The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dlictrbr1, 2021-03-29 03:37:07

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

plan1

นโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร

เพ่ือให้การดาเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เปูาหมายของแผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตรช์ าติ วัตถปุ ระสงคข์ องแผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา และนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะ
นโยบายเรง่ ด่วน เร่ืองการเตรียมคนส่ศู ตวรรษที่ 21

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของ
กระทรวงศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั น้ี

หลักการ

1. ให้ความสาคัญกับประเด็นคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ ท้ังผู้เรียน ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ข้าราชการพลเรือน และผู้บริหารทุกระดับ ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภทและ
เปน็ การศกึ ษาตลอดชวี ิต

2. บูรณาการทางานร่วมกนั ระหว่างส่วนราชการหลัก องค์การมหาชนในกากับของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ ให้มีความคล่องตัว รวมท้ังหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในพ้ืนท่ีภูมิภาค
ให้สามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้ เพื่อดาเนินการปฏิรูปการศึกษาร่วมกับภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคประชาชน ตามนโยบายประชารัฐ

ระดบั ก่อนอนบุ าล

เน้นประสานงานกับส่วนราชการ และชุมชน ในการเตรียมความพร้อมผู้เรียนในด้านสุขภาพและ
โภชนาการ และจดั ประสบการณ์การเรียนรทู้ เ่ี ชอ่ื มโยงกบั ระบบโรงเรยี นปกติ

ระดบั อนบุ าล

เน้นสร้างความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อออกแบบกิจกรรมการพัฒนาทักษะ
ท่ีสาคญั ด้านตา่ ง ๆ เช่น ทักษะทางสมอง ทักษะความคิดความจา ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการรู้จัก
และประเมินตนเอง

ระดบั ประถมศกึ ษา

มุง่ คานึงถงึ พหปุ ัญญาของผูเ้ รียนรายบคุ คลท่ีหลากหลายตามศักยภาพ ด้วยจดุ เนน้ ดังนี้
1. ปลกู ฝังความมรี ะเบยี บวินยั ทศั นคตทิ ีถ่ ูกต้อง โดยใช้กระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด
2. เรียนภาษาไทย เนน้ เพื่อใชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื ในการเรยี นรวู้ ชิ าอ่ืน
3. เรยี นภาษาอังกฤษและภาษาพืน้ ถ่นิ (ภาษาแม่) เนน้ เพ่ือการสื่อสาร
4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้ จากประสบการณ์
จริง หรือจากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ และเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผู้เรียนและครู
ด้วยการจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ ให้มากข้ึน
5. สรา้ งแพลตฟอรม์ ดจิ ิทัลเพื่อการเรยี นรู้ และใช้ดจิ ทิ ลั เป็นเคร่ืองมอื การเรยี นรู้
6. จัดการเรยี นการสอนเพื่อฝึกทกั ษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเป็นขนั้ ตอน (Coding)
7. พัฒนาครใู หม้ คี วามชานาญในการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding)

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 40

8. จัดให้มีโครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ
ภายนอกบรเิ วณโรงเรยี นให้เอื้อตอ่ การสร้างคณุ ธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ

ระดบั มัธยมศกึ ษา

มุ่งตอ่ ยอดระดับประถมศึกษา ดว้ ยจดุ เนน้ ดังน้ี

1. จัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ (STEM) และ
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาท่สี าม)

2. จัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เพื่อสร้างทักษะพื้นฐานที่เชื่อมโยงสู่การสร้างอาชีพ และการมีงาน
ทา เชน่ ทกั ษะดา้ นกฬี าที่สามารถพัฒนาไปสนู่ ักกีฬาอาชีพ ทักษะภาษาเพ่ือเป็นมัคคุเทศก์

ระดบั อาชวี ศึกษา

มุ่งจดั การศกึ ษาเพอื่ การมงี านทาและสรา้ งนวัตกรรมตามความตอ้ งการของพ้ืนที่ชุมชน ภูมิภาคหรือ
ประเทศ รวมทัง้ การเปน็ ผปู้ ระกอบการเอง ดว้ ยจดุ เนน้ ดังนี้

1. จดั การศึกษาในระบบบททวิภาคี ให้ผ้เู รยี นมีทักษะและความเชีย่ วชาญเฉพาะดา้ น
2. เรียนภาษาอังกฤษ เพื่อเพม่ิ ทักษะสาหรบั ใชใ้ นการประกอบอาชีพ
3. เรยี นรู้การใช้ดจิ ิทลั เพ่ือใช้เปน็ เคร่ืองมือสาหรบั ในการสรา้ งอาชีพ
4. จัดตง้ั ศูนย์ประสานงานการผลติ และพัฒนากาลังคนอาชวี ศึกษาในภมู ภิ าค

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

มงุ่ สรา้ งโอกาสใหป้ ระชาชนผ้เู รียนทีส่ าเร็จหลกั สูตร สามารถมีงานทา ด้วยจดุ เน้น ดงั น้ี
1. เรยี นร้กู ารใช้ดิจิทลั เพื่อใช้เป็นเคร่อื งมือสาหรบั หาช่องทางในการสร้างอาชพี
2. จดั ทาหลักสูตรพัฒนาอาชพี ท่เี หมาะสมสาหรับผทู้ เ่ี ข้าสูส่ งั คมสงู วัย

การขับเคลอื่ นสู่การปฏิบตั ิ

1. ทกุ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษา ต้องปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับนโยบาย
ของรัฐบาล และวางแผนการใช้งบประมาณเป็นรายไตรมาส รวมท้ังใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับท่เี กี่ยวข้อง

2. จัดทาฐานขอ้ มูล (Big Data) ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ให้ครบถว้ น ถูกต้อง ทนั สมยั
3. ใช้เทคโนโลยแี ละดิจิทัล เปน็ เครอื่ งมอื ในการพัฒนางานทั้งระบบ เน้นการเรียนรู้และการบริหาร
จัดการ
4. ปรับปรุงโครงสรา้ งของกระทรวงศึกษาธกิ ารใหเ้ กิดความคลอ่ งตวั หากติดขัดในเรื่องข้อกฎหมาย
ใหผ้ บู้ รหิ ารระดับสูงร่วมหาแนวทางการแกไ้ ขร่วมกัน
5. ใหห้ น่วยงานระดับกรมกาหนดแผนงานสนับสนุนทรัพยากร งบประมาณ อัตรากาลัง ตามความ
ต้องการจาเปน็ ให้แก่หนว่ ยงานในพ้ืนที่ภมู ภิ าค
6. ให้กลไกกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา มาบูรณาการการดาเนินงานร่วมกับหน่วย
จดั การศกึ ษา
7. เร่งทบทวน (ร่าง) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ......โดยปรับปรุงสาระสาคัญให้เอ้ือ
ตอ่ การขับเคล่ือนนโยบายของรัฐบาล

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 41

8. ในระดับพื้นที่หากเกิดปัญหาข้อติดขัดการปฏิบัติงาน ต้องศึกษา ตรวจสอบข้อมูล/ ข้อเท็จจริง
ท่ีเกิดข้ึน เช่น จานวนเด็กในพื้นท่ีน้อยลง ซ่ึงจาเป็นต้องมีการควบรวมโรงเรียน ให้พิจารณาสื่อสารอธิบาย
ทาความเขา้ ใจที่ชัดเจนกับชุมชน

9. วางแผนการใช้อัตรากาลังครู โดยเฉพาะครูระดับอนุบาล และครูระดับอาชีวศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ และจัดทาแผนการประเมินครูอย่างเป็นระบบ รวมทั้งจัดทาหลักสูตรการพัฒนาครูให้มี
องค์ความร้แู ละทักษะในดา้ นพหปุ ญั ญาของผู้เรียน

10. ให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดทาแผนการจัดการศึกษาของแต่ละจังหวัด นาเสนอต่อคณะกรรมการ
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด และขบั เคล่อื นสกู่ ารปฏิบตั ิอยา่ งเป็นรูปธรรม

11. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และศึกษาธิการภาค มีบทบาทหน้าที่ตรวจราชการ
ตดิ ตาม ประเมินผลในระดบั นโยบาย และจัดทารายงานเสนอตอ่ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ

อนึ่ง สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติงานตามปกติ ( Function)
งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซ่ึงได้ดาเนินการอยู่ก่อนน้ัน หากรัฐบาลหรือ
กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายสาคัญเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นอกเหนือจากท่ีกาหนด
หากมีความสอดคล้องกับหลักการในข้างตน้ ให้ถอื เปน็ หน้าทข่ี องส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จะต้องเรง่ รดั กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเร็จและมีประสิทธิภาพอย่างเป็นรูปธรรม
ด้วยเชน่ กนั

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 42

แผนพัฒนาจงั หวดั ราชบุรี พ.ศ. 2561 - 2565

ฉบบั ทบทวน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

วสิ ยั ทัศน์

เมืองเกษตรสเี ขียว เศรษฐกิจมนั่ คง สังคมมคี วามสขุ

เปา้ ประสงค์โดยรวม

1. จงั หวัดมีการขยายตวั และความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ ความสามารถในการแข่งขนั เพิ่มข้ึน
2. ครอบครวั และชุมชนมีคุณภาพชีวติ ทด่ี ี มนั่ คง และลดความเหลอ่ื มลา้ การพฒั นาทว่ั ถงึ ทัง้ จังหวดั
3. ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์มากข้ึน มีต้นแบบการพัฒนาให้เป็นเมือง
นา่ อยู่ และเมอื งทก่ี ารเติบโตทางเศรษฐกิจสีเขยี ว ภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาตลิ ดลง

ประเดน็ ยุทธศาสตร์

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาการเกษตรสีเขียวแบบครบวงจร และเมืองอาหารคุณภาพ
ท่เี ตบิ โตอย่างม่ันคง

เปา้ ประสงคป์ ระเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Goal)

1) ผลผลติ ทางการเกษตรของจังหวดั มีคุณภาพ มาตรฐาน มคี วามเขม้ แขง็ ในการเป็นแหล่งอาหาร
ระดับประเทศ และนานาชาติ

2) เศรษฐกจิ ภาคการเกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตรเตบิ โตอย่างต่อเนอ่ื ง เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดล้อม

3) เกษตรกรมสี มรรถนะสงู ท่เี ป็นมืออาชพี สถาบันเกษตรกรเข้มแข็ง เกษตรมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี
พงึ่ ตนเองได้

4) จังหวดั ราชบรุ ีมปี ัจจยั พนื้ ฐานที่เอ้ือต่อการทาการเกษตร และมีห่วงโซค่ ุณค่าทางการเกษตร
ทเ่ี ข้มแข็ง สรา้ งงาน อาชพี แกป่ ระชาชน ชุมชน

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การเสริมสร้างความมั่นคั่งทางเศรษฐกิจการค้า การบริการการท่องเท่ียว
ดว้ ยนวัตกรรม และบริการทมี่ มี ลู ค่าสูง

เปา้ ประสงค์ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Goal)
1) จังหวัดราชบุรีมีรายได้จากการท่องเที่ยวท่ีเติบโตอย่างต่อเนื่อง อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
เขม้ แข็งมคี ุณภาพ ประชาชนมีงานอาชีพ เศรษฐกจิ ฐานการท่องเท่ียว และการบรกิ ารม่นั คง
2) ผู้ประกอบการค้าของจังหวัด วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมเข้มแข็ง
จงั หวัดราชบุรมี คี วามพรอ้ มในการพัฒนาส่จู ังหวดั แหง่ การค้าขาย (Trading City)
3) เศรษฐกจิ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีงาน อาชพี และรายได้
4) จังหวัดราชบุรีมีนวัตกรรมทางการค้า การลงทุน การบริการ รองรับการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
ทางเศรษฐกจิ และการพฒั นาสู่สงั คมดจิ ิทัล
5) ระบบการคมนาคม การขนส่ง การโลจิสติกส์มีความปลอดภัย เชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ รองรับ
การเติบโตของเมอื ง และการเชอ่ื มโยงนานาชาติ

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 43

6) จงั หวัดราชบรุ ีมีความเตบิ โตในการพัฒนาการคา้ ชายแดนเพมิ่ ขน้ึ

ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาคุณภาพประชาชน และความม่ันคงในคุณภาพชีวิตด้วยหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

เป้าประสงค์ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Goal)
1) ชุมชนหมู่บ้านเข้มแข็ง เศรษฐกิจชุมชนเติบโตจากภูมิปัญญาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ชุมชนหมบู่ า้ นมีขดี ความสามารถในการพงึ่ ตนเอง
2) ประชาชนมีศักยภาพทางความรู้ มีคุณธรรม ครอบครัวอบอุ่น วัฒนธรรมเข้มแข็ง มีสุขภาพดี
อยูอ่ าศยั ในพื้นที่ทีเ่ ออื้ ตอ่ การมีคุณภาพชวี ิตท่ดี ี
3) จังหวัดมีความปลอดภัยความมั่นคงภายในท่ีเข้มแข็ง มีความสงบเรียบร้อย ตลอดแนวชายแดน
และมคี วามสมั พนั ธ์ทดี่ กี บั ประเทศเพื่อนบา้ น
4) ระบบการบรหิ าร ระบบบริการของรฐั มีคุณภาพ ทนั สมัย มธี รรมาภิบาลรองรับการพัฒนาจังหวัด
และการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สมดุล และใช้ประโยชน์
อย่างยั่งยืน

เปา้ ประสงคป์ ระเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Goal)
1) ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความอุดมสมบูรณ์ พ้ืนท่ีสีเขียว พ้ืนที่ปุาเพ่ิมมากข้ึนอย่าง
ต่อเนื่อง
2) จังหวัดมีความมั่นคงทางพลังงาน สามารถพ่งึ ตนเองทางพลงั งานไดม้ ากขน้ึ
3) ปญั หาสงิ่ แวดล้อม ขยะ นา้ เสีย สาธารณภัย การบุกรกุ การทาลายทรพั ยากรธรรมชาติลดลง

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 44

นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

วสิ ยั ทศั น์

สร้างคุณภาพทนุ มนษุ ย์ สสู่ ังคมอนาคตทยี่ ง่ั ยนื

พันธกจิ

1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ
แข่งขนั

3. พฒั นาศักยภาพและคุณภาพ ผ้เู รยี นให้มสี มรรถนะตามหลักสูตรและคณุ ลักษณะในศตวรรษ
ที่ 21 และพฒั นาศักยภาพและคุณภาพ ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาใหเ้ ป็นมอื อาชพี

4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเลื่อมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่าง
ทัว่ ถงึ และเทา่ เทยี ม

5. จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และเปูาหมายการพฒั นาที่ยง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)

6. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้ DIGITAL
TECHNOLOGY เพ่ือพฒั นามุง่ สปู่ ระเทศไทย 4.0

เป้าหมาย

1. ผู้เรยี นมคี วามรักในสถาบนั หลักของชาติ และยดึ มน่ั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีทัศนคตทิ ี่ถกู ต้องต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง และเปน็ พลเมืองดขี อง
ชาติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี า่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ มจี ิตสาธารณะ รบั ผดิ ชอบต่อสังคมและผู้อ่นื มธั ยสั ถ์
อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินัย รักษาศีลธรรม

2. ผู้เรยี นทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและ
อ่นื ๆ ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งเต็มตามศักยภาพ สร้างความสามารถในการแข่งขัน

3. ผู้เรียน ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มศี ักยภาพและคณุ ลักษณะ ดังน้ี
3.1 ผู้เรียน เป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ คดิ ริเร่ิมและสร้างสรรค์นวตั กรรม มีความรู้ มที กั ษะ

มีสมรรถนะตามหลกั สูตร และคุณลักษณะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย
มคี วามสามารถในการพ่ึงพาตนเอง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเป็นพลเมอื งพลโลกที่ดี
(Global Citizen) พร้อมกา้ วสู่สากล

3.2 ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ มีความรูแ้ ละ
จรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชพี

4. ผูเ้ รียนท่ีมคี วามต้องการพเิ ศษ (ผู้พิการ) กลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยใู่ น
พืน้ ทหี่ ่างไกลกนั ดาร ได้รบั การศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ เท่าเทยี ม และมีคุณภาพ

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 45

5. สถานศึกษาจดั การศึกษาเพอื่ การบรรลเุ ปูาหมายการพฒั นาอย่างยัง่ ยนื (Sustainable
Development Goals: SDGs) และสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม ตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

6. ปรบั สมดุลในการบริหารจัดการ สว่ นกลาง เขตพืน้ ที่การศึกษา สถานศกึ ษา ให้มกี ารบริหาร
เชงิ บูรณาการ มีการกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มีระบบข้อมูลสารสนเทศทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ และการรายงาน
ผลอยา่ งเป็นระบบ ใชง้ านวจิ ัย เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการขับเคลอื่ นคณุ ภาพ

นโยบาย

นโยบายที่ 1 ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพื่อความมนั่ คงของมนษุ ยแ์ ละของชาติ
นโยบายท่ี 2 ดา้ นการจดั การศึกษาเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
นโยบายที่ 3 ดา้ นการพฒั นาและสรา้ งเสริมศักยภาพและคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์
นโยบายท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน และ

ลดความเหล่ือมลา้ ทางการศึกษา
นโยบายท่ี 5 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม
นโยบายท่ี 6 ด้านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา

มาตรการ

นโยบายท่ี 1 ด้านการจัดการศกึ ษาเพื่อความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ
1) พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ป็นพลเมืองดีของชาติและเป็นพลโลกทดี่ ี
2) พฒั นาผ้เู รียนมีความพร้อมสามารถรบั มือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทกุ รูปแบบทุกระดบั

ความรุนแรง ท่ีมีผลกระทบต่อความมน่ั คงของประเทศ
3) พัฒนาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั รายแดนภาคใต้
4) การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนในเขตพนื้ ทเ่ี ฉพาะ

นโยบายที่ 2 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
1) การพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นให้เต็มตามศกั ยภาพ นาไปส่คู วามเปน็ เลศิ ด้านวิชาการตาม

ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 สรา้ งขีดความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศ

นโยบายที่ 3 ด้านการพัฒนาและสร้างเสรมิ ศักยภาพและคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์
1) ปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรทกุ ระดับการศึกษา
2) การพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพและคุณภาพของผู้เรียน
3) การพัฒนาคุณภาพครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

นโยบายท่ี 4 ดา้ นการสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ มมี าตรฐาน และลดความ
เหล่อื มลา้ ทางการศึกษา
1) สรา้ งความรว่ มมือกับองค์กรปกครองระดับท้องถนิ่ ภาคเอกชน หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องในการ

จัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบรบิ ทของพนื้ ที่
2) การยกระดบั สถานศึกษาในสังกัดทุกระดบั และทกุ ประเภท ใหม้ ีมาตรฐานตามบริบทของ

พ้นื ท่ี
3) จัดสรรงบประมาณสนับสนนุ ผูเ้ รยี นทกุ กลุ่ม และสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพียงพอ

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 46

4) สง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหส้ ถานศกึ ษา หนว่ ยงานทกุ ระดบั นา Digital Technology มาใชเ้ ปน็
เครือ่ งมือในการพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี น

นโยบายที่ 5 ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
1) การจดั การศกึ ษาเพื่อการบรรลุเปาู หมายโลกเพ่อื การพฒั นาอย่างย่งั ยนื (SDGs) เพ่อื สรา้ ง

เสริมคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

นโยบายที่ 6 ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา
1) ให้สถานศึกษา หรอื กล่มุ สถานศึกษามีความเป็นอสิ ระในการบรหิ ารจดั การศึกษา
2) ปรบั ปรงุ และพฒั นาสานกั งานส่วนกลาง และสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาเปน็ หน่วยงาน

ให้มคี วามทันสมยั
3) ปฏริ ปู การคลงั ด้านการศึกษาเพื่อเพ่ิมคุณภาพและประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาโดยการ

จดั สรรงบประมาณตรงส่ผู เู้ รยี น และสถานศึกษา
4) นานวัตกรรม ดจิ ิทัลเทคโนโลยี และระบบการทางานท่ีเป็นดิจทิ ัลเข้ามาประยกุ ต์ใชอ้ ย่าง

คุ้มค่า

แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 47

การวิเคราะห์สภาวะแวดลอ้ มของสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา

ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

ปจั จัยภายใน ปัจจัยภายใน

จุดแขง็ จดุ อ่อน

1. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาไดร้ บั การส่งเสริม 1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน O-NET ในระดบั ช้ัน ป.6
พัฒนาความรู้ ความสามารถอยา่ งต่อเน่ือง ม.3 ภาพรวม 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ตา่ กว่า
ดว้ ยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย ร้อยละ 50

2. จดั การศึกษาได้ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย 2. โรงเรยี นขนาดเลก็ ครสู อนไม่ครบชนั้ ทาให้ไม่สามารถ
3. สถานศกึ ษาสว่ นใหญผ่ า่ นการประเมินคุณภาพ จดั การเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ

ภายนอก (สมศ.) 3. ครูขาดทกั ษะในการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ กิด
4. มีสือ่ เทคโนโลยีสาหรับใชใ้ นการจดั การเรียน กระบวนการคดิ วเิ คราะห์

การสอน การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม 4. ผู้เรยี นบางส่วนขาดภูมิคมุ้ กันทางสงั คม
ครอบคลมุ ทุกพ้นื ท่ี ขาดคณุ ธรรม จริยธรรม และทักษะชีวิต ส่งผล
5. ระบบข้อมลู และสารสนเทศในองคก์ รเอื้อต่อการ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะท่ีไมพ่ งึ ประสงค์ เชน่
บรหิ ารจดั การ ความมวี นิ ยั อดทน ความรับผิดชอบ
6. มีเครอื ข่ายความรว่ มมือดา้ นการส่งเสรมิ คุณธรรม
จรยิ ธรรม ทาให้สานักงานมคี วามโปร่งใสในการ 5. นกั เรยี นมีปัญหาด้านครอบครัว และสมรสก่อนวยั
ปฏบิ ัตงิ าน อนั ควร ทาใหอ้ อกนอกระบบก่อนจบการศึกษา
7. หนว่ ยงาน และสถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารงานในรูป ภาคบงั คับ
องค์คณะบุคคล
8. มกี ารกระจายอานาจในการบริหารจัดการศกึ ษา 6. ผ้เู รียนขาดความพร้อมในการเข้าสอู่ าเซยี น
ไปยงั สถานศึกษาและชมุ ชน โดยเฉพาะด้านภาษา
9. หน่วยงานทางการศึกษานาเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาใช้ในการบรหิ ารจัดการศึกษา 7. มนี ักเรียนต่างสญั ชาติจานวนมาก ทาให้เกิดปัญหา
10. มีแหล่งเรยี นรทู้ ่หี ลากหลาย และภมู ิปญั ญา ในการอ่านออก เขยี นได้
ท้องถ่นิ ท่ีเออื้ ต่อการจดั การศึกษาและ
การประกอบอาชีพ 8. ครูผสู้ อนปฏบิ ตั ิงานสอนได้ไมเ่ ต็มที่ เน่ืองจากมี
ภาระงานอ่ืนที่ได้รับมอบหมายมาก

9. เด็กท่ีจบการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานท่ีมาจากครอบครัว
รายไดน้ อ้ ย ไม่สามารถเรยี นตอ่ ในระดับที่สูงขึน้

10. เด็กบางสว่ นยงั อา่ นไมค่ ล่อง เขยี นไมค่ ล่องทาให้มี
ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นต่ากวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนด

11. ขาดการจัดทาวิจัย สง่ เสรมิ การวจิ ัย และนา
ผลการวจิ ยั ไปใช้ในการพัฒนางานวิชาการ

12. การจดั ระบบตดิ ตามตรวจสอบและนเิ ทศการศกึ ษา

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 48

ปจั จัยภายนอก ปจั จยั ภายนอก

โอกาส อปุ สรรค

1. หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ท้งั ภาครัฐ เอกชน องคก์ ร 1. นโยบายทางการศกึ ษาเปล่ยี นแปลงบอ่ ย ทาให้
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ให้ความร่วมมือชว่ ยเหลือในการ นโยบายการขบั เคลอื่ นการพัฒนาการศึกษา
จัดการศึกษาเป็นอย่างดี ไม่ตอ่ เน่ือง

2. มีแหลง่ เรยี นรู้ท่ที าให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ 2. การสรรหาครยู ังไมส่ ามารถเปิดโอกาสให้คนเก่ง
ดว้ ยตนเองทหี่ ลากหลาย เข้ามาเปน็ ครูได้ เนื่องจากมขี ้อจากดั ในเรื่อง
ใบประกอบวชิ าชพี
3. มีภมู ิปัญญาท้องถิ่นจานวนมาก ท่ีพร้อมให้ความ
ช่วยเหลือ และถ่ายทอดความรู้ให้กบั ครูและนักเรียน 3. สภาพปัญหาครอบครวั การอพยพตามผ้ปู กครอง
ปัญหาสงั คม เปน็ สาเหตทุ ี่ทาให้เกิดปัญหา
4. นโยบายรัฐบาล เชน่ ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ และ การออกกลางคนั
STEM Education เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรู้
ตามความถนดั และความสนใจ ส่งผลใหผ้ ูเ้ รียน 4. ผลจากกระแสโลกาภิวัตน์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
มคี วามสุขในการเรยี น และการสอ่ื สาร ทเ่ี ข้าถึงประชาชนอยา่ งรวดเร็ว
ทาให้ประชาชนมคี า่ นยิ มในเชิงวัตถุนิยม เขม้ ขน้
5. จังหวดั มนี โยบายในการสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม มากขึ้น ส่งผลต่อการจดั การศึกษายากข้นึ
6. โครงการประชารฐั เปดิ โอกาสให้หน่วยงาน
5. มีโรงเรยี นขนาดเล็กทีม่ นี ักเรียนตั้งแต่ 120 คนลงมา
องค์กรภายนอกเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา จานวนมาก ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหาร
7. มีระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ ท่ัวถงึ ครอบคลมุ จดั การและคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

ทกุ พน้ื ท่กี ารศกึ ษาเพิม่ มากข้ึน 6. หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เขา้ ไปเก็บข้อมลู และนากิจกรรม
8. มีกฎหมายรองรบั ใหม้ ีการประเมินคุณภาพ ลงสูส่ ถานศึกษามากเกนิ ไป ทาใหค้ รูจัดการเรยี น
การสอนได้ไม่เตม็ ท่ี
มาตรฐานสถานศกึ ษา
9. แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7. ค่านยิ มของผปู้ กครองส่วนใหญน่ ยิ มสง่ บตุ ร หลาน
เข้าเรยี นในโรงเรยี นขนาดใหญ่ ทาใหเ้ กดิ ปัญหา
เอ้อื ตอ่ การสร้างภมู คิ ุ้มกันใหก้ ับประชาชน และเป็น โรงเรียนขนาดเล็กจานวนมาก และผปู้ กครอง
แนวทางการจดั การศึกษา และการบรหิ ารจัดการ สว่ นใหญ่ไมน่ ยิ มส่งบุตร หลานเรียนสายอาชพี
ของสถานศึกษาและหนว่ ยงานทางการศึกษา
10. ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวัด และกลุ่มจงั หวดั สนับสนุน
การพัฒนากาลังคนในพ้ืนท่ี

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 49

ส่วนที่ 3

สาระสาคัญของแผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2563 - 2565)

1. วิสัยทัศน์

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีคณุ ภาพและมาตรฐาน บริหารงาน
ดว้ ยความโปรง่ ใส เทีย่ งธรรม ตามหลักธรรมาภบิ าล มงุ่ สู่การเป็นเมืองแห่งคนดี และมคี ุณภาพ

2. พนั ธกิจ

1. จดั การศึกษาเพ่อื เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถความเป็นเลิศทางวิชาการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการ
แขง่ ขนั

3. พัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพ ผเู้ รียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตรและคุณลักษณะในศตวรรษ
ที่ 21 และพัฒนาศกั ยภาพและคณุ ภาพ ผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ มืออาชพี

4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้า ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา
อย่างท่วั ถึงและเท่าเทยี ม

5. จดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง และเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยืน (SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS: SDGs)

6. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้
DIGITAL TECHNOLOGY เพื่อพัฒนามุ่งสู่ประเทศไทย 4.0

3. ค่านยิ มองคก์ ร

B : BEST PRACTICES หมายถึง มผี ลงานดเี ด่น (มผี ลงานดีเดน่ ที่ได้จากการปฏิบัติงาน)

E : ENJOY หมายถึง มีความสขุ (ทางานอยา่ งมีความสขุ )

S : SURVICE MIND หมายถึง บริการด้วยใจ (ยม้ิ แย้มแจม่ ใส พูดจาไพเราะ

บริการรวดเร็ว)

T : TEAM WORK หมายถงึ การทางานเปน็ ทีม (ร่วมคิด รว่ มทา รว่ มรบั ผดิ ชอบ)

4. เปา้ ประสงค์

1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และพัฒนาสคู่ วามเป็นสากล
2. ประชากรวัยเรยี นทกุ คนได้รับโอกาสในการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานอย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ
3. ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาสามารถปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเต็มตามศกั ยภาพ
4. ผู้เรียนทกุ คนมีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมหลักของคนไทย
12 ประการ
5. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
เน้นการมีส่วนรว่ มจากทกุ ภาคส่วนในการจดั การศกึ ษา

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ( พ.ศ. 2563-2563) สพป.ราชบุรี เขต 1

5. นโยบายสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ได้กาหนดนโยบายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2563 เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการศึกษาให้สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน และมุ่งสู่ประเทศไทย 4.0 ดังนี้

นโยบายท่ี 1 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษยแ์ ละของชาติ
นโยบายท่ี 2 ด้านการจดั การศึกษาเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
นโยบายท่ี 3 ดา้ นการพฒั นาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพ
นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และ
ลดความเหลอื่ มลา้ ทางการศกึ ษา
นโยบายท่ี 5 ดา้ นการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
นโยบายท่ี 6 ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา

6. แนวทางการดาเนนิ งาน

นโยบายที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพ่อื ความม่นั คงของมนษุ ยแ์ ละของชาติ
กลยุทธท์ ี่ 1 จัดการศึกษาเพือ่ ความมน่ั คงของมนุษย์และของชาติ

เปา้ ประสงค์
1) ผเู้ รยี นทุกคนมีพฤติกรรมท่แี สดงออกถงึ ความรักในสถาบนั หลักของชาติยึดมุ่นการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
2) ผู้เรียนทุกคนมีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ
มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน
สงั คม และประเทศชาติ มัธยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มวี ินัย และรักษาศลี ธรรม
3) ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุก
รูปแบบที่มีผลกระทบต่อความม่ันคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภยั พบิ ตั ิต่าง ๆ เปน็ ตน้
4) ผู้เรียนในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนที่ห่างไกล
ทุรกันดาร เช่น พื้นท่ีสูง ชายแดน ได้รับการบริการด้านการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมีคุณภาพ และเหมาะสม
ตรงตามความต้องการ

ตวั ชีว้ ัด
1) ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่น
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
2) ร้อยละของผู้เรียนท่ีมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมีทัศนคติท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิด
ท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมท่ีพึงประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์
มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อครอบครัว ผู้อื่น ชุมชน และสังคมโดยรวม ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์
อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินัย และรกั ษาศลี ธรรม

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 51

3) ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม
ทุกรูปแบบที่มีผลกระทบต่อความม่ันคง เช่น ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและ
ทรพั ยส์ ิน การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภยั พิบตั ิตา่ ง ๆ เป็นตน้

4) ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่เฉพาะกลุ่มชาติพันธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพื้นท่ี
ห่างไกลทุรกันดาร เช่น พื้นท่ีสูง ชายแดน ได้รับการบริการด้านการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีมีคุณภาพ และ
เหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพ้ืนท่ี

5) จานวนสถานศึกษาที่น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ไปพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามท่ีกาหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6) จานวนสถานศึกษาจัดบรรยากาศสง่ิ แวดล้อม และจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงออก
ถึงความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมขุ มที ัศนคติทดี่ ตี อ่ บ้านเมอื ง มีหลักคดิ ที่ถูกต้อง เป็นพลเมืองดขี องชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม

มาตรการ
1) พฒั นาผ้เู รียนใหเ้ ป็นพลเมอื งดขี องชาติและเป็นพลโลกทด่ี ี เป็นมาตรการในการพัฒนาผู้เรียน
ให้มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเปน็ ประมขุ มที ัศนคตทิ ่ีดีต่อบ้านเมือง มหี ลักคดิ ทถ่ี ูกตอ้ ง เป็นพลเมืองดีของชาติ และลพเมืองโลกที่ดี มี
คุณธรรม จริยธรรม มีค่านิยมที่พึงประสงค์ มีคุณธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อ
ครอบครวั ชมุ ชน และสังคมและประเทศชาตสิ ื่อสตั ย์ สุจริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษา
ศีลธรรม
2) พฒั นาผู้เรียนมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง ที่
มีผลกระทบต่อความม่ันคงของประเทศ เป็นมาตรการในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถในการ
รับมือกับภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง เช่น ภัยจากยาเสพติด ภัยจากความ
รุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยภิบัติต่าง ๆ เป็นต้น
ควบคูไ่ ปกบั การป้องกันและแกไ้ ขปัญหาท่ีมีอยู่ในปจั จุบนั และทีอ่ าจจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต
3) พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนในเขตพืน้ ท่ีเฉพาะ เปน็ มาตรการการจดั การศกึ ษาให้แก่ผู้เรียน ที่อยู่ใน
เขตพื้นท่ีเฉพาะ กลุ่มชาติพันธ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกลทุรกันดาร เช่น พ้ืนท่ีสูง
ชายแดน ไดร้ บั การบรกิ ารด้านการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานทมี่ ีคณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ

นโยบายที่ 2 ด้านการจดั การศึกษาเพอ่ื เพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
กลยุทธท์ ่ี 2 จัดการศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

เป้าประสงค์
1) ผู้เรยี นทกุ ระดบั มีความเป็นเลิศ มีทกั ษะทจี่ าเป็นในศตวรรษที่ 21
2) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศตามความถนัด และความสนใจ นาไปสู่การพัฒนาทักษะวิชาชีพเป็น
นักคิด เปน็ ผ้สู ร้างนวตั กรรม เปน็ นวตั กร
3) ผ้เู รยี นได้รบั โอกาสเข้าสู่เวทกี ารแข่งขันระดับนานาชาติ

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 52

ตัวชวี้ ดั
1) จานวนผ้เู รยี นมคี วามสามารถเป็นเลิศทางด้านวิชาการ มีทักษะความรู้ท่ีสอดคล้องกับทักษะ
ทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
2) ผู้เรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ผา่ นการประเมินสมรรถนะที่จาเป็นด้านการรู้เร่ืองการอ่าน
(Reading Literacy) ด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และด้านการรู้เร่ือง
วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ตามแนวทางการประเมนิ PISA
3) รอ้ ยละของผูเ้ รียนท่ีมีศกั ยภาพไดร้ บั โอกาสเข้าส่เู วทกี ารแขง่ ขันระดบั นานาชาติ

มาตรการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ นาไปสู่ความเป็นเลิศด้านวิชาการตามความสามารถ
ความสนใจ มีทักษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

นโยบายที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์

เป้าประสงค์
1. หลักสูตรปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีการพัฒนาท่ีสอดคล้องกับ
แนวโน้มการพฒั นาของประเทศ
2. ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาตามจดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร และมีทักษะความสามารถท่ีสอดคล้อง
กับทกั ษะที่จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 มคี วามยดื หยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ ภายใต้
สังคมท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรู้เพ่ือการวางแผนชีวิต ท่ีเหมาะสมในแต่งละ
ช่วงวยั และนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้
3. ผู้เรยี นทุกคนไดร้ ับการพัฒนาใหม้ คี วามรแู้ ละทกั ษะนาไปสู่การพฒั นานวตั กรรม
4. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา มีทักษะอาชีพ
ที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของประเทศ
5. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี
สามารถดารงชวี ิตอย่างมีความสขุ ท้ังดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ
6. ครู เปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach) ผู้ให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะการเรียนรู้
หรอื ผ้อู านวยการการเรียนรู้
7. ครู มีมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน และเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม
และจรยิ ธรรม
ตวั ชี้วัด
1. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสาคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
(3R8c)
2. ร้อยละของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่มีคะแนนผลการทอสอบความสามารถพ้ืนฐาน
ระดับชาติ (NT) ผา่ นเกณฑท์ ีก่ าหนด
3. ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
มากกวา่ รอ้ ยละ 50 ในแต่ละวชิ าเพ่มิ ข้นึ จากปกี ารศกึ ษาท่ผี ่านมา

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 53

4. ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษาช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีทักษะ
การเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทา ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง มีทักษะอาชีพ
ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ วางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนาไป
ปฏิบตั ิได้

5. ผู้เรียนทุกคนมีทักษะพ้ืนฐานในการดารงชีวิต สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ มีความยดึ หยนุ่ ทางด้านความคดิ สามารถทางานร่วมกบั ผูอ้ ืน่ ได้ ภายใตส้ ังคมที่เป็นพหุวฒั นธรรม

6. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะท่ีดี สามารถ
ดารงชีวติ อย่างมคี วามสขุ ทงั้ ด้านร่างกายและจติ ใจ

7. ครู มีการเปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach) ผู้ให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะ
การเรยี นรหู้ รอื ผู้อานวยการการเรยี นรู้

มาตรการ
1. พัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา เป็นมาตรการสนับสนุนให้มีการพัฒนาหลักสูตร
แกนกลางให้เป็นหลักสูตรเชิงสมรรถนะ สอดคล้องกับทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 เอ้ือต่อการพัฒนา
สมรรถนะผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างเหมาะสมทุกด้านทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ
สตปิ ัญญา มีทกั ษะส่อื สารภาษาไทย
2. พัฒนาศักยภาพ และคุณภาพของผู้เรยี น

2.1 พัฒนาศักยภาพและคุณภาพของผู้เรียนระดับปฐมวัย ให้ได้รับการพัฒนาเหมาะสมกับ
วัยในทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา มีวินัย มีทักษะส่ือสารภาษาไทย และ
มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ (ฟัง พูด) และทักษะด้านดิจิทัล พร้อมที่จะได้รับการพัฒนาในระดับการศึกษา
ที่สูงข้นึ

2.2 พัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียนระดับประถมศึกษาให้ได้รับการพัฒนาทางด้าน
รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา มวี นิ ัย มีทกั ษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 21

2.3 พัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาให้ได้รับการพัฒนาทางด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีวินัย มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะด้านการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีทกั ษะดา้ นภาษาไทยเพื่อใช้ในการเรียนรู้ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3
มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงสู่อาชีพและมีมีงานทา
ยืดหยุ่นทางด้านความคิด สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ภายใต้สังคมท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม มีทักษะพื้นฐาน
ในการดารงชวี ิตมสี ขุ ภาวะที่ดี สามารถดารงชีวิตอย่างมีความสุข

2.4 พัฒนาคุณภาผู้เรียนท่ีมีความต้องการดูแลเป็นพิเศษ เป็นการจัดการศึกษา และ
พัฒนาสมรรถภาพสาหรับเด็กพิการ และเด็กด้อยโอกาส ในรูปแบบท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับบริบท และ
ความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษเฉพาะบุคคล

3. นาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนทุก
ระดับการจัดการศึกษา เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน
พัฒนาวิธีการการเรียนรู้ของตนเอง ตามความต้องการ และความถนัดของผู้เรียนสามารถสร้างสังคม
ฐานความรู้ (Knowledge – Based Society) ของตนเอง เพื่อให้เกิดการเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวิต

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 54

4. พฒั นาคุณภาพ และบุคลากรทางการศึกษา ร่วมมือกับสถาบันการผลิตครูในการผลิต และ
พัฒนาครูให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ มีการดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูงให้เข้ามาเป็นครูคุณภาพ
มีระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทั้งเงินเดือน เส้นทางสายอาชีพ
การสนับสนุนส่ือการสอน และสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมถึง
การพัฒนาครูท่ีเชี่ยวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ และประเมินครูจากการ
วดั ผลงานการพฒั นาผู้เรียนโดยตรง

4.1 ผลิตครูที่มีคุณภาพเป็นมาตรการการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการผลิตครู
ให้ผลิตครูทีมีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง และเป็นต้นแบบ
ด้านคณุ ธรรมและจริยธรรม

4.2 พฒั นาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา โดยพัฒนาให้เป็นครูยุคใหม่ ปรับบทบาทจาก
“ครูผู้สอน” เป็น “Coach) หรือ “ผู้อานวยการการเรียนรู้” ปรับวิธีการสอนให้เด็กสามารถ แสดงความ
คิดเหน็ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และทากจิ กรรมในชนั้ เรยี น ทาหนา้ ท่กี ระตุน้ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้
และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบการสร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรม และสร้างนวัตกรรมการ
เรียนรู้ใหผ้ ู้เรียน มีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรเู้ พ่อื ผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รียน

นโยบายที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ
เหล่อื มล้าทางการศึกษา

กลยุทธท์ ่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศกึ ษาที่มคี ุณภาพ มมี าตรฐาน และลดความ
เหลอ่ื มล้าทางการศกึ ษา

เปา้ ประสงค์
1. สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายโดลกเพื่อการพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน (Global
Goals for Sustainable Development)
2. สถานศกึ ษากับองค์กรปกครองท้องถิ่น ภาคเอกชน และหน่วยงานที่เก่ียวข้องในระดับพื้นที่
ร่วมมอื ในการจดั การศึกษา
3. สถานศกึ ษามคี ุณภาพ และมีมาตรฐานตามบริบทของพื้นที่
4. งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษามีเพียงพอ และเหมาะสม สอดะคล้องกับสภาพ
ข้อเท็จจริง โดยคานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพ้ืนที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และที่ตั้งของ
สถานศกึ ษา
5. งบประมาณเพ่ือเป็นค่าใช้จ่าย และงบลงทุนแก่สถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพ่ือให้
สถานศึกษาบริหารงานจัดการศึกษาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
6. นาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเป็นเคร่ืองมือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าถึง
บริการดา้ นการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
7. พัฒนาระบบการติดตา สนับสนุนและประเมินผลเพ่ือสร้างหลักประกันสิทธิการได้รับ
การศึกษาที่มีคณุ ภาพของประชาชน

แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 55

ตัวชวี้ ัด
1. ผเู้ รียนทุกคนสามารถเข้าถงึ การศึกษาท่ีมีคุณภาพเป็นมาตรฐานเสมอกัน
2. ผู้เรียนทุกคนไดร้ บั จดั สรรงบประมาณอุดหนุนอย่างเพียงพอ เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ
ข้อเท็จจริง โดยคานึงถึงความจาเป็นตามสภาพพ้ืนที่ภูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และท่ีตั้งของ
สถานศกึ ษา และความต้องการจาเปน็ พเิ ศษสาหรบั ผูพ้ กิ าร และความต้องการจาเป็นพเิ ศษสาหรบั ผพู้ ิการ
3. ผู้เรียนได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใช้เป็น
เครือ่ งมือในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้อยา่ งเหมาะสม เพียงพอ
4. ครูได้รับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพื่อใช้เป็น
เครอ่ื งมอื ในการจดั กิจรรมการเรยี นรใู้ ห้แกผ่ ู้เรียน
5. สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานอย่างเหมาะสมตามบริบท ด้านประเภท ขนาด
และพืน้ ท่ี
6. สถานศึกษานาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
7. สถานศึกษามีระบบการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนและการแนะแนวที่มี
ประสิทธิภาพ
8. สถานศึกษาที่มีระบบฐานข้อมูลประชากรวัยเรียนและสามารถนามาใช้ในการวางแผน
จดั การเรียนรู้ใหแ้ ก่ผูเ้ รียนไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

มาตรการ
1. สรา้ งความรว่ มมอื กับองคก์ รปกครองระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการ
จัดการศึกษาให้สอดคล้องกบั บริบทของพื้นที่
2. ยกระดบั สถานศึกษาในสังกัดทุกระดับ ใหม้ ีคณุ ภาพ และมาตรฐานตามบรบิ ทของพื้นท่ี
3. จดั สรรงบประมาณสนบั สนนุ ผู้เรยี นทุกกลุม่ และสถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอ
4. ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพ
ของผู้เรยี น

นโยบายท่ี 5 ด้านการจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม

กลยุทธ์ท่ี 5 จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม

เป้าประสงค์
1. สถานศึกษา นักเรียน ได้รับการส่งเสริมด้านความรู้ การสร้างจิตสานึกด้านการผลิตและ
บรโิ ภค ท่ีเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม
2. สถานศกึ ษาสามารถนาเทคโนโลยี มาจัดทาระบบสารสนเทศการเกบ็ ขอ้ มูลด้านความรู้ เรื่อง
ฉลากสเี ขียวเพ่ือสิง่ แวดล้อม ฯลฯ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในทกุ .โรงเรียนตามแนวทาง Thailand 3.0
3. สถานศึกษามีการจดั ทานโยบายจัดซื้อจัดจา้ งทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
4. สถานศกึ ษามีการบูรณาการหลักสูตร กิจกรรมเร่อื งวงจรชีวติ ของผลิตภัณฑ์การผลติ และ
บริโภค สู่การลดปรมิ าณคาร์บอนในโรงเรียนคาร์บอนต่าสู่ชุมชนคาร์บอนต่า
5. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน และสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา โรงเรียน
ทกุ โรงเรยี น ในสังกดั มีการปรับปรงุ และพัฒนาเปน็ หนว่ ยงานตน้ แบบสานักงานสเี ขียว (Green Office)
เพื่อใหม้ บี รบิ ททเ่ี ปน็ แบบอยา่ งเอือ้ หรือสนบั สนนุ การเรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน

แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 56

6. สถานศึกษาในสังกดั มีนโยบายส่งเสรมิ ความรู้และสร้างจิตสานึกและจัดการเรียนรู้การผลติ
และบริโภคที่เปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม

7. สถานศึกษาต้นแบบนาขยะมาใช้ประโยชนเ์ พื่อลดปรมิ าณขยะ
8. มีสถานศึกษานวัตกรรมต้นแบบในการนา 3RS มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการผลิตและบรโิ ภค
ท่ีเปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
9. สานกั งานเขตพืน้ ทีม่ ีการนานโยบายการจัดซอื้ จัดจ้างทเี่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
ตัวช้วี ดั
1. สถานศึกษาในสังกัด มีนโยบายและจัดกิจกรรมให้ความรู้ ท่ีถูกต้องและสร้างจิตสานึกด้าน
การผลิตและบรโิ ภคท่เี ปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อมนาไปปฏิบัติใช้ที่บ้านและชุมชน เช่น การส่งเสริมอาชีพ ที่เป็น
มิตรกับสิง่ แวดล้อม การลดใชส้ ารเคมีจากปุ๋ยและยาฆ่าแมลง ฯลฯ
2. สถานศึกษามีการนาขยะมาใช้ประโยชน์ในรูปผลิตภัณฑ์และพลังงานเพ่ือลดปริมาณขยะ
และมกี ารสง่ เสรมิ การคดั แยกขยะในชุมชนเพื่อลดปรมิ าณคารบ์ อนที่โรงเรยี นและชมุ ชน
3. สถานศึกษามีการบูรณาการเรื่องการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมและการนาขยะมาใช้
ประโยชน์ รวมทั้งสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ทเ่ี กย่ี วข้อง
4. นักเรียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรียนรู้ นักเรียน โรงเรียน ชุมชน
เรียนรู้ด้านการลดใช้พลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และตัวอย่าง
รปู แบบผลติ ภณั ฑ์ที่เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม เช่น โรงงงานอตุ สาหกรรมสเี ขยี ว ฯลฯ
5. นกั เรียน สถานศึกษามกี ารเก็บขอ้ มลู เปรียบเทยี บการดปรมิ าณคาร์บอนไดออกไซดใ์ นการ
ดาเนินกจิ กรรมประจาวนั ในสถานศึกษาและท่ีบา้ น และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรปู แบบ
QR CODE และ Paper less
6. ครู มีความคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถพฒั นาสื่อ นวตั กรรม และดาเนินการจัดทางานวิจยั ดา้ น
การสร้างสานึกด้านการผลติ และบรโิ ภคทเี่ ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ มได้
7. ครู และนักเรยี นสามารถนาสือ่ นวัตกรรมทผี่ า่ นกระบวนการคดิ มาประยกุ ต์ใชใ้ นโรงเรียน
การจดั การเรยี นรู้ และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันและชมุ ชนได้ตามแนวทาง Thailand 3.0
8. สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา สถานศกึ ษามีการปรับปรุงและพัฒนาบคุ ลากร และสถานท่ี
ใหเ้ ปน็ สานกั งานสเี ขียวตน้ แบบ มีนโยบายการจัดซอ้ื จัดจ้างทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ มที่เอื้อต่อการเรยี นร้ขู อง
นกั เรยี นและชมุ ชน

มาตรการ
1. จัดทา Road Map และแผนปฏิบัติการเพ่ือจัดแนวทางการดาเนินการให้องค์ความรู้และ
สรา้ งจิตสานึกดา้ นการผลิตและบรโิ ภคทเี่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
2. จดั ทาคู่มือและพัฒนาส่ือนวัตกรรมในรูปแบบ QR CODE และส่ือระบบ Multimedia และ
อ่นื ๆ
3. จัดทาเกณฑ์การประกวดโรงเรียนคาร์บอนต่าและชุมชนคาร์บอนต่าและพัฒนาวิทยากรให้
ความรเู้ รอื่ งวงจรชีวติ ของผลติ ภณั ฑ์ (LCA) ส่สู งั คมคารบ์ อนต่า
4. พฒั นาวเิ คราะห์แผนการจดั การเรียนและจดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ในเรื่องการผลิตและบริโภค
ท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษา
และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการเก็บข้อมูลการลดก๊าซท่ีมีผลต่อปรากฏการณ์ภาวะเรือนกระจก เช่น

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 57

คาร์บอนไดออกไซด์ ในรูปแบบการเปรียบเทียบและการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวนั Carbon emission/ Carbon Footprint ในสถานศกึ ษาสู่ชมุ ชน

5. จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญในการจัดทา Road Map เป็นที่ปรึกษาในการดาเนินการตามแผน
ปฏิบตั ิการโรงเรียนคาร์บอนต่าสูช่ มุ ชนคารบ์ อน

6. พัฒนาต่อยอดและขยายผลศูนย์การเรียนรู้ลดใช้พลังงาน การจัดการขยะ และอนุรักษ์ส่ิ
แวดลอ้ มใน 6 ศูนย์ 3 ภมู ิภาค

7. พฒั นาเครือ่ งมอื และกรุบวนการให้ความรแู้ ละแนวทางการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเรื่องการ
ผลิตและบรโิ ภคที่เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มใน 6 ภูมิภาค

8. จัดสรรงบประมาณตาม Road Map และแผนปฏิบัติการ เพ่ือดาเนินการต่อยอดขยาย
ความร้แู ละสร้างเครือข่ายโรงเรยี น ชุมชน และเชอ่ื มต่อหน่วยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน

9. สนับสนุน ส่งเสริม พัฒนากระบวนการรณรงค์ให้มีการจัดซื้อจัดจ้าง ที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อมและยกระดับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาต้นแบบ และสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการ
สานักงานสีเขียวและสถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม (Green office)

10. พัฒนา ยกระดับสถานศึกษานาร่องขยายผล ส่งสถานศึกษาต้นแบบด้านการพัฒนา ด้าน
การผลิต และบรโิ ภค ทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อมทงั้ ระบบ เชน่ การเลือกซอ้ื ผลิตภัณฑ์เบอร์ 5 และผลิตภัณฑ์
ท่ีมีฉลากและสัญลักษณ์เบอร์ 5 เพ่ือลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและลดปริมาณขยะในสานักงานและ
สถานศึกษา

11. ส่งเสรมิ การพฒั นาส่ือนวัตกรรม และบูรณาการสาระการเรยี นรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
เรอ่ื งการผลติ และบรโิ ภคทีเ่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อมตอ่ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ

12. ขยายผลผ่านระบบ DLTV ส่งเสริมความรู้เร่ือง การผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อมต่อความปลอดภัย และสุขภาพท่ีดีสู่สังคมเมืองเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและส่ิงแวดล้อม
ท่ีดีและการเลือกผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมและฉลาดที่แสดงสัญลักษณ์ท่ีเป็นมิตร
กับสง่ิ แวดล้อม

13. พัฒนานวัตกรรมโดยใช้กระบวนการ BBL/PLC และ Decision – Making การนาขยะ
มาใช้ประโยชน์ในรูปแบบผลิตภัณฑ์และพลังงานและลดปริมาณขยะ การบาบัดน้าเสีย ลดการใช้เผา และ
ลดใช้สารเคมี ส่โู รงเรยี นปลอดภัยและเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม

14. ขยายผลจากโรงเรียนคาร์บอนตา่ สชู่ ุมชนเชงิ นิเวศและการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อมดี
Green city ด้านพลังงาน การจดั การขยะและน้าเสยี ชมุ ชนผลิตและบรโิ ภคที่เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม

15. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาให้นักเรียน โรงเรียนได้ศึกษา เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
โรงงานอุตสาหกรรม การผลิตท่เี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม ชุมชนเมืองนิเวศ และหน่วยงานส่งเสริมการบริโภค
ทเ่ี ปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ มเพือ่ นาความร้มู าประยุกต์ใชแ้ ละจดั ทาโครงงานด้านการอนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม

16. ส่งเสริมแนวทางการจัดการเรียนรู้อาชีพที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมในสถานศึกษา จัดค่าย
เยาวชนวัยซนลดคาร์บอนเพ่ือโลก ประกวดชุมชนต้นแบบท่ีนาความรู้จากโรงเรียนต่อยอดสู่ชุมชนนิเวศ
ปลอดขยะ ปลอดสารพิษเป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม

17. จัดทาระบบนเิ ทศ ติดตามผลการดาเนินงานในสถานศึกษาทั้งในระบบออนไลน์และนิเทศ
เชิงคุณภาพพัฒนาการกรอกข้อมูลระบบการนิเทศติดตาม แลกเปล่ียนนาเสนอผลงานและมอบรางวัล
เกียรตยิ ศ ประชาสมั พนั ธแ์ ละจัดพิมพ์ เว็ปไซต์ ผลงานเพอ่ื เผยแพร่และเปน็ ต้นแบบ สรปุ ผลรายงาน

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 58

นโยบายท่ี 6 ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา

กลยุทธท์ ่ี 6 ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา

เปา้ ประสงค์
1. สถานศกึ ษา หรือกล่มุ สถานศึกษา มีความเป็นอสิ ระในการบรหิ ารและจัดการศกึ ษา
ครอบคลุม ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการ
บรหิ ารงานท่วั ไป
2. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ต้องปรับเปลี่ยนให้เป็นหน่วยงานให้มีความทันสมัย พร้อมท่ี
จะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีสนับสนุน ส่งเสริม
ตรวจสอบ ติดตาม เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
3. หน่วยงานทุกระดับ มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหารจัดการ
ตามหลักธรรมาภบิ าล
4. หน่วยงานมีกระบวนการ และวิธีงบประมาณด้านการศึกษาเพ่ือเพ่ิมคุณภาพและ
ประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษา โดยการจดั สรรงบประมาณตรงส่ผู เู้ รยี น
5. หน่วยงานพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการเพ่ิม
ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารและการจัดการเรยี นการสอนย่างเป็นระบบ

ตวั ช้วี ัด
1. สถานศกึ ษาได้รบั การกระจายอานาจการบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งเปน็ อสิ ระ
2. สถานศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ได้รับการพัฒนาให้เป็นหน่วยงานที่มีความ
ทันสมัย ยึดหยุ่น คล่องตัวสูง พร้อมท่ีจะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา
เป็นหน่วยงานที่มีหน้าท่ีสนับสนุน ส่งเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้
อย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมทกุ ตาบล
3. สถานศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา นานวัตกรรม และเทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital
Technology) มาใช้ในการบรหิ ารจดั การและตัดสนิ ใจทัง้ ระบบ
4. สถานศกึ ษาในสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา มีความโปรง่ ใส ปลอดการทุจริต และ
ประพฤตมิ ิชอบ บริหารจัดการหลกั ธรรมาภิบาล
5. สถานศกึ ษา สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ผา่ นการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสใน
การดาเนินงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA)
6. สถานศกึ ษาทุกแห่ง และสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
วิชาการ ผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศกึ ษา สถานศึกษา หน่วยงานในสังกัด
7. สถานศึกษาทุกแห่งมขี ้อมลู ผ้เู รยี นรายบุคคลที่สามารถเชอื่ มโยงกับข้อมลู ตา่ ง ๆ นาไปสู่การ
วิเคราะห์เพ่ือวางแผนการจดั การเรยี นรู้สู่ผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ (Big Data Technology)
8. สถานศกึ ษา สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา มแี พลตฟอรม์ ดจิ ทิ ัล (Digital Platform) เพือ่
สนับสนุนภารกิจด้านบริหารจดั การศึกษา
9. สถานศึกษาทุกแห่งมรี ะบบข้อมลู สารสนเทศทส่ี ามารถใช้ในการวางแผนการจัดการศกึ ษาได้
อย่างมีประสิทธภิ าพ

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 59

มาตรการ
1. ใหส้ ถานศกึ ษา หรือกลุม่ สถานศึกษามีความเปน็ อิสระในการบริหารจัดการศึกษาครอบคลุม
ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงาน
ทว่ั ไป โดยดาเนินการเปน็ รายสถานศกึ ษาหรือกล่มุ สถานศกึ ษา อาจดาเนนิ การเปน็ รายดา้ นหรอื ทุกด้านได้
2. พัฒนาสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเป็นหน่วยงานท่ีมีความทันสมัยอย่างมีประสิทธิภาพ
พร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และ
ประพฤตมิ ชิ อบ บริหารจดั การตามหลกั ธรรมมาภิบาล เปน็ หนว่ ยงานที่มหี นา้ ท่ีสนับสนุน สง่ เสรมิ ตรวจสอบ
ตดิ ตาม เพ่อื ให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ปฏิรูปการคลังด้านการศึกษา เพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโดยการ
จัดสรรงบประมาณตรงสู่ผู้เรียน และสถานศึกษา เป็นมาตรการที่เน้นการนาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital
Technology) มาใชใ้ นการจดั สรรงบประมาณอุดหนนุ ผ้เู รยี นทกุ คน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติที่ต้องการ
ปฏริ ูปการคลงั โดยการจดั สรรงบประมาณตรงไปยังผูเ้ รยี น เทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) จะเป็น
เครอ่ื งมือสาคญั ในการดาเนินการเพ่อื ใหบ้ รรลเุ ป้าประสงค์ดังกล่าว โดยสามารถพิสูจน์ตัวตนของผู้เรียนท่ีรับ
จัดสรรงบประมาณได้อย่างถูกต้อง ลดความซ้าซ้อนในการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนผู้เรียน สามารถ
กาหนดเง่ือนไขการจัดสรรงบประมาณให้แก่ผู้เรียนกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง และสามารถเช่ือมโยงข้อมูล
กบั ระบบธนาคารในการจัดสรรงบประมาณตรงไปยังผูเ้ รยี นได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
4. พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) และระบบการทางานที่เป็น
ดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด เป็นมาตรการในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารอย่างเป็นระบบ นาไปสู่การนา
เทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Technology) เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลด้านต่าง ๆ ต้ังแต่
ข้อมูลผู้เรียน ข้อมูลครู ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลอื่น ๆ ที่จาเป็นมาวิเคราะห์เพ่ือให้
สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะและความถนัด และ
สามารถวิเคราะห์เป็นข้อมูล ในการวางแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ นา Cloud
Technology มาให้บริการแก่หน่วยงานทุกระดับทั้งระดับ LaaS PaaS และพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัล
(Digital Technology) ระบบบรหิ ารงานสานักงาน เช่น ระบบแผนงานและงบประมาณ ระบบบัญชี ระบบ
พัสดุ ระบบสารบรรณ เป็นต้น เพื่อเจ้าหน้าที่สามารถใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เชือ่ มโยงกนั ทัง้ องคก์ ร

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 60

7. เปา้ ประสงค์ ตัวชว้ี ดั และค่าเป้าหมาย

เปา้ ประสงค์ ตวั ชีว้ ดั ขอ้ มูลฐาน เป้าหมาย ปี 2563-2565
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

นโยบายท่ี 1 ด้านการจดั การศึกษาเพ่อื ความมั่นคงของมนษุ ย์และของชาติ

กลยุทธท์ ่ี 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความม่นั คงของมนษุ ย์และของชาติ

1. ผ้เู รยี นทกุ คนมพี ฤตกิ รรม 1. ร้อยละของผเู้ รียนทม่ี ี 100 100 100 100
100 100 100 100
ทีแ่ สดงออกถึงความรักใน พฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความ
100 100 100 100
สถาบนั หลกั ของชาติยดึ มั่น รกั ในสถาบันหลกั ของชาติ

การปกครองระบอบ ยดึ ม่ันการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอันมี ประชาธปิ ไตยอนั มี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็น พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข

ประมุข

2. ผเู้ รียนทกุ คนมีทศั นคติที่ดี 2. ร้อยละของผูเ้ รยี นท่ีมี

ตอ่ บ้านเมือง มหี ลักคดิ ที่ พฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ การ

ถูกต้อง เป็นพลเมอื งดขี องชาติ มที ัศนคตทิ ี่ดีต่อบา้ นเมือง

มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีหลักคดิ ที่ถกู ต้องเปน็ พลเมืองดี

มีค่านิยมทพี่ งึ ประสงค์ ของชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม

มีจิตสาธารณะ มจี ติ อาสา มีค่านยิ มท่พี งึ ประสงค์

รบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั มีคุณธรรมอตั ลักษณ์ มีจติ

ชุมชน สังคม และประเทศชาติ สาธารณะ มจี ติ อาสา รับผิดชอบ

มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี ต่อครอบครัวผอู้ นื่ ชุมชน และ

มวี ินยั และรักษาศีลธรรม สังคมโดยรวม ซ่ือสตั ย์ สุจริต

มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี

มีวินัย และรกั ษาศีลธรรม

3. ผ้เู รียนทุกคนมคี วามรู้ 3. ร้อยละของผู้เรยี นมีความรู้

ความเขา้ ใจ และมีความพร้อม ความเขา้ ใจ และมีความพร้อม

สามารถรบั มือกบั ภยั คุกคาม สามารถรับมือกบั ภัยคุกคามทุก

ทุกรูปแบบท่มี ผี ลกระทบต่อ รปู แบบท่ีมผี ลกระทบต่อความ

ความม่ันคง เชน่ ภัยจาก มน่ั คง เชน่ ภัยจากยาเสพตดิ

ยาเสพตดิ ความรนุ แรง การ ความรนุ แรง การคุกคามในชีวติ

คกุ คามในชวี ติ และทรัพย์สนิ และทรัพยส์ นิ การคา้ มนุษย์

การค้ามนุษย์ อาชญากรรม อาชญากรรมไซเบอร์ และภัย

ไซเบอร์ และภัยพิบัติตา่ ง ๆ พิบัติตา่ ง ๆ เป็นตน้

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 62

เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ดั ข้อมูลฐาน เปา้ หมาย ปี 2563-2565
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

4. ผู้เรียนในเขตพืน้ ท่ีเฉพาะ 4. ร้อยละของผเู้ รยี นในเขตพ้ืนที่ n/a 100 100 100
กล่มุ ชาตพิ ันธ์ุ กลุ่ม เฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ กลมุ่
ผดู้ อ้ ยโอกาส และกลมุ่ ทอ่ี ย่ใู น ผดู้ ้อยโอกาส และกลมุ่ ทอี่ ยใู่ น
พน้ื ท่หี ่างไกลทรุ กนั ดาร เชน่ พ้ืนท่หี า่ งไกลทุรกันดาร เชน่
พ้นื ที่สูง ชายแดน ไดร้ บั การ พืน้ ที่สงู ชายแดน ได้รบั การ
บรกิ ารด้านการศกึ ษา บริการดา้ นการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ข้นั พ้นื ฐานที่มคี ุณภาพ และ ท่ีมคี ณุ ภาพ และเหมาะสมตรง
เหมาะสมตรงตามความ ตามความต้องการ สอดคล้องกับ
ตอ้ งการ บรบิ ทของพนื้ ท่ี

นโยบายที่ 2 ด้านการจัดการศึกษาเพอื่ เพิม่ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

กลยุทธท์ ่ี 2 จัดการศกึ ษาเพ่อื เพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

1. ผู้เรียนทกุ ระดับมีความ 1) จานวนผ้เู รยี นมี n/a 80 85 90

เป็นเลศิ มที ักษะทจ่ี าเป็นใน ความสามารถเป็นเลศิ ทางดา้ น

ศตวรรษที่ 21 วชิ าการ มีทกั ษะความรู้ท่ี

2. ผูเ้ รยี นมีความเปน็ เลศิ ตาม สอดคล้องกับทักษะทีจ่ าเปน็

ความถนดั และความสนใจ ในศตวรรษที่ 21

นาไปส่กู ารพัฒนาทักษะ 2) ผูเ้ รียนระดับมธั ยมศึกษา n/a 100 100 100
วิชาชพี เปน็ นักคิด เป็นผ้สู รา้ ง ตอนต้น ผ่านการประเมนิ
นวัตกรรม เปน็ นวัตกร
สมรรถนะทีจ่ าเปน็ ดา้ นการรู้
3. ผู้เรยี นไดร้ บั โอกาสเขา้ สู่ เรอ่ื งการอ่าน (Reading
เวทีการแขง่ ขนั ระดับ
Literacy) ดา้ นการรเู้ ร่อื ง
นานาชาติ
คณติ ศาสตร์ (Mathematical

Literacy) และดา้ นการรูเ้ ร่ือง

วิทยาศาสตร์ (Scientific

Literacy) ตามแนวทางการ

ประเมิน PISA

3) ร้อยละของผู้เรียนท่ีมี n/a 50 55 60

ศกั ยภาพได้รบั โอกาสเข้าส่เู วที

การแข่งขนั ระดับนานาชาติ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 63

ขอ้ มูลฐาน เป้าหมาย ปี 2563-2565
ปี 2562
เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัด ปี ปี ปี

2563 2564 2565

นโยบายที่ 3 ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
กลยทุ ธท์ ี่ 3 พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์

1. หลกั สูตรปฐมวยั และ 1. ผเู้ รียนทุกระดบั มีสมรรถนะ n/a 100 100 100
n/a
หลักสูตรแกนกลางการศึกษา สาคญั ตามหลักสตู ร มีทกั ษะ n/a
n/a
ขั้นพื้นฐาน มกี ารพัฒนาที่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21
100
สอดคลอ้ งกบั แนวโน้มการ (3R8c)

พัฒนาของประเทศ 2. รอ้ ยละของผเู้ รยี น 100 100 100

2. ผเู้ รยี นได้รบั การพฒั นาตาม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่มี
จดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร และ คะแนนผลการทอสอบ
มที กั ษะความสามารถที่
ความสามารถพ้นื ฐานระดับชาติ
สอดคล้องกับทักษะทจ่ี าเปน็ ใน (NT) ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
ศตวรรษที่ 21 มคี วามยืดหยุ่น 3. ร้อยละของผ้เู รยี นที่มี
ทางด้านความคิด สามารถ คะแนนผลการทดสอบทาง 100 100 100

ทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ ภายใต้ การศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน
สงั คมทีเ่ ปน็ พหุวัฒนธรรม (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50
รวมถึงการวางพ้ืนฐานการ ในแตล่ ะวชิ าเพิ่มขึ้นจากปี
เรียนร้เู พื่อการวางแผนชีวิต การศกึ ษาทีผ่ ่านมา
ทเี่ หมาะสมในแตง่ ละชว่ งวัย
และนาไปปฏบิ ตั ิได้ 4. ร้อยละของผ้เู รยี นทจ่ี บ 100 100 100
3. ผู้เรยี นทกุ คนได้รบั การ การศึกษาช้ันประถมศึกษา
พัฒนาให้มีความร้แู ละทกั ษะ ปีที่ 6 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 100 100 100
นาไปสู่การพฒั นานวตั กรรม มีทักษะการเรียนรูท้ ่ีเชอ่ื มโยง
4. ผเู้ รียนได้รบั การพัฒนาเต็ม สู่อาชีพและการมีงานทา ตาม
ตามศักยภาพ เช่อื มโยงสู่อาชีพ ความถนดั และความต้องการ
และการมงี านทา ของตนเอง มีทกั ษะอาชพี ที่
มีทักษะอาชพี ที่สอดคล้องกบั สอดคล้องกับความตอ้ งการ
ความต้องการของประเทศ ของประเทศ วางแผนชีวิตและ
5. ผ้เู รียนไดร้ ับการพัฒนาให้มี วางแผนทางการเงนิ ทเ่ี หมาะสม
ศักยภาพในการจัดการสุขภาวะ และนาไปปฏบิ ัติได้
ของตนเองให้มสี ุขภาวะที่ดี
สามารถดารงชีวิตอย่างมี 5. ผู้เรยี นทุกคนมีทกั ษะพนื้ ฐาน
ความสุขทั้งด้านร่างกายและ ในการดารงชวี ิต สามารถ
จิตใจ ดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมได้อย่างมี
ความสขุ มีความยึดหย่นุ

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 64

ข้อมูล เป้าหมาย ปี 2563-

เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ัด ฐาน 2565
ปี ปี ปี ปี
6. ครู เปล่ยี นบทบาทจาก
“ครผู สู้ อน” เปน็ “Coach) 2562 2563 2564 2565
ผใู้ ห้คาปรกึ ษาข้อเสนอแนะ
การเรยี นรู้หรือผอู้ านวยการ ทางดา้ นความคดิ สามารถทางานร่วมกับ
การเรยี นรู้
7. ครู มมี คี วามรู้ ผอู้ ืน่ ได้ ภายใต้สงั คมท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม
ความสามารถในการจดั การ
เรยี นการสอน และเป็น 6. ผเู้ รยี นทุกคนมีศักยภาพในการจดั การ 100 100 100 100
แบบอย่างด้านคณุ ธรรมและ สุขภาวะของตนเองให้มสี ุขภาวะที่ดี
จริยธรรม สามารถดารงชวี ติ อย่างมีความสขุ ทงั้ ด้าน
ร่างกายและจิตใจ

7. ครู มกี ารเปล่ียนบทบาทจาก 90 100 100 100
“ครผู สู้ อน” เป็น “Coach)” ผู้ให้
คาปรึกษาข้อเสนอแนะการเรยี นรหู้ รอื
ผอู้ านวยการการเรียนรู้

นโยบายท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความ

เหลอื่ มล้าทางการศึกษา

กลยุทธท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพ มมี าตรฐาน และลดความเหลื่อมล้าทางการศกึ ษา

1. สถานศึกษาจัดการศึกษา 1. ผ้เู รียนทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษา ทกุ คน ทกุ คน ทกุ คน ทุกคน

เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายโดลก ท่มี คี ณุ ภาพเปน็ มาตรฐานเสมอกัน

เพื่อการพฒั นาอยา่ งยั่งยืน

(Global Goals for 2. ผู้เรียนทุกคนได้รับจดั สรรงบประมาณ ทกุ คน ทกุ คน ทุกคน ทกุ คน

Sustainable evelopment) อดุ หนนุ อยา่ งเพยี งพอ เหมาะสม
2. สถานศึกษากับองคก์ ร สอดคล้องกับสภาพข้อเทจ็ จริง โดย
ปกครองท้องถิ่น ภาคเอกชน คานึงถงึ ความจาเปน็ ตามสภาพพน้ื ที่
และหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องใน ภูมศิ าสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และทีต่ ั้ง
ระดับพนื้ ท่ี รว่ มมอื ในการจัด ของสถานศกึ ษา และความต้องการ
การศกึ ษา
จาเปน็ พเิ ศษสาหรบั ผพู้ กิ าร และความ
3. สถานศึกษามีคณุ ภาพ และ ต้องการจาเปน็ พิเศษสาหรบั ผู้พิการ
มีมาตรฐานตามบรบิ ทของ

พื้นที่

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 65

ขอ้ มูล เป้าหมาย ปี 2563-

เปา้ ประสงค์ ตัวชี้วดั ฐาน 2565
ปี ปี ปี ปี

2562 2563 2564 2565

4. งบประมาณ และทรพั ยากร 3. ผู้เรียนได้รับการสนบั สนนุ วัสดุ ทกุ คน ทกุ คน ทกุ คน ทุกคน

ทางการศึกษามเี พยี งพอ และ อปุ กรณ์ และอปุ กรณ์ดิจิทัล (Digital

เหมาะสม สอดะคล้องกับ Device) เพอื่ ใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการจดั

สภาพขอ้ เท็จจรงิ โดยคานงึ ถึง กจิ กรรมการเรียนรูอ้ ย่างเหมาะสม

ความจาเปน็ ตามสภาพพน้ื ท่ี เพยี งพอ

ภูมิศาสตร์ สภาพทาง 4. ครไู ดร้ ับการสนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ ทกุ คน ทกุ คน ทกุ คน ทุกคน
เศรษฐกิจ และท่ตี ั้งของ และอปุ กรณ์ดิจิทลั (Digital Device) ทุกแห่ง ทุกแห่ง ทกุ แห่ง ทกุ แห่ง
สถานศึกษา เพื่อใช้เปน็ เครอื่ งมือในการจดั กิจรรมการ
5. งบประมาณเพ่อื เป็น เรยี นร้ใู หแ้ ก่ผู้เรยี น
ค่าใช้จา่ ย และงบลงทนุ แก่
สถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม 5. สถานศกึ ษาไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ี
เพือ่ ให้สถานศึกษาบริหารงาน มาตรฐานอยา่ งเหมาะสมตามบริบท ด้าน
จดั การศกึ ษาอยา่ งมี ประเภท ขนาด และพนื้ ท่ี

ประสิทธิภาพ 6. สถานศึกษานาเทคโนโลยีดิจิทัล ทกุ แหง่ ทุกแห่ง ทกุ แห่ง ทุกแห่ง

6. นาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Technology) มาใช้เป็น

(Digital Technology) มา เคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เป็นเคร่ืองมอื ให้ผูเ้ รยี นได้มี ใหแ้ ก่ผ้เู รียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
โอกาสเข้าถงึ บริการด้าน
การศึกษาไดอ้ ย่างมี 7. สถานศึกษามีระบบการดูแลชว่ ยเหลือ ทุกแหง่ ทุกแห่ง ทุกแหง่ ทุกแห่ง
ประสทิ ธิภาพ และคุม้ ครองนักเรยี นและการแนะแนวที่ ทกุ แห่ง ทุกแหง่ ทุกแห่ง ทกุ แห่ง
7. พัฒนาระบบการตดิ ตาม มีประสทิ ธิภาพ
สนับสนนุ และประเมนิ ผลเพ่อื
สรา้ งหลักประกนั สิทธิการ 8. สถานศึกษาท่ีมรี ะบบฐานข้อมลู
ไดร้ บั การศึกษาทม่ี ีคุณภาพ ประชากรวัยเรยี นและสามารถนามาใชใ้ น
ของประชาชน การวางแผนจัดการเรียนรใู้ ห้แก่ผเู้ รียนได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 66

เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ดั ข้อมลู ฐาน เปา้ หมาย ปี 2563-2565
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

นโยบายที่ 5 ด้านการจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม

กลยทุ ธท์ ี่ 5 จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม

1. สถานศกึ ษา นักเรียน ไดร้ ับ 1. สถานศกึ ษาในสังกดั มี ทกุ แห่ง ทกุ แหง่ ทกุ แหง่ ทกุ แหง่

การสง่ เสรมิ ด้านความรู้ การ นโยบายและจัดกิจกรรมให้ ทกุ แหง่ ทุกแหง่ ทกุ แห่ง ทุกแห่ง
ทกุ แห่ง ทกุ แหง่ ทกุ แห่ง ทุกแหง่
สร้างจติ สานกึ ดา้ นการผลิต ความรู้ ทถ่ี กู ตอ้ งและสร้าง n/a ทกุ คน ทุกคน ทกุ คน

และบรโิ ภค ท่ีเป็นมติ รกบั จิตสานกึ ด้านการผลิตและ

สงิ่ แวดล้อม บริโภคทีเ่ ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม

2. สถานศกึ ษาสามารถนา นาไปปฏิบตั ใิ ช้ท่ีบา้ นและชมุ ชน

เทคโนโลยี มาจัดทาระบบ เช่น การสง่ เสรมิ อาชพี ทเ่ี ปน็

สารสนเทศการเกบ็ ข้อมูลดา้ น มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม การลดใช้

ความรู้ เรือ่ งฉลากสีเขยี วเพื่อ สารเคมจี ากปยุ๋ และยาฆ่าแมลง

สง่ิ แวดลอ้ ม ฯลฯ และสามารถ 2. สถานศึกษามีการนาขยะมา
นามาประยุกตใ์ ชใ้ นทุก
ใช้ประโยชนใ์ นรปู ผลติ ภณั ฑ์และ
โรงเรยี นตามแนวทาง
พลังงานเพ่ือลดปริมาณขยะและ
Thailand 3.0
มีการสง่ เสรมิ การคัดแยกขยะ
3. สถานศึกษามีการจดั ทา ในชุมชนเพอ่ื ลดปริมาณคารบ์ อน
นโยบายจัดซ้อื จัดจ้างทเี่ ป็น ทีโ่ รงเรียนและชมุ ชน
มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
4. สถานศึกษามีการบรู ณา 3. สถานศกึ ษามีการบรู ณาการ
การหลักสูตร กจิ กรรมเร่ือง เรื่องการจัดการขยะแบบมี
วงจรชวี ติ ของผลิตภัณฑก์ าร ส่วนรว่ มและการนาขยะมาใช้
ผลิตและบริโภค สกู่ ารลด ประโยชน์ รวมทงั้ สอดแทรก
ปริมาณคาร์บอนในโรงเรียน ในสาระการเรียนรู้ทเี่ ก่ยี วข้อง
คาร์บอนต่าสชู่ มุ ชนคาร์บอน
ตา่ 4. นักเรียนเรียนรู้จากแหล่ง
เรยี นรู้ มีการขยายผลแหล่ง
เรียนรู้ นกั เรยี น โรงเรียน ชุมชน

เรยี นรู้ดา้ นการลดใชพ้ ลงั งาน

การจัดการขยะและอนุรักษ์

สิง่ แวดล้อมเพื่อเปน็ แหลง่ เรยี นรู้

และตัวอยา่ งรูปแบบผลติ ภัณฑ์

ท่เี ปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม เช่น

โรงงงานอตุ สาหกรรมสีเขยี ว

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 67

เป้าประสงค์ ตวั ช้วี ดั ขอ้ มลู ฐาน เปา้ หมาย ปี 2563-2565
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

5. สานกั งานคณะกรรมการ 5. นกั เรียน สถานศกึ ษามีการ n/a ทกุ คน ทุกคน ทกุ คน
n/a ทุกคน ทกุ คน ทกุ คน
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน และ เก็บข้อมูลเปรยี บเทยี บการด n/a ทุกแหง่ ทกุ แห่ง ทกุ แห่ง
n/a ทุกแหง่ ทกุ แห่ง ทุกแหง่
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ปรมิ าณคารบ์ อนไดออกไซด์ใน

โรงเรยี นทุกโรงเรียน ในสงั กัด การดาเนนิ กิจกรรมประจาวัน

มกี ารปรับปรุงและพฒั นาเป็น ในสถานศึกษาและที่บ้าน และ

หนว่ ยงานต้นแบบสานักงานสี ขอ้ มูลของ Carbon Footprint

เขยี ว (Green Office) เพ่ือให้ ในรปู แบบ QR CODE และ

มบี ริบทที่เป็นแบบอยา่ งเอ้ือ Paper less

หรือสนบั สนนุ การเรียนรขู้ อง 6. ครู มคี วามคดิ สร้างสรรค์
นักเรยี นและชมุ ชน
สามารถพฒั นาส่ือ นวัตกรรม
6. สถานศกึ ษาในสงั กดั มี และดาเนินการจดั ทางานวิจัย
นโยบายสง่ เสริมความรูแ้ ละ ด้านการสร้างสานกึ ด้านการผลิต
สรา้ งจิตสานึกและจดั การ และบรโิ ภคทเ่ี ป็นมติ รกับ
เรียนรู้การผลิตและบรโิ ภคท่ี สิ่งแวดล้อมได้
เป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม
7. สถานศกึ ษาต้นแบบนาขยะ 7. ครู และนักเรยี นสามารถนา
มาใช้ประโยชน์เพ่ือลดปรมิ าณ สือ่ นวัตกรรมทผ่ี ่านกระบวนการ
ขยะ คิดมาประยกุ ต์ใช้ในโรงเรยี น
8. มีสถานศึกษานวตั กรรม การจัดการเรยี นรู้ และ
ตน้ แบบในการนา 3RS มา ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันและ
ประยุกต์ใชใ้ นการผลิตและ ชมุ ชนได้ตามแนวทาง Thailand
บริโภคท่ีเป็นมิตรกับ 3.0
ส่ิงแวดลอ้ ม
9. สานกั งานเขตพ้ืนทีม่ ีการน 8. สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา
นโยบายการจดั ซือ้ จดั จ้างท่ี สถานศึกษามีการปรบั ปรุงและ
เปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม พัฒนาบคุ ลากร และสถานท่ี
ให้เปน็ สานกั งานสีเขียวตน้ แบบ
มีนโยบายการจดั ซื้อจดั จา้ งท่ี

เป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อมทเ่ี อ้ือ

ตอ่ การเรยี นรู้ของนักเรียนและ

ชมุ ชน

แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 68

เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวัด ขอ้ มูลฐาน เปา้ หมาย ปี 2563-2565
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

นโยบายท่ี 6 ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา

กลยทุ ธท์ ี่ 6 ปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา

1. สถานศกึ ษา หรอื กล่มุ 1. สถานศกึ ษาได้รบั การ ทุกแหง่ ทกุ แหง่ ทุกแหง่ ทกุ แห่ง
ทุกแห่ง ทุกแห่ง ทกุ แหง่ ทุกแหง่
สถานศึกษา มีความเป็นอสิ ระ กระจายอานาจการบริหารจัด
ทุกแหง่ ทุกแหง่ ทกุ แหง่ ทุกแห่ง
ในการบรหิ ารและจัด การศกึ ษาอยา่ งเป็นอสิ ระ ทกุ แหง่ ทกุ แหง่ ทุกแห่ง ทุกแห่ง

การศกึ ษาครอบคลุม ดา้ นการ 2. สถานศึกษา สานกั งาน

บรหิ ารวชิ าการ ด้านการ เขตพืน้ ที่การศึกษา ไดร้ บั การ
บรหิ ารงบประมาณ ดา้ นการ พฒั นาให้เปน็ หนว่ ยงานท่ีมีความ
บรหิ ารงานบคุ คล และด้าน ทนั สมัย ยดึ หยุน่ คลอ่ งตวั สงู

การบรหิ ารงานท่ัวไป พรอ้ มที่จะปรับตัวให้ทนั ต่อการ

2. สานกั งานเขตพ้ืนท่ี เปล่ียนแปลงของโลกอยู่

การศึกษา ตอ้ งปรบั เปลย่ี น ตลอดเวลา เป็นหนว่ ยงานที่มี

ใหเ้ ปน็ หนว่ ยงานให้มคี วาม หน้าที่สนบั สนนุ สง่ เสริม
ทนั สมยั พรอ้ มท่ีจะปรบั ตัวให้ ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพื่อให้
ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงของ สถานศกึ ษาสามารถจดั

โลกอยตู่ ลอดเวลา เปน็ การศึกษาไดอ้ ย่างมี

หน่วยงานทีม่ หี นา้ ทส่ี นับสนุน ประสิทธภิ าพครอบคลมุ
ส่งเสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม ทกุ ตาบล

เพ่อื ให้สถานศึกษาสามารถจัด 3. สถานศึกษา สานักงาน
การศึกษาได้อยา่ งมี
เขตพ้ืนท่ีการศึกษา นานวตั กรรม
ประสิทธภิ าพ
และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital
3. หนว่ ยงานทุกระดับ มีความ Technology) มาใช้ในการ
โปร่งใส ปลอดการทจุ ริตและ บริหารจดั การและตัดสินใจ
ประพฤตมิ ิชอบ บริหารจัดการ ท้งั ระบบ
ตามหลกั ธรรมาภบิ าล
4. หน่วยงานมีกระบวนการ 4. สถานศกึ ษาในสงั กดั
และวิธีงบประมาณด้าน สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
การศกึ ษาเพือ่ เพ่ิมคณุ ภาพ มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ ริต
และประสิทธภิ าพการจดั และประพฤติมชิ อบ บรหิ าร
การศึกษา โดยการจดั สรร จดั การหลักธรรมาภิบาล

งบประมาณตรงสู่ผู้เรยี น

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 69

เป้าประสงค์ ตัวช้วี ดั ข้อมลู ฐาน เปา้ หมาย ปี 2563-2565
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

5. หน่วยงานพัฒนานวัตกรรม 5. สถานศึกษา สานกั งาน ระดับ ระดบั ระดับ ระดับ
A AA AA AA
และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผ่านการ 95.30 95.95 96.15
91.22
Technology) มาใช้ในการ ประเมินคุณธรรมและความ ทุกแห่ง ทกุ แห่ง ทกุ แห่ง
n/a
เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ าร โปรง่ ใสในการดาเนินงานภาครัฐ ทกุ แหง่ ทุกแห่ง ทกุ แหง่
n/a
และการจดั การเรยี นการสอน (Integrity & Transparency

ย่างเปน็ ระบบ Assessment: ITA)

6. สถานศกึ ษาทุกแห่ง และ

สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

มรี ะบบฐานข้อมูลสารสนเทศ

วชิ าการ ผู้เรยี น ครู บุคลากร

ทางการศึกษา สถานศึกษา

หน่วยงานในสงั กัด

7. สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูล

ผูเ้ รยี นรายบุคคลท่สี ามารถ

เช่ือมโยงกับข้อมูลต่าง ๆ นาไปสู่

การวเิ คราะหเ์ พื่อวางแผนการ

จัดการเรียนร้สู ่ผู เู้ รยี นไดอ้ ย่างมี

ประสิทธิภาพ (Big Data

Technology)

8. สถานศึกษา สานกั งาน n/a ทกุ แห่ง ทกุ แหง่ ทกุ แห่ง

เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา

มแี พลตฟอร์มดจิ ิทลั (Digital

Platform) เพ่ือสนับสนุนภารกิจ

ดา้ นบริหารจัดการศึกษา

9. สถานศึกษาทุกแห่งมรี ะบบ n/a ทกุ แห่ง ทุกแหง่ ทุกแหง่

ข้อมูลสารสนเทศทีส่ ามารถใช้

ในการวางแผนการจดั การศึกษา

ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 70

ตารางแสดงความสอดคล้องเชื่อมโยงของแผ

ยุทธศาสตรช์ าติ ย.1 ดา้ นความม่ันคง ย.2 การสรา้ งความสามารถ ย.3 การพ
(พ.ศ. 2561 - ในการแขง่ ขัน เสริมสรา้ งศักยภ
ย.5 การเสริมสรา้ ง
2580) ความมัน่ คงแห่งชาตเิ พ่ือ ย.3 การสร้างความเขม้ แขง็ มนษุ
การพัฒนาประเทศสู่ ทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขันได้ ย.1 เสริมสรา้
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ความมัง่ ค่ังและยง่ั ยืน
และสังคมแห่งชาติ อยา่ งยง่ั ยืน ศกั ยภาพท
ย.1 การจดั การศกึ ษา ย.7 การพัฒนาโครงสร้าง
(ฉบบั ท่ี 12) เพอ่ื ความมั่นคงของ พน้ื ฐานและระบบโลจสิ ติกส์ ย.3 การพฒั น
(2560 - 2564) สังคมและประเทศชาติ ย.8 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ ทุกชว่ งวัย และก
เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ย.1 ด้านการจัด ย.9 การพฒั นาภาคเมือง และ แหง่ การ
พ.ศ.2560 - 2579 การศกึ ษาเพ่อื ความ
มนั่ คงของมนุษยแ์ ละ พน้ื ทเี่ ศรษฐกจิ ย.3 ด้านการ
นโยบายสานกั งาน ย.10 ความรว่ มมือระหวา่ ง เสริมสร้างศกั ยภ
คณะกรรมการการศึกษา ของชาติ
ประเทศเพื่อการพัฒนา มนษุ
ขน้ั พืน้ ฐาน ประจาปี ย.2 การผลติ และพัฒนา
งบประมาณ พ.ศ. 2563 กาลังคน การวิจยั และ
นวัตกรรมเพ่อื สรา้ งขดี
ความสามารถในการแข่งขัน

ของประเทศ
ย.2 ด้านการจดั การศึกษาเพือ่

เพ่มิ ความสามารถในการ
แขง่ ขันของประเทศ

นโยบายสานกั งาน ย.1 ด้านการจดั ย.2 ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพ่อื ย.3 ด้านการ
เขตพืน้ ท่ีการศึกษา การศึกษาเพอ่ื ความ เพิ่มความสามารถในการ เสรมิ สร้าง
ประถมศกึ ษาราชบรุ ี มน่ั คงของมนษุ ย์และ แขง่ ขนั ของประเทศ ทรพั ยาก
เขต 1 ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 ของชาติ

ผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ.2563 – 2565)

พัฒนาและ ย.4 การสรา้ งโอกาสและ ย.5 ด้านการสร้างเตบิ โตบน ย.6 ด้านการปรบั สมดุล
ภาพทรพั ยากร ความเสมอภาคทางสังคม คณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั และการพัฒนาระบบการ
ษย์
ย.2 การสร้างความเป็นธรรม สงิ่ แวดล้อม บรหิ ารจดั การภาครัฐ
างและพัฒนา และลดความเหลอื่ มล้า
ทุนมนุษย์ ในสังคม ย.4 การเติบโตท่ีเปน็ มติ รกับ ย.6 การบรหิ ารจดั การ
ส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ในภาครฐั การปอ้ งกัน
การทจุ รติ และประพฤติ
อย่างยงั่ ยืน มิชอบและธรรมาภิบาล

ในสงั คมไทย

นาศกั ยภาพ ย.4 การสร้างโอกาส ย.5 การจัดการศึกษาเพ่ือ ย.6 การพัฒนา
การสรา้ งสังคม ความเสมอภาคและความ สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิต ที่ ประสทิ ธิภาพของระบบ
รเรยี นรู้ เทา่ เทียมทางการศกึ ษา บริหารจดั การศึกษา
เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม

รพฒั นาและ ย.4 ดา้ นการสรา้ งโอกาสใน ย.5 ด้านการจดั การศกึ ษาเพ่ือ ย. 6 ดา้ นการปรับสมดุล
ภาพทรพั ยากร การเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษา พฒั นาคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตร และพฒั นาระบบการบรหิ าร
ษย์ ท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและ
กบั ส่งิ แวดลอ้ ม จดั การศกึ ษา
รพัฒนาและ ลดความเหล่ือมล้า
งศักยภาพ ทางการศึกษา ย.5 ด้านการจดั การศึกษาเพอ่ื ย. 6 ดา้ นการปรบั สมดุล
กรมนุษย์ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มติ ร และพฒั นาระบบการบรหิ าร
ย.4 ด้านการสรา้ งโอกาสใน
การเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษา ท่ี กบั ส่ิงแวดลอ้ ม จดั การศกึ ษา
มีคณุ ภาพ มีมาตรฐานและลด
ความเหลื่อมล้าทางการศึกษา

สว่ นที่ 4

โครงการและงบประมาณ

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ประกอบด้วย นโยบาย 6 นโยบาย 6 กลยุทธ์ และโครงการท่ีสนองนโยบาย
และกลยทุ ธข์ องสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ดังตอ่ ไปน้ี

(หน่วย : ลา้ นบาท : ทศนิยม 4 ตาแหน่ง)

ที่ นโยบาย จานวนโครงการ งบประมาณ

1 นโยบายท่ี 1 ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพื่อความมนั่ คงของ 5 โครงการ 4.0890
5.4600
มนุษย์และของชาติ 4.2040
0.5280
2 นโยบายที่ 2 ด้านการจัดการศกึ ษาเพ่ือเพิ่มความสามารถ 3 โครงการ
0.3300
ในการแข่งขันของประเทศ 2.0704
16.6814
3 นโยบายท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพ 6 โครงการ

ทรพั ยากรมนษุ ย์

4 นโยบายท่ี 4 ด้านการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการ 4 โครงการ

การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ มมี าตรฐาน และลดความเหล่อื มล้า

ทางการศึกษา

5 นโยบายท่ี 5 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต 1 โครงการ

ท่เี ป็นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม

6 นโยบายที่ 6 ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร 6 โครงการ

จดั การศึกษา

รวมโครงการ/ งบประมาณทั้งส้ิน 25 โครงการ

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 72

รายละเอียดโครงการตามแผนพฒั นากา
สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษ

นโยบายที่ 1 ดา้ นการจดั การศึกษาเพ่อื ความมัน่ คงของมนุษยแ์ ละของช
กลยทุ ธท์ ่ี 1 จดั การศึกษาเพ่ือความมน่ั คงของมนษุ ยแ์ ละของชาติ

เป้าประสงค์ ตวั ช้วี ัด โครงการ/

1. ผู้เรียนทุกคนมีพฤติกรรม 1. ร้อยละของผู้เรียนท่มี ี 1. โครงการ “ค่ายเย

ที่แสดงออกถงึ ความรกั ใน พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถึง เฉลมิ พระเกียรติ 60

สถาบนั หลักของชาติยึดมน่ั ความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ สมเดจ็ พระเทพรตั นร

การปกครองระบอบ ยดึ มน่ั การปกครองระบอบ ราชกุมารี ปีท่ี 6

ประชาธิปไตยอันมี ประชาธิปไตย อันมี กจิ กรรม

พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ พระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข กจิ กรรมท่ี 1 ครแู กนน

ประมุข หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง

และสตั วป์ า่ ราชบรุ ี อ.

กิจกรรมที่ 2 อบรมค

รกั ษ์พงไพร” ณ ศนู ยศ์

ปา่ ราชบรุ ี (อา่ งเก็บน้า

จ. ราชบรุ ี

กิจกรรมที่ 4 นาเสนอ

"สสี ันพรรณไม้ เทิดไท

คร้ังที่ 13 ณ สวนสมเ

จงั หวดั อุทยั ธานี

ารศึกษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ. 2563 - 2565)
ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1

ชาติ

(หน่วย : ลา้ นบาท : ทศนิยม 4 ตาแหน่ง)

ประมาณการงบประมาณปที ด่ี าเนินการ ผูร้ ับ
ผิดชอบ
/กจิ กรรมหลกั ปี ปี ปี รวม
2563 2564 2565 นิเทศ
ยาวชน....รกั ษพ์ งไพร” ติดตามฯ
0 พรรษา 0.2700 0.2750 0.2800 0.8250
ราชสุดาฯ สยามบรม

นาเข้ารว่ มอบรมกบั
ณ ศูนย์ศกึ ษาธรรมชาติ
สวนผงึ้ จ. ราชบุรี
คา่ ยนกั เรียน “เยาวชน..
ศึกษาธรรมชาติและสัตว์
าหว้ ยอะนะ) อ. สวนผง้ึ

อนทิ รรศการและร่วมงาน
ท้ บรมราชนิ ีนาถ"
เดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ฯิ์

นโยบายที่ 1 (ต่อ)

เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ดั โครงกา

2. ผู้เรียนทกุ คนมที ัศนคติ 2. ร้อยละของผเู้ รยี นทมี่ ีพฤตกิ รรม 2. โครงการราชบุรีเม

ทด่ี ีต่อบ้านเมือง มหี ลกั คดิ ที่แสดงออกถงึ การมที ัศนคตทิ ดี่ ตี อ่ กจิ กรรม

ท่ีถูกต้องเปน็ พลเมอื งดี บ้านเมอื ง มีหลักคดิ ท่ถี กู ต้องเปน็ กิจกรรมที่ 1 ประชมุ

ของชาติ มคี ุณธรรม พลเมืองดีของชาติ มคี ณุ ธรรม “การปฏบิ ัตทิ ี่ดี (Best

จริยธรรม มีค่านยิ ม จริยธรรม มคี ่านิยมทพี่ ึงประสงค์ ความดี ราชบุรีเทดิ ไท

ที่พึงประสงค์ มีจติ มีคณุ ธรรม อัตลกั ษณ์ มจี ติ กิจกรรมที่ 2 จดั สรร

สาธารณะมจี ิตอาสา สาธารณะ มจี ิตอาสา รบั ผดิ ชอบ ในโครงการกองทนุ กา

รบั ผิดชอบต่อครอบครัว ตอ่ ครอบครัว ผู้อ่ืน ชมุ ชน และ โรงเรยี น ๆ ละ 50,00

ชมุ ชน สังคม และ สังคมโดยรวม ซอ่ื สตั ย์ สุจริต กจิ กรรมที่ 3 จัดสรร

ประเทศชาติ มธั ยัสถ์ มัธยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี โรงเรยี นเพอ่ื ดาเนินกา

อดออม โอบออ้ มอารี มวี นิ ยั และรกั ษาศีลธรรม สถานศกึ ษาแหง่ ความ

มวี นิ ัย และรกั ษาศีลธรรม ระดับเครือขา่ ย จานว

20,000 บาท

กิจกรรมที่ 4 ประเมนิ

“การปฏิบตั ทิ ดี่ ี (Best

แห่งความดี ราชบรุ ีเท

เมืองแห่งความจงรักภ

กิจกรรมท่ี 5 สถานศึก

รับมอบรางวัล “การป

สถานศกึ ษาแหง่ ความ

และราชบรุ ีเมืองแห่งค

(หนว่ ย : ล้านบาท : ทศนิยม 4 ตาแหน่ง)

ประมาณการงบประมาณปีทด่ี าเนนิ การ ผรู้ ับ
ผดิ ชอบ
าร/กิจกรรมหลกั ปี ปี ปี รวม
2563 2564 2565 นเิ ทศ
มืองวถิ ีพอเพียงท่ียั่งยนื ติดตามฯ
0.4700 0.4800 0.4900 1.4400
มสมั มนาสถานศึกษาโครงการ
t Practice) สถานศกึ ษาแห่ง
ท้องค์ราชนั ”
รงบประมาณให้โรงเรียน
ารศกึ ษาตน้ แบบ จานวน 3
00 บาท
รงบประมาณให้เครือขา่ ย
ารคดั เลือกโรงเรยี น
มดี เพือ่ เปน็ โรงเรยี นตน้ แบบ
วน 9 เครอื ขา่ ย ๆ ละ

นผลดาเนนิ งานและคัดเลือก
t Practice) สถานศกึ ษา

ทดิ ไทอ้ งค์ราชนั และราชบุรี
ภกั ดี”
กษาทผ่ี า่ นเกณฑร์ ะดบั ต่างๆ
ปฏบิ ัติทด่ี ี (Best Practice)
มดี ราชบรุ ี เทดิ ไท้องค์ราชนั
ความจงรกั ภักดี”

นโยบายที่ 1 (ตอ่ )

เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวดั โค

3. ผูเ้ รียนทกุ คนมีความรู้ 3. ร้อยละของผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ 3. โครงก

ความเขา้ ใจ และมีความพรอ้ ม และมีความพร้อมสามารถรบั มือกับภยั จริยธรรม

สามารถรบั มือกบั ภยั คกุ คาม คกุ คามทุกรูปแบบทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ความ ในสถานศ

ทุกรูปแบบท่มี ผี ลกระทบต่อความ มัน่ คง เช่น ภัยจากยาเสพตดิ ความ กิจกรรม

มัน่ คง เชน่ ภัยจากยาเสพตดิ รนุ แรง การคุกคามในชวี ติ และทรพั ย์สนิ กิจกรรมท

ความรนุ แรงการคกุ คามในชีวติ การคา้ มนุษย์ อาชญากรรม ไซเบอร์ และ ดาเนินงาน

และทรพั ย์สนิ การคา้ มนษุ ย์ ภยั พิบตั ติ ่าง ๆ กจิ กรรมท

อาชญากรรมไซเบอร์ และภยั พบิ ัติ ผูอ้ านวยก

ตา่ ง ๆ หรือครูหวั

ต้านทุจรติ

และเจ้าหน

กจิ กรรมท

การเรยี นก

4. โครงก

ยาเสพติด

กิจกรรม

กจิ กรรม

ยาเสพติดแ

(หน่วย : ล้านบาท : ทศนยิ ม 4 ตาแหน่ง)

ประมาณการงบประมาณปที ดี่ าเนนิ การ ผ้รู ับ
ผดิ ชอบ
ครงการ/ กจิ กรรมหลัก ปี ปี ปี รวม
2563 2564 2565
การเสริมสรา้ งคณุ ธรรม
มและธรรมมาภบิ าล 0.0770 0.0780 0.0790 0.2340 นิเทศ
ศกึ ษา
ติดตามฯ

ที่ 1 ประชุมคณะกรรมการ 0.2000 0.2000 0.2000 0.6000 ส่งเสรมิ
นและวิทยากร และเจา้ หน้าที่ การจดั
ที่ 2 อบรมเชิงปฏิบตั ิการ การศกึ ษา
การสถานศกึ ษา และครูวิชาการ
วหนา้ โครงการ ทสี่ อนหลกั สูตร
ตศกึ ษา ผ้เู ขา้ อบรม วิทยากร
น้าที่
ที่ 3 นเิ ทศติดตามการจดั
การสอน
การปฏิบตั ธิ รรมสร้างภมู คิ มุ้ กัน
ดและอบายมขุ

มปฏิบัตธิ รรมสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั
และอบายมุข

นโยบายท่ี 1 (ต่อ) ตวั ชีว้ ดั โครงกา

เปา้ ประสงค์ 5. โครงการเฝ้าระว
ยาเสพติดในสถาน
กจิ กรรม
กิจกรรมท่ี 1 อบรม
กิจกรรมที่ 2 คา่ ยท
พชิ ิตปญั หา”

รวมงบประมาณนโยบายท่ี 1

(หน่วย : ลา้ นบาท : ทศนยิ ม 4 ตาแหน่ง)

ประมาณการงบประมาณปที ดี่ าเนินการ ผรู้ ับ
ผิดชอบ
าร/ กิจกรรมหลกั ปี ปี ปี รวม
2563 2564 2565 สง่ เสรมิ
วงั และแก้ไขปัญหา การจดั
นศึกษา 0.3200 0.3300 0.3400 0.9900 การศึกษา

มลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพตดิ
ทกั ษะชวี ิต “ปลุกพลงั KID

1.3370 1.3630 1.3890 4.0890

นโยบายท่ี 2 ดา้ นการจัดการศึกษาเพอ่ื เพมิ่ ความสามารถในการแข่งขนั
กลยทุ ธท์ ่ี 2 จดั การศกึ ษาเพ่ือเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของป

เปา้ ประสงค์ ตวั ชวี้ ัด โครงก

1. ผูเ้ รียนทกุ ระดับมีความ 1) จานวนผเู้ รยี นมคี วามสามารถ 1. โครงการยกระด

เปน็ เลศิ มที กั ษะท่ีจาเปน็ เปน็ เลศิ ทางดา้ นวชิ าการ มที ักษะ ภาษาองั กฤษเพ่อื ผ

ในศตวรรษที่ 21 ความรู้ทส่ี อดคลอ้ งกับทกั ษะท่ี และการส่อื สาร พัฒ

2. ผูเ้ รยี นมีความเป็นเลิศตาม จาเป็นในศตวรรษที่ 21 กจิ กรรม

ความถนัด และความสนใจ 2) ผเู้ รียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น กิจกรรมท่ี 1 จัดอบ

นาไปส่กู ารพัฒนาทกั ษะ ผา่ นการประเมินสมรรถนะท่จี าเปน็ สคู่ วามเป็นมาตรฐา

วิชาชพี เปน็ นกั คดิ เปน็ ผู้สร้าง ด้านการรูเ้ ร่ืองการอ่าน (Reading (Leadership Deve

นวัตกรรม เป็นนวตั กร Literacy) ด้านการรูเ้ รอ่ื ง กจิ กรรมที่ 2 จดั อบ

3. ผู้เรียนไดร้ บั โอกาสเขา้ สู่ คณิตศาสตร์ (Mathematical การเรยี นรภู้ าษาต่าง

เวทีการแขง่ ขันระดบั นานาชาติ Literacy) และดา้ นการรู้เร่ือง (ภาษาองั กฤษ)

วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) กจิ กรรมที่ 3 สารว

ตามแนวทางการประเมิน PISA สถานทท่ี ต่ี ้องการ ไ

3) รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีมีศกั ยภาพ Boot Camp ท่ีสว่ น

ได้รับโอกาสเขา้ สู่เวทกี ารแข่งขนั กจิ กรรมที่ 4 การเพ

ระดบั นานาชาติ การสอนของครูผสู้ อ

ภาษาตา่ งประเทศแ

การเรยี นการสอนภ

(Primary Educatio

Center : PEER Ce

นของประเทศ (หนว่ ย : ลา้ นบาท : ทศนิยม 4 ตาแหนง่ )
ประเทศ
ประมาณการงบประมาณปที ดี่ าเนนิ การ ผู้รบั
การ/ กจิ กรรมหลัก ผิดชอบ
ปี ปี ปี รวม
ดับมาตรฐานการเรยี นรู้ 2563 2564 2565
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ฒนาคณุ ภาพชวี ติ ในยคุ ดิจิทัล 0.4800 0.4900 0.5000 1.4700 นิเทศ

ติดตามฯ

บรมพัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
านสากลและผูน้ าองคก์ ร
elopment Program)
บรมพฒั นาครูผูส้ อนกลุม่ สาระ
งประเทศทจี่ บไม่ตรงวชิ าเอก

วจความต้องการของครู และ
ไปศกึ ษาดงู าน หรอื ศกึ ษาอบรม
นกลางกาหนด
พ่มิ สมรรถนะการจัดการเรยี น
อนกลุม่ สาระการเรยี นรู้
และเลขานุการศูนย์พัฒนา
ภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษา
on English Resource
enter)

นโยบายท่ี 2 (ต่อ) ตัวช้วี ดั โครงการ/ กจิ

เป้าประสงค์ 2. โครงการการขบั เคลอ่ื นการ
สะเต็มศึกษาเพอ่ื การพฒั นาท
กจิ กรรม
1. อบรมครูด้วยระบบทางไกล
นกั เรียนอยา่ งมีคณุ ภาพด้วยกา
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทค
2. นเิ ทศ ตดิ ตามการจัดการเรยี
ศึกษา (STEM Education)
3. จัดกจิ กรรมแลกเปลีย่ นเรียน
นาเสนอผลงาน STEM PROJE
3. โครงการการแข่งขนั งานศ
กจิ กรรม
1. เขา้ รว่ มกิจกรรมการแขง่ ขนั
ครั้งที่ 69 ปีการศึกษา 2562
(ภาคกลางและภาคตะวนั ออก)
สมทุ รปราการ

(หนว่ ย : ล้านบาท : ทศนิยม 4 ตาแหน่ง)

ประมาณการงบประมาณปีทด่ี าเนนิ การ ผ้รู บั
ผิดชอบ
จกรรมหลัก ปี ปี ปี รวม
2563 2564 2565 นเิ ทศ
รจัดการเรยี นการสอน ติดตามฯ
ทย่ี ัง่ ยนื 0.1400 0.1500 0.1600 0.4500

ล สสวท. (การพฒั นา
ารจดั ประสบการเรยี นรู้
คโนโลยี และสะเต็มศกึ ษา
ยนร้ตู ามแนวทางสะเตม็

นรู้ STEM FESTIVAL 1.1400 1.2000 1.2000 3.5400 ส่งเสริมการจัด
ECT การศกึ ษา
ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น

นศิลปหตั ถกรรมนักเรียน
2 ในระดับชาติ: ภูมิภาค
) ณ จงั หวดั

นโยบายที่ 2 (ต่อ) ตัวช้วี ัด โครงการ/ กจิ

เป้าประสงค์

2. จัดสรรงบประมาณใหเ้ ครือข
เครือขา่ ย เพ่อื ดาเนนิ การจดั กจิ
วิชาการ ดนตรี ศลิ ปะการแสด
กจิ กรรมส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย
นกั เรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมในเคร
3. จดั ประชมุ คณะกรรมการดา
ตดั สินและจัดกจิ กรรมพัฒนาท
พน้ื ท่กี ารศกึ ษาในระดบั ปฐมวยั
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ในกล่มุ สาร
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั ค
ภาษาตา่ งประเทศ สขุ ศึกษาแล

รวมงบประมาณนโยบายท่ี 2

(หน่วย : ล้านบาท : ทศนยิ ม 4 ตาแหน่ง)

ประมาณการงบประมาณปีทดี่ าเนนิ การ ผรู้ ับ
ผิดชอบ
จกรรมหลกั ปี ปี ปี รวม
2563 2564 2565
ข่ายการศึกษา จานวน 9
จกรรมพัฒนาทกั ษะ
ดง การใช้เทคโนโลยี
ยในโรงเรยี นโดยมีครแู ละ
รือข่าย ๆ ละ 500 คน
าเนินงาน/ คณะกรรมการ
ทักษะวชิ าการในระดบั เขต
ย ประถมศกึ ษาและ
ระการเรียนรูภ้ าษาไทย
คมศึกษา
ละพลศึกษา ศิลปะ ดนตรี

1.7600 1.8400 1.8600 5.4600

นโยบายท่ี 3 ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์

เปา้ ประสงค์ ตวั ชีว้ ดั โคร

1. หลักสตู รปฐมวยั และหลักสูตร 1. ผเู้ รียนทุกระดบั มีสมรรถนะสาคญั ตาม 1. โครงก

แกนกลางการศกึ ษา ขนั้ พื้นฐาน หลกั สตู ร มีทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษ มาตรฐาน

มีการพฒั นาที่สอดคล้องกับ ที่ 21 (3R8c) กจิ กรรม

แนวโนม้ การพัฒนาของประเทศ 2. ร้อยละของผเู้ รยี นช้นั ประถมศกึ ษา กจิ กรรมท

2. ผ้เู รยี นได้รบั การพัฒนาตาม ปที ี่ 3 ทีม่ ีคะแนนผลการทอสอบ คณะกรรม

จดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตร และมี ความสามารถพ้ืนฐานระดบั ชาติ (NT) พฒั นาการ

ทกั ษะความสามารถทสี่ อดคล้อง ผ่านเกณฑท์ ่ีกาหนด การศึกษา

กับทักษะทจ่ี าเปน็ ในศตวรรษท่ี 3. รอ้ ยละของผ้เู รียนทีม่ ีคะแนนผล พุทธศกั รา

21 มคี วามยดื หย่นุ ทางดา้ น การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษ

ความคดิ สามารถทางานร่วมกบั ข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) มากกวา่ กจิ กรรมท

ผู้อ่ืนได้ ภายใต้สังคมท่ีเปน็ พหุ รอ้ ยละ 50 ในแตล่ ะวชิ าเพมิ่ ขน้ึ นักเรียนท

วฒั นธรรม รวมถงึ การวางพ้นื ฐาน จากปกี ารศกึ ษาทผี่ า่ นมา ปฐมวัย พ

การเรยี นรเู้ พอ่ื การวางแผนชีวิต ปีการศึกษ

ทีเ่ หมาะสมในแต่งละชว่ งวัยและ กิจกรรมท

นาไปปฏบิ ัตไิ ด้

(หนว่ ย : ลา้ นบาท : ทศนยิ ม 4 ตาแหนง่ )

ประมาณการงบประมาณปที ดี่ าเนนิ การ ผู้รบั
ผิดชอบ
รงการ/กิจกรรมหลกั ปี ปี ปี รวม
2563 2564 2565 นเิ ทศ
การพฒั นาคุณภาพ ติดตามฯ
นการศึกษาปฐมวัย 0.2600 0.2700 0.2800 0.8100

ที่ 1 ประชุม
มการการประเมนิ
รนักเรียนทจี่ บหลกั สตู ร
าปฐมวยั
าช 2560
ษา 2562
ท่ี 2 ประเมินพัฒนาการ
ท่ีจบหลักสูตรการศกึ ษา
พุทธศักราช 2560
ษา 2562
ท่ี 3 สรปุ และรายงานผล

นโยบายที่ 3 (ต่อ)

เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด โคร

3. ผู้เรยี นทุกคนได้รับการพฒั นา 4. รอ้ ยละของผู้เรียนท่จี บการศกึ ษา 2. โครงก

ใหม้ ีความร้แู ละทกั ษะนาไปสูก่ าร ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ช้ันมัธยมศึกษา สถานศกึ ษ

พฒั นานวตั กรรม ปีท่ี 3 มีทกั ษะการเรียนรทู้ เี่ ชื่อมโยง ท้องถิ่นแล

4. ผู้เรยี นได้รบั การพัฒนาเต็มตาม สู่อาชีพและการมีงานทา ตามความถนดั เรียนรู้ทีส่ อ

ศกั ยภาพ เช่ือมโยงสูอ่ าชพี และ และความต้องการของตนเอง มที กั ษะ แห่งศตวร

การมีงานทา มที ักษะอาชพี อาชพี ท่ีสอดคล้องกับความตอ้ งการ ของ กจิ กรรม

ที่สอดคล้องกับความต้องการ ประเทศ วางแผนชวี ติ และวางแผน กจิ กรรมท

ของประเทศ ทางการเงนิ ท่ีเหมาะสมและนาไปปฏบิ ัตไิ ด้ หลักสูตรส

5. ผเู้ รียนได้รบั การพัฒนาใหม้ ี 5. ผเู้ รียนทุกคนมที ักษะพน้ื ฐานในการ แกนกลาง

ศกั ยภาพในการจัดการสขุ ภาวะ ดารงชีวติ สามารถดารงชีวติ อยู่ในสังคมได้ พทุ ธศักรา

ของตนเองให้มสี ขุ ภาวะท่ีดี อย่างมีความสุข มีความยดึ หยนุ่ ปรบั ปรุง พ

สามารถดารงชีวติ อย่างมีความสขุ ทางดา้ นความคิด สามารถทางานรว่ มกบั กิจกรรที่ 2

ทง้ั ด้านรา่ งกายและจิตใจ ผอู้ น่ื ได้ ภายใต้สังคมที่เปน็ พหวุ ฒั นธรม จดั การเรยี น

6. ครู เปลีย่ นบทบาทจาก 6. ผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพในการจัดการ แหง่ ศตวร

“ครูผสู้ อน” เปน็ “Coach) สขุ ภาวะของตนเองให้มสี ขุ ภาวะท่ดี ี กิจกรรมท

ผูใ้ ห้คาปรึกษาข้อเสนอแนะ สามารถดารงชีวติ อยา่ งมีความสขุ ท้งั ด้าน เทคนิค/วิธ

การเรยี นร้หู รอื ผู้อานวยการ รา่ งกายและจิตใจ ด้านทักษะ

การเรยี นรู้ ตามบรบิ ทข


Click to View FlipBook Version