พงึ ระวงั ใหม้ าก โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ เมื่อเด็กถูกบีบค้ัน ตวั อยา่ งเช่น
ค�าให้การไปคนละทางของเด็กสองคนในตอนต้นของซีรีส์ Big
Little Lies
ในทา� นองเดยี วกนั เมอ่ื ผปู้ ว่ ยเลา่ เรอ่ื งราวสมยั เปน็ เดก็ เลก็
ให้แก่จิตแพทย์ฟัง เราพึงระวังเช่นกัน ด้วยความจ�าเหล่าน้ีอาจ
ผิดเพ้ยี นได้
54 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ความจ�าโดยปริยายเป็นความจ�าท่ีไม่เสถียร สามารถ
แตง่ เตมิ ไดท้ งั้ โดยเจตนาหรอื ไมเ่ จตนา เรอ่ื งทพี่ งึ ระวงั มากยงิ่ ขนึ้ คอื
บางครง้ั เดก็ แตง่ เตมิ ในครงั้ แรก แลว้ ฝงั ลงไปเปน็ ความจา� ระยะยาว
ที่ตนเองคดิ วา่ ถูกต้องตลอดไป
อย่างไรก็ตาม มีงานวิจัยหลายชิ้นท้ังท่ีปรากฏในหนังสือ
จิตวิทยาเด็ก: ความรู้ฉบับพกพา และในท่ีอ่ืนๆ ซ่ึงพบว่าเด็ก
สามารถจดจา� เหตกุ ารณส์ ะเทือนขวญั ได้ดกี ว่าเหตกุ ารณป์ กติ
เราจะเสริมสร้างความจ�าของเด็กได้อย่างไร กอสวามี
ได้ยกตัวอย่างเร่ืองแม่พาลูกไปเท่ียวสวนสัตว์ หากเราไม่ทบทวน
ความจ�าหลังเท่ียวเลย ความจ�าจะหายไปเร็ว หรือหากทบทวน
เพยี งหวั ขอ้ เชน่ วนั นเี้ หน็ ตวั อะไรบา้ ง ความจา� จะยงั คงเลอื นหายได้
แตถ่ า้ เราทบทวนในรายละเอยี ด เชน่ วนั นเ้ี ราพบสงิ โต สงิ โตอยใู่ นกรง
ตวั ใหญม่ ากเลย แผงคอสะทอ้ นแสงสที อง มนั ตะปบลกู ชายจอมซน
ของมันด้วยนะ เช่นนี้เราพบว่าเด็กจะจดจ�าได้นานกว่า เมื่อเวลา
ผา่ นไปหลายปี เดก็ กลมุ่ น้ีจา� เหตุการณ์วนั เที่ยวสวนสตั วไ์ ดด้ กี วา่
เวลาโรงเรียนสมัยใหม่พาเด็กออกนอกสถานท่ี ไป
สวนสตั ว์ ปา่ เขา ลา� ธาร หรอื พพิ ธิ ภณั ฑ์ เมอ่ื กลบั มาโรงเรยี นมไิ ดส้ ง่ั
ใหเ้ ดก็ เขยี นรายงาน แตใ่ หน้ งั่ เปน็ กลมุ่ พดู คยุ กนั ถงึ กจิ กรรมทผ่ี า่ นมา
เด็กมิได้มีความจ�าชัดแจ้ง แต่เด็กได้ความจ�าโดยปริยายซ่ึงไม่
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 55
แข็งกระด้างและพร้อมพัฒนาอย่างมีเสรีภาพและมีความยืดหยุ่น
ต่อไป ทั้งยังสง่ ผลดีต่อชวี ติ มากกว่าอย่างมหาศาล
งานวิจัยยังพบอีกว่า ภาษาเป็นปัจจัยส�าคัญของการ
พัฒนาความจา� โดยปรยิ าย ดงั นัน้ การเขยี นจงึ เป็นกลวธิ ที ด่ี ี
เมอ่ื เดก็ ๆ ไดเ้ ขยี นถงึ ประสบการณท์ ผี่ า่ นมาดว้ ยความสขุ
(มใิ ชเ่ ขยี นรายงานดว้ ยความทกุ ข)์ พฒั นาการของความจา� โดยรวม
ก็จะดียิง่ ขน้ึ ไปอกี
แลว้ คณุ ใหล้ กู “เขยี น” บา้ งหรอื ยงั
หากว่าในช่วงต้นของบทน้ีอ่านยากแล้ว ช่วงหลังซ่ึงว่าด้วย
การอ่านและจา� นวนยากกวา่
เด็กเรียนรู้ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสก่อน นี่เป็นความรู้
ท่ีเรารู้มาก่อนแล้วจากงานของเพียเจต์ หนังสือเขียนซ�้าอีกคร้ัง
เพ่อื ตอกยา�้ ความชดั เจนว่าเดก็ เรยี นรดู้ ้วยประสาทตาและหูก่อน
เด็กเรียนรู้อะไร เด็กเรียนรู้ฟิสิกส์ก่อน แล้วเรียนรู้เคมี
และตามดว้ ยชีววทิ ยา ความขอ้ นต้ี รงกับทเ่ี พยี เจตเ์ คยเขยี นเอาไว้
แลว้ เชน่ กัน เพยี เจตเ์ ขียนหนงั สือเอาไวส้ ามเลม่ เปน็ ภาษาฝรงั่ เศส
คือ The Child’s Conception of Movement and Speed (1946),
The Construction of Reality in the Child (1954) และ The Child’s
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 57
Conception of Time (1969) เพ่ืออธิบายขั้นตอนท่ีเด็กเรียนรู้
เร่ืองการเคลื่อนท่ีและความเร็ว เรื่องเวลา และเร่ืองความจริงหรือ
ความเปน็ จริง (reality)
หนังสือสามเล่มเขียนห่างกันหลายปี แต่การก่อร่าง
สรา้ งตัวของการเคลอ่ื นที่และความเร็ว เวลา และความจริง เกิดข้ึน
จากการมปี ฏิสมั พันธ์กนั อยา่ งใกลช้ ิดเสมอ
กอสวามียกตัวอย่างเรื่องการตกของวัตถุ เด็กเรียนรู้ว่า
วัตถุตกเป็นเส้นตรง น่ีคือความจริงชุดท่ีหนึ่ง วัตถุเคลื่อนที่จาก
บนลงล่างด้วยความเร็วหนึ่ง แล้วโลกก็เกิดแนวคิดเร่ืองเวลาข้ึน
ทัง้ ระบบนีค้ ือความจริง
แตค่ วามจรงิ นก้ี ถ็ กู บดิ เบอื นไดเ้ ชน่ กนั หนงั สอื ยกตวั อยา่ ง
“ข้อผิดพลาดเรื่องแรงโน้มถ่วง” เม่ือเราบิดงอท่อตรงเส้นหน่ึง
ให้ทางออกด้านล่างอยู่คนละต�าแหน่งกับทางเข้าด้านบน จากนั้น
ท้ิงลูกบอลลงท่อให้เด็กดู เด็กจะเฝ้าดูปลายท่อตามแนวดิ่งก่อน
เพราะโดยสมมติฐานท่ีเขาสรา้ งขึ้น ลกู บอลควรจะตกลงมาตรงๆ
ตวั อยา่ งน้บี อกอะไรแกเ่ รา มนั บอกว่าเดก็ ก�าลังสร้างโลก
ด้วยสายตา และสร้างสมมติฐานข้ึนมาจนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่า
สมมตฐิ านนน้ั ไม่จริง
หนงั สอื ยกตวั อยา่ งตอ่ ไปเรอ่ื งการทงิ้ ลกู บอลนอกหนา้ ตา่ ง
58 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
รถไฟที่ก�าลังว่ิง แม้แต่ผู้ใหญ่บางคน (ซึ่งเรียนหนังสือมาแล้วใน
บา้ นเรา) กย็ งั คดิ วา่ ลกู บอลควรตกลงไปตรงๆ แตท่ จ่ี รงิ แลว้ ลกู บอล
จะถูกกระท�าด้วยแรงอื่น ท�าให้ตกลงไปไม่ตรงกับต�าแหน่งที่ตั้ง
สมมตฐิ านไว้ นคี่ อื ความจรงิ ทบี่ ดิ เบย้ี วจากความจรงิ ทห่ี นง่ึ ประเดน็
คือหากเด็กมิได้รับโอกาสเรียนรู้ด้วยสายตาและฟังด้วยหูมากพอ
เขากอ็ าจเติบโตมาเปน็ เหมอื นผใู้ หญบ่ างคนท่ีว่านี้
หากอ่านงานของเพียเจต์จะพบว่า เพียเจต์เขียนเร่ือง
การเคล่ือนที่และความเร็วไว้ละเอียดมาก พร้อมด้วยการทดลอง
หลากหลายทแ่ี สดงถงึ พฒั นาการดา้ นแนวคดิ (conception) ของเดก็
เช่น เปรยี บเทยี บการเดินทางจากซ้ายไปขวาตามเสน้ ทาง A1 และ
A2 (ตามภาพ 5.1) เส้นทางไหนที่เด็กจะได้ระยะทางมากกว่ากัน
ด้วยความเร็วเท่าไร
A1
A2
ภาพ 5.1 การเดนิ ทางจากซ้ายไปขวาตามเสน้ ทาง A1 และ A2
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 59
แล้วท�าให้เร่ืองยากข้ึนไปอีกเม่ือให้เปรียบเทียบการเดิน
ทางจากซ้ายไปขวาตามเส้นทาง B1 และ B2 (ตามภาพ 5.2) ซึ่งเรา
จะเห็นฟันปลาท่ีย้อนกลับ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าเด็กรับรู้การเปลี่ยน
ตา� แหนง่ ของวัตถุ ระยะทางทไี่ ด้ ความเร็วท่ีใช้ แลว้ สร้างความจริง
ขนึ้ มาอยา่ งไร
B1
B2
ภาพ 5.2 การเดินทางจากซา้ ยไปขวาตามเส้นทาง B1 และ B2
จะเหน็ ว่าโลกของ A ไม่เหมือนโลกของ B เปน็ โลกท่ีเดก็
“สร้าง” ข้ึนมา มิใช่เพียงแต่เด็กเหน็ เอง
ประเด็นคือถ้าเราจับเด็กขังไว้ในห้องเรียนท้ังวัน เด็กจะ
สรา้ งโลกแบบไหน และเมอื่ เทยี บกบั พาเดก็ ออกไปเลน่ ในสนามหรอื
เดนิ ปา่ เดินเมอื ง เด็กจะสร้างโลกแบบไหน โลก A ยอ่ มไม่เหมอื น
โลก B
60 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
จากฟิสิกส์มาถึงเคมี เด็กเรียนรู้โครงสร้างและคุณสมบัติ
เสมือนหนึ่งล่วงรู้สูตรเคมีโดยมิได้ยึดติดกับรูปลักษณ์ภายนอก
แตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว จากนน้ั จงึ เปน็ ชวี วทิ ยา สองกรณนี ไี้ ดย้ กตวั อยา่ ง
แลว้ ในบทก่อนๆ
เมื่อเด็กสร้างความจริงหรือโลกข้ึนมาแล้ว ก็มาถึงเรื่อง
ระบบตรรกะ ส่วนนี้ไม่ยากเพราะเป็นเร่ืองที่เราเรียนรู้มาก่อนแล้ว
ระบบตรรกะในเด็กมีสองระบบพ้ืนฐานเช่นกันคือ การให้เหตุผล
เชงิ อุปนยั (induction) และนิรนยั (deduction) โดยท่ีเดก็ เรียนรู้ได้
เองตัง้ แตก่ ่อนวยั เรียน
กรณกี ารให้เหตุผลเชิงอปุ นัย ยกตวั อยา่ งเชน่ “คนมมี า้ ม
สนุ ัขมมี ้าม แล้วกระตา่ ยมีม้ามหรือไม่ ” เด็กๆ จะดูออกด้วยความ
รู้เร่ืองเคมีและชีววิทยาว่าสัตว์ท่ีเอ่ยชื่อมาเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ทุกตัว ดังนั้นกระต่ายก็ควรจะมีม้าม แต่ถ้าลองอีกตัวอย่างหนึ่ง
“สนุ ัขมีมา้ ม ผงึ้ มมี ้าม แลว้ คนมีมา้ มหรอื ไม่ ” เชน่ นเ้ี ดก็ จะเริ่มลงั เล
เพราะลักษณะภายนอกของผง้ึ นน้ั แตกตา่ งออกไปชัดเจน
อีกเรื่องที่ควรให้ความสนใจคือ การให้เหตุผลด้วยวิธี
เปรียบเทียบ (analogy) ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เพราะ
แรงโนม้ ถว่ ง ขณะทอี่ เิ ลก็ ตรอนโคจรรอบนวิ เคลยี สดว้ ยแรงโนม้ ถว่ ง
เช่นกัน เพราะโครงสร้างของสุริยจักรวาลและโครงสร้างอะตอม
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 61
คล้ายคลึงกัน ความสามารถด้านการเปรียบเทียบน้ีจะช่วยให้เด็ก
ขยายความจริงหรือโลกของตนเองออกไปได้อย่างกว้างขวาง
สา� หรบั กรณกี ารใหเ้ หตผุ ลเชงิ นริ นยั กอสวามยี กตวั อยา่ ง
ทเี่ ราคนุ้ เคยอกี เชน่ กนั “แมวทกุ ตวั เหา่ เรก็ ซเ์ ปน็ แมว เรก็ ซเ์ หา่ ไหม ”
คา� ตอบคือใช่ นเ่ี ปน็ การอา้ งเหตผุ ลเชิงตรรกะที่เดก็ 4 ขวบเรียนรู้
และยอมรับได้ ก่อนที่จะเผชิญเหตุผลที่ค้านกับความจริงต่อไป
น่ันคอื แมวไม่เหา่
ท้ังสามกรณีคือการให้เหตุผลเชิงอุปนัย วิธีเปรียบเทียบ
และนริ นยั เปน็ พฒั นาการพน้ื ฐานของชว่ งปฐมวยั ซง่ึ หากผอู้ อกแบบ
การศึกษาเข้าใจความจริงข้อน้ี แล้วต่อยอดการศึกษาในระบบ
โรงเรียนที่สอดรับกับพัฒนาการด้านตรรกะก็จะเป็นประโยชน์ต่อ
เดก็ อย่างมาก
พดู งา่ ยๆ ว่าไมใ่ ชว้ ธิ ที อ่ งจา� แต่ใหร้ ู้ทีม่ า
เร่ืองถัดไปเป็นเร่ืองการร่�าเรียนเขียนอ่าน หนังสือ
จิตวิทยาเด็กเล่มน้ียกตัวอย่างอักษรและค�าในภาษาอังกฤษเช่น
เดียวกับต�าราที่อธิบายเร่ืองกลไกการอ่านท่ัวไป เวลาอ่านต�ารา
เหล่าน้ี เราต้องคอยยกตัวอย่างเป็นภาษาไทยเพ่ือท�าความเข้าใจ
ควบคู่กัน กล่าวโดยสรุปคือ เด็กจ�าแนกเสียงได้ก่อน ตามด้วย
การจา� แนกอกั ขระ ดงั ทีห่ นงั สือเขียนไวว้ ่า “เดก็ สว่ นใหญ่จะเรยี นรู้
62 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
หลักการเชื่อมโยงเสียงกับตัวอักษรได้อย่างรวดเร็ว ” อันท่ีจริงก็
มไิ ดใ้ หค้ า� อธบิ ายทชี่ ดั เจนวา่ เพราะอะไรเดก็ สว่ นใหญจ่ งึ เชอ่ื มโยงได้
แต่พวกเขาท�าไดจ้ รงิ ๆ
หนงั สือพูดถงึ สามเรือ่ งทีน่ ่าสนใจ เรื่องแรกคอื เรื่องความ
บกพรอ่ งดา้ นการอ่าน (dyslexia) ใชว่ า่ เดก็ กล่มุ นจี้ �าแนกเสียงมิได้
แตอ่ าจจะเปน็ เพราะพวกเขา “แยกแยะเสยี งทแ่ี ตกตา่ งไดด้ เี กนิ ไป ”
พวกเขาแยกแยะความแตกตา่ งของเสยี งไดใ้ นรายละเอยี ดมากเกนิ
กว่าทีเ่ ดก็ คนอืน่ ทา� ได้ “ซึง่ โดยทว่ั ไป เม่อื อายุ 12 เดือน ทารกกจ็ ะ
ไม่ได้ยินเสียงแบบนี้แล้ว ” นอกจากนี้เด็กกลุ่มนี้ยังไม่สามารถระบุ
การเน้นเสียงพยางค์และจังหวะ โดยเรื่องการเน้นเสียงพยางค์นั้น
เปน็ ลักษณะเฉพาะตัวของภาษาอังกฤษ
เรื่องท่ีสองคือเรื่องการเขียน ซ่ึงเป็นสิ่งที่ “ท�าให้เรา
สามารถติดต่อส่อื สารกับคนท่ยี ังไม่เกิดได้ ”
เร่ืองสุดท้ายคือเร่ืองจ�านวน เด็กมิได้เรียนรู้จ�านวนด้วย
การนับ การนับมิได้มีอะไรแตกต่างจากการท่องจ�า แต่เด็กเรียนรู้
ดว้ ยระบบสญั ลกั ษณ์ (symbolization) การจดั ลา� ดบั (ordering) และ
การแบง่ กลุ่ม (grouping)
ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนจ�านวน ทว่าตัวเลขมิได้
ใช้แทนจ�านวนเพียงอย่างเดียว แต่ยังใช้แทนล�าดับท่ีและแทน
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 63
คณุ สมบตั ขิ องวตั ถไุ ดด้ ว้ ย “เพราะลา� ดบั เลขคอื สญั ลกั ษณบ์ ง่ ชขี้ นาด
โดยเรยี งตามลา� ดบั ก่อนหลัง ” กลา่ วคอื 2 อยูห่ ลัง 1 ดงั นนั้ 2 ยอ่ ม
ใหญ่กว่า 1 หรือมากกว่า 1 จะเห็นว่าความจริงข้อนี้มิได้เกิดจาก
การนบั แต่เกิดข้ึนไดจ้ ากการจัดกลุม่ และการจัดล�าดับ นอกจากน้ี
กลุ่มทม่ี วี ัตถุ 5 ชิน้ นบั ไดว้ า่ มจี �านวนมากกว่ากลมุ่ ทีม่ ีวตั ถุ 3 ชน้ิ
เด็กจงึ ไดเ้ รียนรคู้ วามหมายของค�าว่า “มากกวา่ ” เช่นนเี้ อง
พดู งา่ ยๆ วา่ การเลน่ หมากเกบ็ คอื การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
พ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ การจดั กลมุ่ จดั ลา� ดับ ระบจุ า� นวนมากกว่านอ้ ยกวา่
จากนั้นจึงนบั แลว้ เกบ็ ข้ึนมา
หนังสือเล่มน้ี ได้เสนอโมเดลของสมองท่ีเกี่ยวข้องกับ
จ�านวนว่า สมองมีสองระบบ คือ ระบบท่ีเป็นตัวแทนของการ
เปรยี บเทยี บจา� นวนชดุ ใหญ่ (analogue magnitude representation)
และระบบทใี่ ชบ้ ่งช้ีจ�านวนวัตถุ (object individuation)
การทา� งานของสองระบบนที้ า� ใหเ้ ดก็ สามารถเปรยี บเทยี บ
จา� นวนทมี่ ากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ ได้ และสามารถนบั จา� นวนเปน็ หลกั
หนว่ ยไดด้ ว้ ย เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งดา้ นการคา� นวณ (dyscalculia)
อาจจะมคี วามผดิ ปกตขิ องระบบทเ่ี ปน็ ตวั แทนของการเปรยี บเทยี บ
ชดุ ใหญ่ เม่อื ระบบนผ้ี ิดพลาด การเปรยี บเทยี บจ�านวนจะทา� ไมไ่ ด้
จึงคิดค�านวณทางคณิตศาสตร์ไม่ได้ “ทุกคนพูดได้ แต่ไม่ใช่
64 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ทกุ คนจะอา่ นไดห้ รอื เขยี นได้ …ทกุ คนนบั ได้ แตไ่ มใ่ ชท่ กุ คนจะเปน็
นกั คณิตศาสตรไ์ ด้ ”
ตัวแปรสา� คญั คือระบบสัญลกั ษณ์
และระบบสัญลักษณไ์ ด้จากการเล่น — ประโยคสดุ ทา้ ยนี้
ผมเขยี นเอง
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 65
6
การเรยี นรู้
ของสมอง
แล้วเราก็มาถึงบทที่ส�าคัญที่สุด และเป็นเร่ืองท่ีเราอยากให้
เดก็ ไทยมมี ากทส่ี ดุ
สมองของเด็กปัจจุบันเริ่มต้นด้วยการอ่าน เขียน และ
ค�านวณเป็นพ้ืนฐาน ก่อนจะพัฒนาไปสู่ข้ันตอนคิดวิเคราะห์ นี่คือ
โครงร่างอย่างง่ายๆ แต่ปญั หาของบ้านเราคอื เราทา� ลายโครงร่าง
อยา่ งง่ายๆ น้ีด้วยระบบการศกึ ษาท่ีเป็นอยไู่ ด้อยา่ งไร ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้
วันน้ีคือ เด็กไทยอ่านไม่ออก อ่านจับใจความไม่ได้ เขียนไม่ได้
เขียนไม่รู้เร่อื ง ไปจนถึงคดิ เชิงตรรกะไมไ่ ด้ และคิดวิเคราะหไ์ มเ่ ป็น
การคิดวิเคราะห์เริ่มจากวิธีคิดแบบนิรนัย ในบทที่แล้ว
ถามวา่ “แมวทกุ ตัวเหา่ เร็กซเ์ ปน็ แมว เรก็ ซเ์ หา่ ไหม” ค�าตอบคือใช่
น่เี ปน็ การอา้ งเหตุผลเชิงตรรกะที่เดก็ 4 ขวบเรียนรูแ้ ละยอมรบั ได้
ก่อนท่จี ะเผชญิ ความจรงิ ท่คี ้านกับเหตุผล นัน่ คอื แมวไม่เห่า
บทที่ 6 น้ีจะพูดถึงการเรียนรู้ของสมอง โดยยกอีกหนึ่ง
ตัวอยา่ งมาพจิ ารณา
หมีทุกตัวในดินแดนไกลโพ้นตอนเหนือที่มีหิมะตกมีขน
สขี าว หมเู่ กาะโนวายาเซมลย์ า [(Novaya Zemlya) อยทู่ างตอนเหนอื
ของรัสเซยี และเคยเป็นเขตทดลองนวิ เคลียร]์ เปน็ ดนิ แดนไกลโพ้น
ตอนเหนือทม่ี ีหมิ ะตก หมที นี่ ั่นจะมีขนสีอะไร
68 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
หากถามชาวนา เขาจะไมต่ อบและให้ไปถามคนท่นี ัน่ แต่
ถ้าถามเด็กท่ีได้เรียนตรรกะ เขาจะใช้เหตุผลเชิงตรรกะควบคู่กับ
ประสบการณ์ตรง ด้วยวิธีนี้เขาจะขยายโลกทัศน์ออกไปได้โดยไร้
ขอบเขต (นน่ั คอื ไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปถามคนท่นี ั่นกห็ าค�าตอบได)้
ดังที่กอสวามีเขียนว่า “การศึกษาช่วยให้เด็กกลายเป็น
‘ผู้เรียนทรี่ ู้จักขบคิดใคร่ครวญ’ เพราะทักษะทาง ‘อภิปัญญา’ (การ
ตระหนกั รถู้ งึ ปญั ญาความรขู้ องตนเอง) จะพฒั นาขนึ้ อยา่ งมหาศาล
ในชว่ งทเ่ี ดก็ ศกึ ษาเลา่ เรยี น ” และ “การศกึ ษาเลา่ เรยี นชว่ ยใหเ้ ดก็ โต
เรยี นรวู้ ธิ เี อาชนะอคตหิ รอื ความลา� เอยี งทอี่ าจขดั ขวางการใชเ้ หตผุ ล
เช่น ความล�าเอียงโดยยืนยันเหตุผลเข้าข้างตนเอง (confirmation
bias) ”
ยกตวั อยา่ งเชน่ การอา่ นหนงั สอื แอนมิ อล ฟารม์ สงคราม
กบฏของสรรพสัตว์ (Animal Farm) ของจอร์จ ออร์เวลล์ ควร
ประกอบดว้ ยสองขน้ั ตอน ขั้นตอนแรกคอื การตระหนักรู้ถึงปัญญา
ความรู้ของตนเอง และขัน้ ตอนท่ีสองคือ เอาชนะความลา� เอยี งโดย
ยนื ยนั เหตผุ ลเขา้ ขา้ งตนเอง เป็นต้น
พดู งา่ ยๆ วา่ เราอยากใหเ้ ดก็ ไทยรวู้ า่ ตนเองไมร่ อู้ ะไร และ
จะเอาชนะความไมร่ นู้ นั้ ไดอ้ ยา่ งไร มากกวา่ ทจ่ี ะรมู้ ากๆ อยา่ งทก่ี าร
ศกึ ษาไทยทา� อยู่
70 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ที่ส�าคัญย่ิงไปกว่าน้ันคือการพัฒนาความจ�าใช้งานและ
ทักษะสมองด้านการบริหารจัดการหรือ EF ซ่ึงจะช่วยให้เด็ก
สามารถยับยั้งความคิด อารมณ์ และการกระท�าได้
เด็กที่ทบทวนตนเองได้ดีกว่าจะมีอภิปัญญาสูงกว่า
สามารถ “ใครค่ รวญ” ทกั ษะประมวลผลของตนเอง สามารถตรวจสอบ
“ประสิทธิภาพในการท�างาน” ของสติปัญญาตนเอง และสามารถ
“ตระหนกั ร”ู้ ถงึ สมรรถนะของสตปิ ญั ญาตนเอง ขอใหใ้ สอ่ ญั ประกาศ
ให้ถูกต�าแหน่ง จะเห็นได้ว่าจุดส�าคัญมิได้อยู่ท่ีทักษะประมวลผล
หรอื สติปญั ญา แตเ่ ปน็ สงิ่ ท่ี เหนือ (อภิ- หรอื epi-) กวา่ น้นั
หนังสือได้ยกตัวอย่างงานทดลองการท่องจ�าระหว่าง
เดก็ เลก็ กบั เดก็ โต พบวา่ เดก็ โตพฒั นากลไกทอ่ งจา� ไดด้ กี วา่ จากนนั้
จงึ ทดลองการเชอื่ มโยงสญั ลกั ษณ์ พบวา่ เดก็ โตเชอ่ื มโยงสญั ลกั ษณ์
ได้ดีกว่า ประเด็นคอื เด็กโตควรมอี ภปิ ัญญามากพอท่ีจะใคร่ครวญ
ถงึ กลไกทเี่ คยทา� นน่ั คอื การทอ่ งจา� แลว้ กา้ วขา้ มไปสกู่ ลไกทสี่ งู กวา่
นนั่ คอื การเชอ่ื มโยงสญั ลกั ษณ์ ทวา่ ปญั หาของบา้ นเราคอื เดก็ มกั จะ
ติดอยู่กับทเี่ ดมิ ไม่ก้าวข้ามตอ่ ไป
แมแ้ ตเ่ รอื่ งความจา� เดก็ ทใี่ สใ่ จสว่ นทอี่ ยู่ เหนอื กวา่ ความจา�
จะจดจ�าได้ดีกว่า โดยทดลองให้เด็กกลุ่มหนึ่งดูวิดีโอที่ฉายภาพ
วธิ จี า� รปู ภาพชดุ หนงึ่ พบวา่ เดก็ ทบี่ รรยายวธิ จี า� ไดด้ กี วา่ จะจดจา� ได้
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 71
มากกวา่ จากงานทดลองน้นี า� ไปสูอ่ ีกสองคา� ที่ควรรู้คอื “ความยาก
ง่ายในการเรยี นร้”ู (ease of learning) และ “ความมน่ั ใจในสิ่งทร่ี ู้”
(feeling of knowing) โดยท่ัวไปความยากง่ายในการเรียนรู้ไม่
สมั พนั ธก์ บั อายุ กลา่ วคอื เดก็ โตบางคนไมไ่ ดพ้ ฒั นาความสามารถนี้
และโดยส่วนใหญ่คนเราประเมินจากความมั่นใจในสิ่งที่รู้มากกว่า
ความเป็นจริง
ยกตัวอย่างหนังสือสองเล่มของจอร์จ ออร์เวลล์ หนังสือ
เล่มแรกคือ แอนมิ อล ฟารม์ สงครามกบฏของเหลา่ สรรพสัตว์ น้นั
อ่านง่ายและเข้าใจได้ง่ายกว่าหนังสือเล่มที่สองน่ันคือ 1984 แต่
ส�าหรับผู้ท่ีอภิปัญญาไม่สูงนักย่อมไม่สามารถใคร่ครวญสมรรถนะ
ของสติปัญญา และความยากง่ายในการเรียนรู้ของตนเองว่า
อา่ นหนังสือทงั้ สองเลม่ รเู้ ร่อื งมากเพียงใด
เร่อื งต่อไปคือ EF ซงึ่ สมั พนั ธก์ บั สติปัญญาทั่วไป ทักษะ
ภาษา และความจา� ใชง้ าน ชว่ ยใหเ้ ดก็ สามารถควบคมุ ยบั ยง้ั ความคดิ
นา� ไปสกู่ ารควบคมุ ความคิด ความรสู้ ึก และการกระท�า
สงิ่ ทค่ี วรรู้คอื EF สามารถพัฒนาได้ แม้ในเด็กท่ีไมไ่ ด้ไป
โรงเรียน
หนังสือกล่าวถึงเรื่อง “ความสามารถท่ีจะชะลอความ
ต้องการเติมเต็มความพอใจ” (delayed gratification) โดยยก
ตัวอย่างการทดลองที่ห้ามไม่ให้เด็กหยิบขนมจนกว่าจะได้ยิน
72 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
เสียงกริ่ง และอีกประเด็นคือเรอื่ ง “การยบั ยงั้ ความคดิ ” (inhibitory
control) โดยยกตัวอย่างการทดลองทีเ่ รียกว่า go/no-go task ซึ่ง
กา� หนดใหเ้ ดก็ พดู วา่ กลางวนั เมอื่ เหน็ ดวงจนั ทร์ และพดู วา่ กลางคนื
เมอ่ื เหน็ ดวงอาทติ ย์ สมองจะบรหิ ารจดั การโจทยเ์ หลา่ นไ้ี ดด้ ว้ ย EF
ทดี่ ี กล่าวคือ ยบั ยง้ั หน่งึ พดู อกี หนึง่
อีกประเด็นคือเร่ืองสิ่งเร้าหรือสิ่งยั่วยวน สมองเด็กจะ
บรหิ ารจดั การไดด้ กี วา่ เมอื่ จดั การสงิ่ เรา้ หรอื สง่ิ เยา้ ยวนทมี่ ากอ่ กวน
สมาธิได้ดี เด็กสมาธิส้ันได้ช่ือว่าเป็นเด็กที่มีภาวะพร่อง EF (EF
Deficit) แตถ่ ้าเราเข้าใจและแยกแยะกลไก EF ได้ กน็ า่ จะช่วยเหลอื
เด็กกลุม่ นไี้ ดม้ ากข้นึ
“ทกั ษะภาษาทอี่ อ่ นดอ้ ยทา� ใหเ้ ดก็ ไมอ่ าจควบคมุ ความคดิ
อารมณ์ และการกระท�าผา่ นการพูดคยุ กบั ตัวเองในใจอย่างเต็มท”่ี
จะเหน็ วา่ เดก็ ทพ่ี ดู คนเดยี วระหวา่ งเลน่ คนเดยี วหรอื ทา� งานคนเดยี ว
แท้จริงแล้วเขาก�าลังฝึกฝนทักษะภาษา (private speech) หรือ
ทมี่ ากกว่าน้ันคือ เขากา� ลังบริหารความจ�าใชง้ าน
อีกเรื่องหนึ่งของ EF คือความยืดหยุ่นทางปัญญา
(cognitive flexibility) ได้แก่ “ความสามารถคดิ สลบั ไปมาระหวา่ ง
งานท่ีแตกต่างกัน และการพิจารณาหลากหลายมุมมองในเวลา
เดียวกัน” จะเห็นว่าเด็กสมัยใหม่ในยุคไอทีไม่สามารถท�างาน
ชิ้นเดียวตรงหน้าอย่างซื่อๆ พวกเขาจ�าเป็นต้องมีความสามารถ
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 73
ทา� งานหลายอยา่ งพรอ้ มกนั (multi-task) และไดผ้ ลลพั ธท์ ดี่ ที กุ งาน
อกี ดว้ ย เดก็ ไทยทา� งานแบบนมี้ ไิ ดห้ ากสมองไมม่ ี EF ทด่ี พี อ เพราะ
การระดมยิงข้อมูลข่าวสารอย่างท่วมท้นในปัจจุบันเป็นภาระหนัก
ของสมอง มากเกินกว่าท่ีการท่องจ�าอย่างซื่อๆ และตอบข้อสอบ
ปรนัยอยา่ งง่ายๆ จะรับมือไดอ้ กี ตอ่ ไป
แมเ้ ราจะพดู ถงึ เฉพาะ EF แตข่ ณะเดยี วกนั EF กส็ มั พนั ธ์
กบั ego (อตั ตา) อยา่ งใกลช้ ดิ EF ทดี่ ชี ว่ ยใหเ้ ดก็ มคี วามสามารถลว่ งรู้
จิตใจตนเองไปจนถึงล่วงรู้จิตใจผู้อ่ืน โดยพบว่าเด็กหญิงพัฒนา
เร็วกว่าเด็กชาย ทั้งน้ีอาจจะเป็นเพราะเด็กหญิงมักพัฒนาทักษะ
ภาษาไดเ้ ร็วกว่าเดก็ ชายนั่นเอง
ปัจจัยส�าคัญข้อหนึ่งในหัวข้อน้ีคือการควบคุมตนเองไม่ให้
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าท่ีไม่เป็นแก่นสาร หากเด็กท�าเช่นน้ีไม่ได้
จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการ ท้ังทางด้านสติปัญญาและสังคม
โดยในด้านสติปัญญาคือเด็กเรียนรู้ไม่ได้ เพราะเขาจะวอกแวก
ไปตามสงิ่ เร้าอยู่ตลอดเวลา
อาการหนกั ทสี่ ดุ ของเรอื่ งนคี้ อื สมาธสิ นั้ (Attention Deficit
HyperactiveDisorder-ADHD)เดก็ สมาธสิ น้ั ไดช้ อ่ื วา่ มภี าวะพรอ่ งEF
แต่มใิ ช่วา่ เด็กทกุ คนทีม่ ีภาวะพรอ่ ง EF จะได้รับการวนิ จิ ฉัยว่าเปน็
โรคสมาธสิ ้ัน
74 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
“ความรู้ในโลกแห่งความเป็นจริงอาจบ่อนเซาะการใช้
เหตุผลอันจริงแท้ ” นี่เป็นประโยคส�าคัญท่ีไม่อยากให้อ่านข้าม
ความรู้เป็นเรื่องดี การอ่านมาก รู้มาก หรือแม้กระท่ังท่องมาก
มไิ ดม้ ขี อ้ เสยี ในตวั เอง แตก่ ารยดึ มนั่ วา่ เรอ่ื งทอี่ า่ นหรอื รหู้ รอื ทอ่ งมา
เป็นความจริงต่างหากท่ขี ัดขวางการเรยี นรู้
ความยบั ยงั้ ชง่ั ใจไมใ่ หไ้ หลไปตามสงิ่ เรา้ เปน็ เรอื่ งยาก และ
มไิ ดข้ น้ึ อยกู่ บั เพศ อายุ หรอื ไอควิ แตเ่ ปน็ ความสามารถทเี่ ดก็ จา� เปน็
ต้องได้รับการฝึกปรือ งานวิจัยเรื่องน้ีมักใช้เครื่องมืออีกช้ินหนึ่ง
ที่เรยี กวา่ stroop test คือใหเ้ ดก็ จดั เรยี งไพ่ตามสี สลับกบั จดั เรียง
ไพต่ ามดอก ตอนทจ่ี ดั เรยี งไพต่ ามสี เดก็ จา� เปน็ ตอ้ งยบั ยง้ั สงิ่ เรา้ คอื
ดอกบนไพ่ และตอนทจี่ ดั เรยี งไพต่ ามดอก เขาตอ้ งยบั ยง้ั สง่ิ เรา้ คอื สี
ผู้ใหญอ่ าจจะคดิ ว่านเี่ ปน็ เรอื่ งเลก็ แต่สา� หรับเด็กทีก่ �าลังพฒั นา EF
พวกเขาท�าเวลาไดแ้ ตกต่างกนั อยา่ งชดั เจน
ความแตกต่างนี้มีผลจากพัฒนาการด้านภาษา และ
พฒั นาการของหนว่ ยความจา� ใชง้ าน หนงั สอื ละไวม้ ไิ ดพ้ ดู ถงึ stroop
test อีกรปู แบบหนง่ึ ทนี่ ิยมใช้ในงานวจิ ยั เชน่ ให้เด็กอ่านตัวอักษร
สแี ดงที่เขียนวา่ “เขยี ว” แลว้ อา่ นตวั อักษรสีเขยี วที่เขยี นวา่ “แดง”
จะเหน็ วา่ เดก็ ตอ้ งยบั ยง้ั สง่ิ เรา้ จากสเี พอ่ื อา่ นใหถ้ กู ตอ้ ง การทดลองนี้
แมแ้ ต่ผใู้ หญห่ ลายคนยงั ท�าคะแนนได้ไมต่ า่ งจากเดก็ ดว้ ยซ�้า
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 75
เราแบง่ EF ออกเปน็ สองชนิดคอื แบบรอ้ น (hot EF) และ
แบบเยน็ (cool EF)
EF แบบรอ้ นจะไดใ้ ชใ้ นสถานการณท์ เี่ ดก็ มอี ารมณร์ ว่ มสงู
ในขณะที่ EF แบบเย็นจะได้ใช้ในสถานการณ์ท่ีเด็กมีอารมณ์ร่วม
น้อยกว่า เราพบว่าสมองที่รับผิดชอบ EF แต่ละแบบเป็นสมอง
คนละสว่ นกนั งานวจิ ยั เดก็ มกั ศกึ ษาเรอื่ ง EF แบบเยน็ เพราะสภาพ
แวดล้อมได้รับการควบคุม แตใ่ นชวี ติ จริงเด็กมกั จะมีโอกาสใช้ EF
แบบร้อนมากกว่า โดยเฉพาะอย่างย่ิงในวัยรุ่นที่มักอยู่ใต้อิทธิพล
ของเพ่ือนฝูง วัยรุ่นจึงมีแนวโน้มที่จะควบคุมตนเองได้ยากและ
ประเมินสถานการณ์เสี่ยงผิดพลาดด้วยกลัวถูกปฏิเสธทางสังคม
จะเหน็ วา่ EF ทด่ี ตี อ้ งควบคมุ ไดท้ งั้ ความคดิ อารมณ์ และการกระทา�
ส่วนความจ�าใช้งานนั้นมีสองส่วน ส่วนท่ีหนึ่งคือหน่วย
ความจา� เพอ่ื ใชง้ านดา้ นภาษา(verbalworkingmemory)อกี สว่ นหนงึ่
คือหน่วยความจ�าเพื่อใช้งานด้านการมองเห็นเชิงมิติสัมพันธ์
(visio-spatial working memory) ประเดน็ ส�าคัญคอื ความจา� ใชง้ าน
มคี วามจทุ จี่ า� กดั [ตา� ราบางเลม่ เรยี กความจา� ใชง้ านสองสว่ นนวี้ า่ สว่ น
ความจา� ดา้ นเสยี ง (phonological loop) และส่วนความจา� ด้านภาพ
(visio-spatial sketchpad)] พูดง่ายๆ ว่าหากได้ยินหรือมองเห็น
แลว้ ไมท่ บทวน ความจา� ใชง้ านกจ็ ะเลอื นหายไป และเมอ่ื มคี วามจา�
ชุดใหม่เข้ามา ความจ�าชุดเก่าก็อาจเลือนหายไปได้ นอกจากนี้
สภาวะอารมณก์ ็มีผลกระทบต่อความจ�าใชง้ านด้วยเช่นกัน
76 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
การทบทวนความจา� ใชง้ านมกั ทา� ดว้ ยการพดู ในใจ (inner
speech) ซง่ึ เราพบวา่ เด็กอายุ 3-4 ขวบสามารถพูดในใจไดแ้ ล้ว ถึง
ตรงนี้ควรเน้นยา้� ว่า ช่วงเวลาหลังจาก 3 ขวบคือช่วงท่เี ด็กคนหน่ึง
จะพัฒนาก้าวกระโดดทั้งด้านความคดิ และจติ ใจ
เราจึงพูดเสมอว่าการเตรียมความพร้อมที่แท้นั้นคือการ
เลี้ยงลูกอยา่ งดีทส่ี ดุ ในช่วง 3 ขวบปแี รก เพราะกวา่ จะถึงอนุบาลก็
สายเสียแลว้ จริงๆ
เม่ือความสามารถในการยับยั้งชั่งใจดีแล้ว และความจุ
ของความจา� ใชง้ านดแี ล้ว เรากม็ าถงึ การใช้เหตุผลหรอื ตรรกะ เด็ก
ตอ้ งยบั ยง้ั ขอ้ มลู ทไี่ มต่ รงประเดน็ ความรทู้ ไ่ี มเ่ ปน็ ความจรงิ รวมทงั้
เหตุผลท่ีใช้การไม่ได้ และความจ�าใช้งานของเด็กต้องมีความจุ
มากพอที่จะสลับสับเปลี่ยนความคิดและการใช้เหตุผล น่ันคือสิ่งท่ี
เรียกว่าคิดยืดหยุ่น หรือคิดวิเคราะห์อย่างยืดหยุ่น ภาษา EF
เรียกวา่ ความยืดหยนุ่ ทางปญั ญา (cognitive flexibility) เราพบวา่
เด็กอายุ 4-5 ขวบจะพัฒนาความสามารถด้านนี้ได้เร็วที่สุด
นบั เป็นชว่ งนาทีทองของการเรยี นร้อู ย่างแท้จริง ในขณะที่เดก็ เล็ก
และผสู้ งู อายุจะท�าไมไ่ ด้
หนังสือได้เล่างานทดลองที่แสดงให้เห็นอิทธิพลของ
ความรู้และการฝึกฝน โดยยกตัวอย่างงานวิจัยเรื่องเชียร์ลีดเดอร์
และนกั ดนตรี กับอัจฉรยิ ะดา้ นหมากรุก
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 77
นอกจากนีเ้ ด็กยังสามารถทดสอบสมมตฐิ าน โดยหนงั สอื
ยกตวั อยา่ งงานทดลองทใี่ หเ้ ดก็ อายุ 6 และ 8 ขวบดภู าพเหตกุ ารณ์
ท่ีสองพี่น้องวางแผนจับหนู คนพี่เช่ือว่าหนูที่จะจับเป็นหนูตัวใหญ่
ส่วนคนน้องคิดว่าเป็นหนูตัวเล็ก นักวิจัยถามเด็กว่าเราควรวาง
กรงกับดักท่ีมีประตูกรงเป็นแบบช่องใหญ่หรือช่องเล็ก เพ่ือที่จะ
พสิ จู นว์ า่ หนทู แ่ี อบมากนิ อาหารตอนกลางคนื นนั้ ตวั ใหญห่ รอื ตวั เลก็
กนั แน่ ซง่ึ งานวจิ ยั พบว่าเดก็ ส่วนใหญ่ตอบถกู
การทดลองใหมอ่ กี ชนิ้ อาศยั ตวั แปรทมี่ ากขน้ึ และซบั ซอ้ น
ข้นึ งานวจิ ยั ชนิ้ นศ้ี ึกษาเดก็ อายุ 11 และ 14 ปี โดยให้ดภู าพอาหาร
ที่ท�าให้เป็นหวัดหรือไม่ท�าให้เป็นหวัดจ�านวน 4 ภาพ แต่ละภาพ
มีอาหาร 4 ชนิด ปรากฏว่ามีร้อยละ 30 ของเด็ก 11 ขวบและ
รอ้ ยละ 50 ของเด็ก 14 ขวบเท่านนั้ ทีต่ อบถูก หลายคนตอบโดย
อาศยั “ความเช่อื ดง้ั เดิม” วา่ อาหารอะไรสัมพนั ธ์กับหวดั แต่ไม่ได้
พิจารณารูปภาพและใช้ตรรกะที่ถูกต้อง เราเรียกว่าปรากฏการณ์
น้ีว่า ความผดิ พลาดแบบเหมารวม (inclusion error)
ดังที่กอสวามีเขียนว่า “พบว่ามนุษย์มักให้เหตุผลอย่าง
ล�าเอียงโดยยืนยันเหตุผลเข้าข้างตัวเองอย่างรุนแรง ซึ่งพบได้ใน
ทุกเพศทุกวัย กล่าวคือ คนเรามีแนวโน้มที่จะหาหลักฐานยืนยัน
สาเหตุทสี่ อดคล้องกบั ความเช่อื ดัง้ เดิมของเรา”
78 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
การเรยี นรวู้ ธิ ใี ชเ้ หตผุ ลควรเรยี นรจู้ ากชวี ติ จรงิ เพราะชวี ติ
จริงมีหลายตวั แปร
ประโยคข้างต้นน่าจะเป็นข้อสรุปส�าคัญของเนื้อหาส่วนน้ี
การใชเ้ หตผุ ลในขอ้ สอบปรนยั มกั จ�ากดั ตวั แปรลงใหเ้ หลอื นอ้ ยทสี่ ดุ
ซงึ่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั ชีวติ จริง
โรงเรียนเป็นสถานที่ที่เด็กจะได้พัฒนาทักษะสังคมและ
จริยธรรมอย่างแท้จริง (แต่มิได้หมายความว่าเราควรส่งเด็กไป
โรงเรยี นกอ่ น 7 ขวบเพอ่ื การน)้ี พฒั นาการดา้ นสงั คมและจรยิ ธรรม
มกั จะเกดิ ขน้ึ หลงั จากอายรุ าว 7 ขวบ กอสวามที า� การทดลองใหเ้ ดก็
อายุ 8, 13 และ 16 ปี ตดั สินใจวา่ จะท�าอยา่ งไรกบั กระเปา๋ เงนิ ท่ีมี
คนทา� ตก ผลทไ่ี ดพ้ บวา่ เดก็ 8 ขวบบอกใหเ้ อาไปคนื เจา้ ของ เดก็ อายุ
13 ปีให้เกบ็ เอาไว้ และเดก็ อายุ 16 ปใี หเ้ อาไปคืนเจา้ ของเช่นกัน
เดก็ 8 ขวบบอกว่า ในเม่ือกระเปา๋ เป็นของเจา้ ของกต็ ้อง
เอาไปคนื ขณะทเี่ ดก็ อายุ 13 ปบี อกวา่ ถงึ อยา่ งไรของกห็ ายไปแลว้
ไมว่ า่ เจา้ ตวั จะรหู้ รอื ไมก่ ต็ าม สว่ นเดก็ อายุ 16 ปใี หเ้ หตผุ ลวา่ เพราะ
เราเป็นคนท่ีเห็นเหตุการณ์ จึงเป็นหน้าที่ของเราที่ต้องเอาไปคืน
จะเห็นได้ว่าวิธีคิดตามหลักจริยธรรมท่ีเป็นเหตุเป็นผลนั้นเกิดข้ึน
ช้ามากทีเดยี ว
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 79
หนงั สือเขียนต่อไปว่า เดก็ อายุ 13 ปีคดิ ว่ากฎระเบียบใน
สังคมมาจากผู้มีอ�านาจ ขณะท่ีเด็กอายุ 16 ปีคิดว่าข้อตกลงทาง
สังคมเป็นกรอบของการอยู่ร่วมกันที่คนในสังคมช่วยกันก�าหนด
ความข้อน้ีสอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรม (moral
development) ของลอว์เรนซ์ โคห์ลเบิรก์ (Lawrence Kohlberg,
1987-1927)
อยา่ งไรกต็ าม เดก็ ๆ ควรไดร้ บั โอกาส “ใครค่ รวญ” ประเดน็
ทางจริยธรรม ดังท่ีเราทราบแล้วว่าจริยธรรมมิได้เป็นสิ่งสัมบูรณ์
ในตัวเองและมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมเข้ามาพัวพันด้วย
อย่างมาก นอกจากนี้วัยรุ่นยังต้องรักษาสมดุลระหว่างอัตลักษณ์
ความต้องการเป็นอิสระ การป้องกันพื้นที่ส่วนตัว รวมถึงสิทธิ
สว่ นบคุ คล
การใหเ้ หตผุ ลภายหลังเหตุการณ์ (post-hoc reasoning)
จะชว่ ยใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรเู้ รอ่ื งจรยิ ธรรมไดล้ กึ ซง้ึ และกวา้ งขวางมากขน้ึ
โดยทท่ี ง้ั หมดนยี้ งั คงสมั พันธ์กบั EF อันไดแ้ ก่ การควบคมุ ตนเอง
ความจา� ใช้งาน และการคดิ ยดื หย่นุ
ลองย้อนกลับไปพิจารณาตัวอย่างกระเป๋าเงินที่ตกหาย
เด็กต้องควบคุมตัวเองไม่ให้เอาเงินในกระเป๋ามาเป็นของตน แล้ว
บริหารความจ�าใช้งานว่าด้วยข้อก�าหนดทางจริยธรรมที่มีอยู่เดิม
80 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ก่อนที่จะคิดยืดหยุ่นไปสู่ข้อสรุปส่วนตนซ่ึงตั้งอยู่บนอัตลักษณ์
ความต้องการเป็นอิสระ การป้องกันพื้นท่ีส่วนตัว รวมถึงสิทธิ
สว่ นบุคคล
ลองจบบทนดี้ ว้ ยตวั อยา่ งยากๆ สักตวั อยา่ งหน่งึ
เมื่อเราพบเหตุการณ์ที่พ่อล่วงละเมิดทางเพศลูก เรา
ต้องควบคุมตนเองให้ไม่คิดแต่จะเอาตัวรอด แล้วบริหารความจ�า
ใช้งานว่าด้วยข้อก�าหนดทางจริยธรรมสากลซ่ึงอาจจะรวมถึง
ขอ้ กฎหมาย ก่อนที่จะคดิ ยืดหยนุ่ ไปสู่ข้อสรปุ ส่วนตน ซงึ่ ตั้งอย่บู น
อัตลกั ษณ์ ความตอ้ งการเปน็ อสิ ระ การป้องกนั พ้ืนทส่ี ว่ นตวั และ
สิทธสิ ่วนบคุ คล
เห็นหรือยังวา่ เรือ่ งนีย้ ากเพยี งใด
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 81
7
ทฤษฎี
และประสาทชวี วิทยา
ของพฒั นาการ
จติ วทิ ยาเดก็ :ความรฉู้ บบั พกพาพดู ถงึ งานพฒั นาการเดก็ ตาม
ทฤษฎีของเพียเจต์และวีกอตสกีในฐานะทฤษฎีท่ียังมีอิทธิพลสูง
แม้ว่าจะถูกท้าทายด้วยงานวจิ ยั ด้านประสาทชีววทิ ยาสมัยใหม่
เช่น ข้อสังเกตอันมีชื่อเสียงของเพียเจต์ที่ว่า ทารกก่อน
10 เดือนยังไม่สามารถรับรู้ว่าวัตถุที่หายไปน้ันแท้จริงยังด�ารงอยู่
แตง่ านวจิ ยั ดา้ นคลนื่ สมองไฟฟา้ พบการเปลย่ี นแปลงของคลน่ื สมอง
เม่ือทารกเห็นว่าวัตถุหายไปจากตา� แหน่งทค่ี วรจะมี
กอสวามเี ลา่ ถึงงานของเพยี เจต์อย่างง่ายๆ ว่า ทารกเกิด
มาพรอ้ ม “โครงสรา้ งทางปัญญา” ทจ่ี า� กดั แตม่ ปี ระสาทสัมผสั และ
พฒั นาการของกล้ามเนือ้ เช่น การดูด จบั (และปา) เป็นตน้ ทารก
จา� เปน็ ตอ้ งปรบั เปลยี่ นโครงสรา้ งทางปญั ญาเพอ่ื รองรบั สงิ่ ทพ่ี บเหน็
และเมื่อโครงสร้างทางปัญญาใหม่พบประสบการณ์ที่ไม่เข้ากันกับ
โครงสรา้ งเดมิ ทารกกจ็ า� เปน็ ตอ้ งปรบั เปลยี่ นโครงสรา้ งทางปญั ญา
ต่อไปอีก นี่คือพัฒนาการในช่วง 18 เดือนแรกท่ีเพียเจต์เรียกว่า
ข้ันเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสและการเคล่ือนไหวกล้ามเน้ือ
(sensory-motor period)
ประเดน็ สา� คญั อยทู่ ข่ี น้ั ถดั มา นน่ั คอื ขนั้ กอ่ นปฏบิ ตั กิ ารคดิ
(pre-operational period) เด็กช่วงวัย 2-7 ขวบนี้เร่ิมมีภาพในใจ
และใชส้ ญั ลกั ษณ์ เพยี เจตบ์ รรยายถงึ ปรากฏการณส์ า� คญั ๆ คอื การ
เห็นตนเองเป็นศูนย์กลาง ซ่ึงจะน�าไปสู่ลักษณะวิธีคิดของเด็กเล็ก
84 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
กอ่ นวยั เรยี นหลากหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ การยดึ ตนเองเปน็ ศนู ยก์ ลาง
(egocentrism) การมุ่งสนใจเฉพาะส่ิงหนึ่งและละเลยสิ่งอ่ืน
(centration) ความสามารถในการคิดย้อนกลับ (reversibility)
การอนุรักษ์ (conservation) การถ่ายทอด (transitivity) การจัด
ลา� ดับ (seriation) และการจัดหมวดหมู่ (class inclusion)
ส�าหรับท่านที่ไม่คุ้นเคยกับค�าศัพท์จ�านวนมากเหล่าน้ี
ให้ท�าความเข้าใจภาพ 7.1 ในหน้า 86 ซึง่ คา� บรรยายใตภ้ าพตาม
ต้นฉบับออกจะสั้นไปเลก็ นอ้ ย
คราวน้ีลองอธบิ ายใหม่
ขน้ั แรก ดรู ูปบน เดก็ เลก็ จะบอกว่าจา� นวนหมากแถวบน
และแถวลา่ งเทา่ กนั (แมจ้ ะยงั นบั เลขไมไ่ ด)้ เพราะเดก็ ยดึ ตนเองเปน็
ศูนย์กลาง และมุ่งสนใจสิ่งหนึ่งโดยละเลยสิ่งอ่ืน เม่ือเรายืดหมาก
แถวล่างให้ห่างออกจากกันท�าให้แถวยาวกว่า เด็กเล็กจะตอบว่า
แถวลา่ งมจี า� นวนหมากมากกว่า
ขั้นทส่ี อง ดูรปู แถวกลาง เด็กเล็กจะบอกว่าน้า� ในภาชนะ
สองใบดา้ นซา้ ยมีปรมิ าตรเทา่ กนั ครั้นเราเทน�้าจากภาชนะใบหน่งึ
ลงในภาชนะทรงสูง เด็กจะบอกว่าน้�าในภาชนะทรงสูงมีปริมาตร
มากกวา่ เดก็ ตอบเชน่ นเ้ี พราะขาดความสามารถทจี่ ะอนรุ กั ษค์ วาม
ไมแ่ ปรเปลย่ี นเอาไว้
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 85
ข้ันที่สาม ดูรูปแถวล่าง เด็กเล็กจะบอกว่าลูกบอลดิน
เหนียวสองลูกมีขนาดเท่ากัน ถ้าเราท�าให้ลูกบอลลูกหน่ึงแบนลง
เด็กจะบอกว่าลูกบอลท่ีแบนลงมีขนาดเล็กกว่า จะเห็นว่าเด็กไม่
สามารถอนุรักษ์ปริมาณดินเหนียวเดิมเอาไว้ได้ เขาสนใจมิติด้าน
ความสูงแตล่ ะเลยมติ ิดา้ นเส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง และขาดความสามารถ
ในการคดิ ยอ้ นกลับ
ตวั เลข
แต่ละแถวมีตวั หมาก คราวนี้แต่ละแถวมีตวั หมากเทา่ กนั หรือไม่
เท่ากนั หรอื ไม่ หรือแถวไหนมีมากกวา่
ของเหลว
แตล่ ะแกว้ มีนา�้ ปริมาณ คราวน้แี ตล่ ะแกว้ มีน�้าปรมิ าณเทา่ กันหรอื ไม่
เท่ากันหรือไม่ หรอื แกว้ ไหนมมี ากกวา่
มวล
ลูกบอลแตล่ ะลูกมีปริมาณ คราวนีล้ กู บอลแตล่ ะลกู มีปริมาณดนิ เหนียว
ดินเหนียวเทา่ กนั หรอื ไม่ เท่ากนั หรอื ไม่ หรอื ลกู ไหนมีมากกว่า
ภาพ 7.1 ตัวอย่างบททดสอบเร่ืองการอนรุ กั ษ์ของเพียเจต์
86 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ความสามารถพื้นฐานเหล่านี้ท�างานประสานกันตลอด
เวลา เด็กจึงพัฒนาตนเองด้วยการท�างานทีละอย่าง เพ่ือปรับ
โครงสร้างทางปัญญาให้เข้ากับข้อสังเกตใหม่ๆ อย่างไรก็ตาม
งานวิจัยสมัยใหม่ได้แสดงให้เห็นว่า เด็กจ�าเป็นต้องพัฒนาความ
สามารถด้าน EF และอภิปัญญา เพื่อให้สามารถควบคุมตนเอง
ยับย้ังความคิดหนึ่งเพ่ือแปรเปล่ียนไปสู่อีกความคิดหน่ึง และสลับ
ความคิดไปมาได้โดยไม่สูญเสียเป้าหมาย อีกทั้งเด็กต้องสามารถ
ใครค่ รวญตนเองดว้ ยการสลบั ปรบั เปลย่ี นมมุ มองอยา่ งหลากหลาย
พัฒนาการทัง้ สองประการน้เี ร่ิมตน้ ในชว่ ง 3-4 ขวบดว้ ยเชน่ กนั
“ในขั้นก่อนปฏิบัติการคิด แนวโน้มที่จะยึดตนเองเป็น
ศูนย์กลาง มุ่งสนใจเฉพาะสิ่งใดส่ิงหน่ึงและละเลยสิ่งอื่น และขาด
ความสามารถในการคิดย้อนกลับ จะท�าให้เกิดภาวะไม่สมดุลใน
โครงสร้างทางปัญญาของเด็ก” น่ันท�าให้เด็กต้องพัฒนาจากระดับ
ปฏบิ ตั ิการคดิ ไปสู่ปฏิบตั ิการคดิ เชงิ รปู ธรรมตอ่ ไป
ข้นั ปฏิบัติการคดิ เชงิ รูปธรรม (concrete operation) เมื่อ
อายุ 7-11 ปี เดก็ จะเขา้ ใจเรอื่ งจ�านวนและปริมาณดีขึ้น พูดง่ายๆ
ว่าเด็กมีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสามารถเข้าใจระบบตรรกะ
ได้แล้ว โครงสร้างทางปัญญาปรับตัวเองเข้าสู่โลกแห่งตรรกะซึ่งมี
ลักษณะคล้ายคลึงกับสมการทางคณิตศาสตร์ ด้วยความสามารถ
ท่ีเรียกว่าการถ่ายทอด ซ่ึงแท้จริงแล้วเร่ิมมีมาตั้งแต่ก่อน 7 ขวบ
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 87
เพราะเหตนุ งี้ านวจิ ยั ระยะหลงั จงึ ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ทจ่ี รงิ แลว้ ปฏบิ ตั กิ ารคดิ
เชิงรปู ธรรมอาจจะมาเร็วกวา่ ทเ่ี พียเจต์คาดการณไ์ ว้
ขนั้ ปฏบิ ตั กิ ารคดิ เชงิ นามธรรม (abstract operation) เมอื่
อายุ 11 ปขี นึ้ ไปจนถงึ วยั ผใู้ หญ่ เดก็ วยั รนุ่ ตอนตน้ สามารถเชอ่ื มโยง
ปฏิบัตกิ ารคดิ เชิงรปู ธรรมหลายๆ กระบวนการเขา้ ดว้ ยกัน ในที่นี้
ค�าส�าคัญคือค�าว่า “เชื่อมโยง” จากนั้นเด็กต้องปรับโครงสร้างทาง
ปัญญาไปสู่ระดับท่สี ูงขนึ้ อกี หากใช้ค�าศัพท์สมยั ใหมก่ ค็ ือการสร้าง
อัลกอริทึมอันซับซ้อนเพ่ือรองรับตรรกะของการคิด (ส่วนปัญญา
ประดิษฐ์จะเขยี นอัลกอรทิ มึ ให้ตวั เองเพ่อื ยกระดับตวั เอง)
ในขณะท่ีเพียเจต์เน้นว่าเด็กเรียนรู้ด้วยตนเอง วีกอตสกี
กลับเน้นว่าเด็กเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่มีต่อสังคม วัฒนธรรม
การใช้สัญลกั ษณ์ และภาษา
ระบบสัญลักษณ์ท่ีส�าคัญที่สุดคือภาษา อันน�าไปสู่การที่
เดก็ สามารถพดู ในใจและคดิ ในใจ ซงึ่ เปน็ กระบวนการพฒั นาทสี่ า� คญั
วกี อตสกเี ขยี นเรอื่ งพนื้ ทข่ี องขอบเขตพฒั นาการ (zone of
proximal development - ZPD) อนั หมายถงึ ชว่ งชนั้ ของพฒั นาการ
ของเด็กคนหนึ่งซึ่งหากได้รับความช่วยเหลือก็จะพัฒนาต่อไป
โครงสร้างน้ีได้มาจากความพยายามของวีกอตสกีที่จะช่วยเหลือ
เด็กพเิ ศษ กอ่ นจะพบว่าเด็กพิเศษรวมทั้งเด็กคนอนื่ ๆ ที่เรยี นรู้ช้า
88 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ล้วนมพี น้ื ทีข่ องขอบเขตพฒั นาการสว่ นตน ซึ่งหากมีคนชว่ ยเหลอื
ก็จะไปต่อได้
วีกอตสกีให้ความส�าคัญกับการเล่นของเด็กมาก
ดว้ ยเหน็ วา่ การเลน่ เปน็ พนื้ ทข่ี องขอบเขตพฒั นาการตามธรรมชาติ
ของเด็กๆ อยู่แล้ว “ระหว่างท่ีเด็กเล่น พวกเขาจะอยู่ในพื้นท่ีของ
ขอบเขตพัฒนาการเสมอ ดังนั้นเท่ากับว่าเด็กจะพัฒนาความคิด
เชงิ นามธรรมไปด้วยระหว่างเล่น”
ต่อมาคือเร่ืองทฤษฎีการสร้างความรู้ในเชิงประสาทวิทยา
(Neuroconstructivism)
แม้ว่างานวิจัยด้านประสาทวิทยาและพันธุกรรมจะ
ก้าวหน้าไปมาก และเป็นท่ียอมรับว่าสมองที่ดีแต่ก�าเนิดหรือยีน
ท่ีดีแต่ก�าเนิดมีผลต่อพัฒนาการ แต่เร่ืองท่ีประชาชนท่ัวไปควร
ตระหนักมสี องข้อ
(1) ยนี มใิ ช่ปัจจัยชข้ี าด ต่อใหเ้ รารู้ว่ายีนหนึง่ ๆ ก�าหนดสี
ของตา แตย่ นี นนั้ กม็ ไิ ดท้ า� งานโดดเดย่ี ว ยนี ทา� งานโดยมปี ฏสิ มั พนั ธ์
ระหว่างกันเสมอ นอกจากน้ียีนยังมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
เสมอด้วย อัจฉริยะทางดนตรีที่มาเกิดผิดท่ี ย่อมไม่สามารถเป็น
อจั ฉรยิ ะทางดนตรไี ด้
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 89
(2) ความรู้เรื่องยีนน้ีเองย่ิงท�าให้เราควรใส่ใจเรื่องการ
จัดเตรยี มสงิ่ แวดลอ้ มท่ดี ีที่สุดส�าหรบั เด็กทุกคน เพื่อเปดิ โอกาสให้
ยีนของเด็กท�าหน้าที่ได้ดีท่ีสุดเท่าท่ีจะพึงท�าได้ ด้วยวิธีน้ีเด็กท่ีมี
ยีนบกพร่องด้านการอ่านก็อาจจะไม่แสดงออกมากมายเท่าที่ควร
ทั้งน้ีเพราะเราได้จัดสิ่งแวดล้อมท่ีช่วยเหลือด้านการอ่านให้แก่เด็ก
ทุกคนโดยเสมอภาคกัน
ยีน DRD4 (dopamine receptor D4 gene) เป็นยีนที่
รับผิดชอบ EF โดปามีนเป็นสารส่ือประสาทที่รับผิดชอบระบบ
การให้รางวัลและการทา� โทษ รวมท้ังความยืดหย่นุ งานวจิ ยั พบว่า
มีการแปรผันจ�าเพาะ (specific variation) รูปแบบหนึ่งของยีน
DRD4 ทีส่ ง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมเดก็ อย่างมาก เราเรยี กว่ารปู แบบนี้ว่า
7-repeat allele
หากวา่ เดก็ มลี ักษณะการแปรผนั จ�าเพาะ 7-repeat allele
นจี้ ะทา� ใหโ้ ดปามนี ตอบสนองตอ่ ระบบการใหร้ างวลั และการทา� โทษ
ลดลง ส่งผลใหก้ ารเรยี นรปู้ น่ั ป่วน งานวิจยั พบวา่ การเลี้ยงดูทไี่ มด่ ี
ในช่วง 10 เดอื นแรกส่งผลต่อพฤติกรรมตอ่ ตา้ นสงั คมเม่อื อายุ 39
เดือน การเลี้ยงดูในทางลบอย่างการดุด่าและใช้ความรุนแรงจะ
ส่งผลให้เด็กที่มีการแปรผันจ�าเพาะของยีนรูปแบบนี้มีพฤติกรรม
ต่อต้านสังคมมากกว่าคนทั่วไปและควบคุมตนเองได้ต�่ากว่าเด็ก
ทั่วไป ในขณะที่เด็กท่ีไม่มี 7-repeat allele ยับยั้งช่ังใจได้ดีกว่า
จะเห็นวา่ ยีนมีอิทธพิ ลอยา่ งแทจ้ รงิ
90 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก
ไม่ว่าเด็กมียีนแบบไหนก็ตาม ประเด็นการจัดสภาพ
แวดลอ้ มท่ดี ที ีส่ ุดสา� หรับเด็กถอื เปน็ เรือ่ งจ�าเปน็
งานวิจัยสมองสมัยใหม่ยังพบด้วยว่า โครงสร้างสมอง
ของเดก็ คล้ายคลึงกบั โครงสร้างสมองของผู้ใหญ่ เช่น ศูนย์ควบคมุ
การไดย้ นิ ตงั้ อยบู่ รเิ วณเดยี วกนั และทา� งานดว้ ยกลไกทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั
วธิ นี ที้ า� ใหเ้ รามคี วามหวงั ทจี่ ะคน้ หาเดก็ ทอ่ี าจจะมปี ญั หาการพดู ได้
รวดเร็วกว่าเดมิ แล้วรบี แก้ไขแตเ่ น่ินๆ
งานวิจัยด้านสมองส่วนมากเป็นการค้นหาสหสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร เช่น เรารู้แล้วว่าสมองส่วนหน้าสัมพันธ์กับ EF
อยา่ งแนน่ อน แตเ่ ราไมร่ วู้ า่ สงิ่ ใดเกดิ กอ่ นเกดิ หลงั อะไรเปน็ เหตอุ ะไร
เปน็ ผล โดยสมมตฐิ านคือ สมองส่วนหนา้ และ EF พฒั นาพรอ้ มกนั
เปน็ วงจรทเ่ี ก้ือหนนุ กนั และกนั
สมองคนเรามไิ ดอ้ า่ นหนงั สอื เปน็ ตงั้ แตแ่ รก มนษุ ยโ์ บราณ
ไม่จ�าเป็นต้องอ่าน แต่เด็กทุกวันนี้ต้องพัฒนาสมองส่วนต่างๆ
เพอ่ื อา่ น ไดแ้ ก่ สว่ นทใี่ ชด้ ตู วั อกั ษร ลากนวิ้ ไปตามตวั อกั ษร ฟงั เสยี ง
จากแม่ท่ีก�าลังอ่าน และฝึกออกเสียงตามเสียงที่ได้ยิน เหล่าน้ี
ประกอบขนึ้ เปน็ การอา่ น งานวจิ ยั พบวา่ การลากนวิ้ ไปตามตวั อกั ษร
ด้วยมือท�าให้สมองส่วนการมองตัวอักษรพัฒนาและสามารถ
ลากสายตาไปตามตัวอักษรโดยไม่ต้องใช้น้ิว จะเห็นว่าสมอง
เปลีย่ นแปลงตลอดเวลา
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 91
หนงั สอื เลม่ นท้ี ง้ิ ทา้ ยวา่ แมส้ มองจะเปน็ สงิ่ สา� คญั แตส่ มอง
ประกอบดว้ ยเซลลม์ ากถงึ 86,000 ลา้ นเซลล์ จงึ ยงั เปน็ เรอ่ื งทา้ ทาย
สา� หรบั วงการวทิ ยาศาสตรท์ จ่ี ะหาเหตแุ ละผล ฉะนนั้ สง่ิ ทสี่ า� คญั กวา่
กค็ อื ปัจจัยดา้ นจิตวทิ ยาและส่งิ แวดลอ้ ม
การจัดสภาพแวดลอ้ มทบี่ ้าน สถานรบั เลี้ยงเด็ก โรงเรียน
และสงั คมทเี่ ปน็ มติ ร ยงั คงเปน็ เรอื่ งสา� คญั สงู สดุ โดยไมต่ อ้ งคา� นงึ วา่
สมองของเดก็ เปน็ อยา่ งไร เพราะสมองจะปรบั ตัวได้เสมอ
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ 93
เกย่ี วกับผ้เู ขียน
นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จบการศึกษาจาก
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และคณะแพทยศาสตร์ศิริราช
พยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล รวมถงึ ไดร้ บั วฒุ บิ ตั รผเู้ ชยี่ วชาญสาขา
จติ เวชศาสตร์ โรงพยาบาลสมเดจ็ เจ้าพระยา
ปฏิบัติราชการท่ีโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
ต้ังแต่ พ.ศ. 2526-2560
ผลงานหนังสือเล่มส�าคญั อาทิ เลย้ี งลกู อย่างไรให้ได้ EF,
เลยี้ งลกู ดว้ ยนทิ าน, เลยี้ งลกู ใหไ้ ดด้ ี 1-100, ทา� อยา่ งไรเมอ่ื เจา้ ตวั เลก็
สมาธสิ ้ัน, กว่าจะถงึ วยั รนุ่ กส็ ายเสียแล้ว
ติดตามเร่ืองน่าสนใจและค�าแนะน�าเกี่ยวกับการเลี้ยงลูก
ไดท้ ่เี ฟซบกุ๊ แฟนเพจ “นายแพทย์ประเสรฐิ ผลิตผลการพมิ พ”์
94 เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก