The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dlictrbr1, 2021-03-29 03:37:07

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

plan1

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

(พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑

กระทรวงศึกษาธิการ
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑

กลุมนโยบายและแผน
เ อกสารลาํ ดั บที่ ๓/๒๕๖๓

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน

(พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)

สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑

กระทรวงศึกษาธิการ
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต ๑

กลุมนโยบายและแผน

คานา

สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางที่ตั้งอยู่
ในภูมิภาค ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มีหน้าที่ตาม
กฎหมาย ในการจัดการและส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดังนั้น การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา
จึงเป็นภารกิจท่ีสาคัญอันดับแรก เพราะแผนเป็นเครื่องมือในการกาหนดทิศทางของการพัฒนาการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สอง กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
และนโยบายของรฐั บาลปจั จุบนั

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2563 – 2565) ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จัดทาขึ้นเพ่ือกาหนดกรอบทิศทางการปฏิบัติราชการในระยะ 3 ปี
ให้สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ
สภาพปัจจุบันของสังคมไทย บนพื้นฐานของภารหน้าท่ีหลักของเขตพื้นที่การศึกษา คือ ดาเนินการบริหาร
จดั การใหป้ ระชากรวยั เรยี นในพื้นที่รับผิดชอบได้เข้าเรียน ได้รับบริการการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างทั่วถึงและ
มคี ณุ ภาพ และเพ่อื ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ทีเ่ ปลยี่ นแปลงแนวคดิ ในการบริหารจดั การศกึ ษา

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จึงได้ปรับทิศทางการพัฒนา
ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไป จึงหวังว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการผลักดันให้มี
การจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานอยา่ งเป็นรปู ธรรมเพื่อไปสเู่ ป้าหมายแห่งความสาเร็จ

สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

มกราคม 2563

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 ก

สารบัญ

หน้า

คานา ก

สารบญั ข

สารบัญตาราง ค

บทสรปุ ผบู้ ริหาร จ

สว่ นท่ี 1 บทนา 1
1
สภาพทวั่ ไปของสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 2
สภาพการจดั การศกึ ษา 8
สถานการณ์และแนวโน้มด้านเศรษฐกจิ สงั คม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 14
ขอ้ มูลพน้ื ฐานดา้ นการศึกษาสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
30
ส่วนที่ 2 บรบิ ทท่เี ก่ยี วขอ้ งดา้ นการศึกษา 30
31
ศาสตร์พระราชา 35
หลกั การทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 9 36
พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในรชั กาลที่ 10 39
ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 40
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 43
นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ 45
แผนพัฒนาจังหวัดราชบรุ ี พ.ศ. 2561 – 2565
นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ประจาปีงบประมาณ 48

พ.ศ. 2563 50
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 50
51
ส่วนที่ 3 สาระสาคญั ของแผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2563 - 2565) 62
71
วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ คา่ นิยมองคก์ ร เปา้ ประสงค์
นโยบายสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 72
เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ัด และคา่ เป้าหมาย
ตารางแสดงความสอดคล้องเชือ่ มโยงของแผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 96

(พ.ศ. 2563 - 2565) 98
100
ส่วนท่ี 4 โครงการและงบประมาณ

ส่วนท่ี 5 กลไกการขับเคลอื่ นแผนพฒั นาการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ภาคผนวก

คาสง่ั แตง่ ตั้งคณะทางาน
คณะผูจ้ ัดทา

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 ข

สารบัญตาราง

หนา้

ตารางที่ 1 แสดงดชั นีราคาผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด 8
ตารางที่ 2 แสดงจานวนประชากรจาแนกตามสถานภาพแรงงาน ปีพ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕60 10
ตารางท่ี 3 แสดงจานวนตาแหน่งงาน ผูส้ มคั รงาน และการบรรจุงานปีพ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕60 10
ตารางท่ี 4 แสดงปริมาณขยะมลู ฝอย ในจังหวัดราชบรุ ี ปพี .ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๙ 13
ตารางที่ 5 จานวนนักเรียน จาแนกตามระดับ และเพศ สงั กัด สพฐ. ปีการศึกษา 2562 14
ตารางที่ 6 จานวนนักเรียน สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 15

จาแนกรายอาเภอและระดบั ช้ัน ปีการศึกษา 2562 16
ตารางที่ 7 จานวนโรงเรยี น ครู นักเรยี น ปีการศกึ ษา 2562 จาแนกรายอาเภอ สงั กัด สพฐ. 16
ตารางที่ 8 จานวนนกั เรียนต่อครู จาแนกรายอาเภอ ปกี ารศกึ ษา 2562 16
ตารางที่ 9 จานวนนกั เรียนตอ่ ห้อง จาแนกรายอาเภอ ปีการศึกษา 2562 17
ตารางที่ 10 จานวนสถานศกึ ษา (ในระบบ) ทกุ สงั กัด จาแนกตามสงั กดั ปีการศึกษา 2562 17
ตารางที่ 11 จานวนโรงเรียนขนาดเล็ก จาแนกเปน็ รายอาเภอ ประจาปี 2562 18
ตารางท่ี 12 จานวนสถานศึกษาสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
19
จาแนกตามขนาด 7 ขนาด
ตารางที่ 13 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนจากการทดสอบระดับชาติขัน้ พื้นฐานชั้นประถมศึกษา 20

ปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2561 ระดับประเทศและระดบั เขตพน้ื ที่ 21
ตารางท่ี 14 เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ของนักเรยี นจากการทดสอบระดับชาติขัน้ พ้ืนฐานชั้นประถมศึกษา
22
ปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2561 ระดบั สงั กดั และระดบั เขตพน้ื ท่ี
ตารางที่ 15 เปรียบเทียบผลการประเมินระดับชาติ (O - NET) นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ระดับ 23

เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ปีการศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2560 และ 24
ปีการศกึ ษา 2561 สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
ตารางที่ 16 ผลสัมฤทธิข์ องนกั เรยี นจากการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน ชัน้ ประถมศึกษา 25
ปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561 เรียงตามลาดับคะแนนเฉลี่ย 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้
มากไปหาคะแนนนอ้ ย ระดับเครอื ขา่ ย 26
ตารางที่ 17 เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561 ระดับประเทศและเขตพน้ื ท่ี
ตารางที่ 18 เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2561 ระดบั สังกัดและระดับเขตพน้ื ท่ี
ตารางท่ี 19 เปรียบเทยี บผลการประเมนิ ระดับชาติ (O - NET) นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3
ปีการศึกษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560 และปกี ารศึกษา 2561 ระดับเขตพืน้ ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
ตารางท่ี 20 เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดับชาติ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3
ปกี ารศึกษา 2561 ระดบั ประเทศและระดบั เขตพ้นื ท่ี

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 ค

สารบัญตาราง (ต่อ)

หน้า

ตารางที่ 21 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดับชาติ ชน้ั ประถมศึกษา 27
ปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2559 - 2561 ระดบั เขตพื้นที่ 28

ตารางท่ี 22 ผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT) 29
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2561 ระดบั สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1

ตารางท่ี 23 ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2561 เครือขา่ ยพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 ง

บทสรปุ ผู้บรหิ าร

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2563 – 2565) ท่ีสอดคล้องกับภารกิจ บริบทขององค์กร และนโยบายทุกระดับ
เน้นการมีส่วนร่วม โดยมกี ระบวนการ ขน้ั ตอน ในการดาเนนิ งาน ดงั นี้

1. มีการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการจาเป็นของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ
ความต้องการจาเป็นของนโยบายในแต่ละระดับ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ของ
กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ยุทธศาสตร์ภาค และ
ยุทธศาสตร์จังหวัด เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องเป็นไปตามความต้องการจาเป็นของหน่วยงาน และความ
ต้องการจาเป็นในการพัฒนาการศึกษาในทุกระดับ เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการวางแผนของสานักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา

2. มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ จุดเด่น จุดด้อย
โอกาส อุปสรรคต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กร ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่จะช่วยให้สามารถวางแผน
ดาเนนิ การได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ทาใหก้ ารดาเนินงานของสานักงาน มีทิศทางท่ีถูกต้อง สามารถนาจุดแข็ง
ของสานักงาน และโอกาสทางสภาพแวดล้อมมาใช้ประโยชน์เพื่อการบรรลุเป้าหมาย ในขณะท่ีจุดอ่อน
ซึ่งเป็นคุณลักษณะภายในท่ีอาจจะทาลายผลการดาเนินงานและอุปสรรคทางสภาพแวดล้อมซึ่งจะเป็น
สถานการณ์ที่ขัดขวางการบรรลุเป้าหมายขององค์กร จะได้รับการแก้ไขได้ทันท่วงที ผลจากการวิเคราะห์
SWOT น้ีจะใช้เป็นแนวทางในการกาหนดวิสัยทัศน์ การกาหนดกลยุทธ์ เพ่ือให้องค์กรเกิดการพัฒนา
ไปในทางที่เหมาะสม

3. มีการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ. 2563 – 2565) โดยมีการศึกษา
สภาพปัญหา และความต้องการของเขตพ้ืนที่การศึกษา รวมทั้งนโยบาย จุดเน้นของหน่วยงานระดับสูง
กาหนดกิจกรรม ผ้รู บั ผิดชอบ ดาเนนิ การกาหนดตวั ช้วี ดั ผลงาน และเป้าหมาย ระบุความต้องการทรัพยากร
ที่มีผลต่อความสาเร็จของเป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือกาหนดทิศ
ทางการบริหารงานให้ประสบความสาเร็จ มีทิศทางในการบริหารแผน โดยใช้วัตถุประสงค์ นโยบาย
เป้าหมาย กลยุทธ์ เป็นตัวกาหนดเพื่อมุ่งไปสู่ความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีวางไว้ ตลอดจนใช้แผนพัฒนา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2563 – 2565) เป็นเครื่องมือสาหรับควบคุม ติดตาม และตรวจสอบผลการ
ดาเนนิ งานเพอื่ จะได้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั มาปรบั ปรุงวธิ ีการบริหารจดั การต่อไป

จากการดาเนินงานตามกระบวนการวางแผนแบบมีสว่ นรว่ มดงั กล่าว ทาใหเ้ กดิ ผลดงั น้ี
1. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(พ.ศ. 2563 – 2565) ในการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาครอบคลมุ ภารกจิ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ยุทธศาสตร์ภาค และยทุ ธศาสตร์จังหวัดราชบุรี
2. แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2563 – 2565) ของสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เป็นแผนท่ีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมเปิดโอกาสให้บุคลากรและ
สถานศึกษาเสนอโครงการตามความตอ้ งการพฒั นาท่สี อดคลอ้ งกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนโยบายของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ที่เกิดผลแก่
ผเู้ รียนอยา่ งแทจ้ ริง

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 จ

3. สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 มที ศิ ทางการดาเนนิ งานทีช่ ัดเจน
4. แผนงาน/ โครงการมีความชัดเจนในวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการพัฒนา
5. มีการกาหนดและมอบหมายภารกิจความรับผิดชอบในโครงสร้างการบริหารแผนงาน/
โครงการ ชัดเจน
6. แผนงาน/ โครงการมรี ะบบการกากบั ติดตาม ประเมินผลและรายงาน เป็นระยะๆ ต่อเน่ือง
7. สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 สามารถนาแผนไปสกู่ ารปฏิบัตไิ ด้
อย่างเปน็ รปู ธรรมและมีประสิทธิภาพ
8. บุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ได้รับการถ่ายทอด
วสิ ัยทัศน์ และมคี วามผูกพนั ท้งั ระดบั นโยบาย และระดับปฏิบัติ

ปญั หา อปุ สรรคในการจดั ทาแผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2563 -2565)

การดาเนินงานจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2563 -2565) มีการปรับ
แผนงาน/ โครงการหลายครั้งเนื่องจากมีการปรับแผนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และข้อจากดั ด้านงบประมาณ และระยะเวลาในการดาเนนิ งาน

ข้อเสนอแนะ

ควรมีการแจ้งกรอบวงเงินงบประมาณท่ีจะจัดสรรในแต่ละยุทธศาสตร์ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ
เพื่อใหส้ ามารถกาหนดแผนงานโครงการได้ชดั เจนย่ิงขนึ้

ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีการวางแผนการใช้เงินงบประมาณ

อย่างเป็นระบบ จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีสอดคล้องกับภารกิจ นโยบาย ปัญหา ความต้องการ
ในการบรหิ ารและการจัดการศึกษา พัฒนาคุณภาพการศึกษา และมีการนาแผนปฏิบัติการไปใช้ตามวัตถุประสงค์
ตามระยะเวลาท่ีกาหนด โดยได้ดาเนนิ การดงั น้ี

1. ประชุมบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดาเนินงานโดยศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน
ปัญหา การดาเนนิ งานพัฒนา เพื่อใหเ้ ห็นความสาคญั และมีความตระหนกั ในการดาเนนิ งาน

2. กาหนดและมอบหมายผูร้ บั ผดิ ชอบการดาเนนิ งาน โดยมคี าส่ังมอบหมายงานชัดเจน
3. แต่งต้ังคณะกรรมการ/ คณะทางาน เพื่อจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐานและ
วางแผนการใช้งบประมาณ
4. คณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทาแผนโดยใช้กระบวนการ
มีส่วนร่วม และการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตร์ชาติ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และบริบทของ
สานักงาน ตลอดจนสอดคล้องกับ ภารกิจ ปัญหา ความต้องการในการบริหารและการจัดการศึกษาพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
5. คณะกรรมการฯ วิเคราะห์และพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์
การพัฒนาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ และเกดิ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรฐั บาล

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 ฉ

มีการวางแผนการใช้เงินงบประมาณอย่างเป็นระบบ จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่สอดคล้องกับภารกิจ นโยบาย ปัญหา ความต้องการในการบริหารและการจัดการศึกษา พัฒนา
คุณภาพการศึกษา และมีการนาแผนปฏิบัติการไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ตามระยะเวลาที่กาหนด ทาให้
เกิดผลสาเร็จดังน้ี

1. แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) สอดคล้องกับ
ภารกิจ นโยบาย ปัญหาความต้องการในการบริหารและการจัดการศึกษา และการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา และสามารถนาแผนไปใช้ตามวัตถุประสงค์ ตามระยะเวลาที่กาหนด มีแผนการบริหาร
งบประมาณอย่างเป็นระบบในทุกขั้นตอน

2. ผลดาเนินการเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ
4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564)

3. การเบิกจ่ายเงินครบถ้วน ถูกต้องตามระเบียบที่เก่ียวข้อง และสามารถตรวจสอบได้
4. การดาเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง ควบคุม จาหน่ายพัสดุ ถูกต้องตามพระราชบัญญัติการ
จัดซ้ือจัดจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560, กฎกระทรวง, คู่มือการใช้งานในระบบ e-GP
5. การจัดทารายงานการเงิน/รายงานผลการปฏิบัติงานฯ ในระบบ KRS ได้ถูกต้อง
ทันตามกาหนด
6. การจัดซ้ือ จัดจ้างฯ เป็นไปอย่างถูกต้องตามระเบียบ

สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ได้มีการขับเคล่ือนนโยบาย แก้ปัญหา
และการพัฒนาตามความต้องการของหน่วยงานต้นสังกัด และเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยใช้กระบวนการ
PDCA มาปรับใช้รว่ มกบั กระบวนการ PMQA ใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทดงั น้ี ดงั นี้

1. ประกาศนโยบาย เปน็ การส่อื สารให้ผูเ้ กยี่ วข้องและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสยี มคี วามรู้ ความเข้าใจ
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ของนโยบาย ตลอดจนแนวทางการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติโดยวิธีการ
ทหี่ ลากหลาย ไดแ้ ก่

1) การประชมุ รองผอู้ านวยการเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาและผู้อานวยการกลุม่ ทกุ สัปดาห์
2) การประชุมผบู้ ริหารสถานศึกษาทกุ คนในเขตพนื้ ที่การศึกษา ทุก 2 เดือน
3) การประชมุ ครูในโครงการตา่ ง ๆ ท่ีเป็นนโยบายสาคญั
4) สอ่ื สารผา่ น Social Network เชน่ Line, Facebook, Google Form
2. กระจายอานาจและความรับผิดชอบ ตามขอบข่ายอานาจ และบทบาทหน้าท่ี
1) มอบอานาจการตัดสินใจให้กับรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีรับผิดชอบแต่ละกล
ยุทธ์ เพอ่ื นาไปส่กู ารปฏิบัตอิ ย่างเปน็ รูปธรรม
2) มอบหมายให้ประธานเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา 9 เครือข่าย เครือข่ายพัฒนา
ประสิทธภิ าพตามกลมุ่ สาระ ประธานชมรมผู้บริหารการศึกษา กาหนดแนวทางการปฏิบัติและจัดโครงการ/
กิจกรรมเพอ่ื ขบั เคลื่อนกลยทุ ธ์ ให้สอดคล้องกบั บรบิ ท
3. มอบความช่วยเหลือ สนับสนุน และบรกิ าร
1) ด้านการพัฒนากระบวนการและเคร่ืองมือ มีการฝึกอบรมและการเรียนรู้ มีการจัดอบรม
ให้ความรู้ เพื่อใช้ในการขับเคล่ือนนโยบาย เช่น การอบรมครู กลุ่มสาระต่าง ๆ เพื่อขับเคล่ือนนโยบาย
คุณภาพการศึกษา การสร้างเครื่องมือเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ ให้คาปรึกษาท้ังทางการบริหาร และวิชาการ
โดยผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ี และทีมศึกษานิเทศก์ สนับสนุน
วทิ ยากร โดยการประสานงานหาผู้เช่ียวชาญ ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ และศกึ ษานเิ ทศก์ ฯลฯ

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 ช

2) ด้านงบประมาณ โดยจัดสรรงบประมาณใหแ้ ตล่ ะเครือขา่ ยเพ่ือดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม
ในการขับเคล่ือนกลยทุ ธ์ ตามสภาพความต้องการจาเปน็ (Need Assessment)

4. สอบทานเป็นระยะ โดยมอบหมายให้รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ี ผู้อานวยการ
กลุ่ม/หน่วย และศึกษานิเทศก์ ดาเนินการกากับ ติดตาม นิเทศและประเมินผลการดาเนินงานของ
สถานศึกษา การดาเนินงานในแต่ละกลยุทธ์ และโครงการทีร่ ับผิดชอบ

5. แก้ไขปรับปรุง นาผลการดาเนินงานมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาวิธีการ
ขับเคลอ่ื นนโยบายอย่างต่อเนือ่ งเหมาะสม

1) กรณีที่ปฏิบัติงานตามโครงการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีวางไว้
จะนาผลมาวิเคราะห์ และพจิ ารณาวา่ ควรจะดาเนินการปรบั ปรงุ อยา่ งไร

2) กรณีท่ีปฏิบัติงานตามโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย หรือบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ จะมี
การนาแนวทางการปฏิบตั ดิ งั กล่าวมาจัดทาเปน็ คมู่ ือ และนามาแลกเปล่ียนเรยี นรู้ พรอ้ มทัง้ กาหนดเป้าหมาย
ใหส้ งู ข้ึนในการวางแผน (Plan) ครั้งต่อไป เพ่อื ให้มกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง

จากการท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ได้มีการขับเคล่ือนนโยบาย
แกป้ ัญหา และการพฒั นาตามความตอ้ งการของหน่วยงานต้นสังกัด และเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอย่างเป็นระบบ
ทาให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 สามารถใช้แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ได้ตามวตั ถุประสงค์ และตามระยะเวลาทกี่ าหนด โดยทาใหเ้ กิดผลตอ่ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา ดังนี้

1. ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจาปี
2562 อยู่ในระดบั สงู มาก ร้อยละ 91.22 เป็นลาดบั ที่ 32 ของประเทศ

2. ผลการประเมนิ สว่ นราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2561 ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 มีระดับคุณภาพ
สูงกว่าเปา้ หมายทั้ง 3 องค์ประกอบ มคี ่าคะแนนรอ้ ยละ 4.71359

3. ผลการประเมินมาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อยู่ในระดับ ดีมาก แยกเป็น
มาตรฐานที่ 1 ด้านการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม มาตรฐานท่ี 2
การบริหารและการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ ระดับคุณภาพ ดีมาก มาตรฐานที่ 3 สัมฤทธิผลของ
การบริหารและการจดั การศึกษา ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก

4. ได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาระบบราชการของสานักงานเขตพ้ืนท่ี
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยพิจารณาจากผลการดาเนินงานที่สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ขับเคลื่อนเพื่อพัฒนายกระดับมาตรฐานหน่วยงานย้อนหลัง 2 ปี (พ.ศ. 2561–2562) โดยพิจารณาจาก
ผลการดาเนนิ การที่สานักงานเขตพื้นทขี่ บั เคล่ือน ดังนี้

4.1 ผลการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรฐานการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ประจาปีงบประมาณ (กพร.สพฐ.) สัดสว่ นการพิจารณา 70%

4.2 ผลการประเมินการบริหารและจัดทาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามมาตรฐานสานักงาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา (สตผ.) สดั สว่ นการพิจารณา 15%

4.3 ผลการประเมินติดตามการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สตผ.) สัดส่วน
การพจิ ารณา 15%

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 ซ

จากการกาหนดสัดส่วนสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนการพัฒนา
ระบบราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
มีผลคะแนนเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในกลุ่มอันดับ 4 จานวน 11 เขต ได้รับเงินรางวัล เป็นเงิน 20,000 บาท
หากจัดลาดบั ผลการประเมินดงั กลา่ วจะอยู่ในลาดับท่ี 17 จาก 182 เขต

การปรับและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้สอดคล้องกับนโยบายส่วนกลาง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีการปรับและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายส่วนกลาง ดงั น้ี

1. การปรับแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานตามนโยบายและจุดเน้น ของเลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีการปรับแผนให้สอดคล้องกับนโยบายการขับเคล่ือนเพื่อยกระดับ
คณุ ภาพการศกึ ษาและจุดเนน้ การพัฒนา ไดแ้ ก่

1.1 การเพิ่มจุดเน้นการจัดการศึกษาปฐมวัยโดยให้เด็กได้รับการตรวจสุขภาพ มีการจัด
ประสบการณ์เพื่อให้เติบโตเตม็ วยั และการจัดกจิ กรรมใหเ้ ดก็ ไดร้ บั การส่งเสริมให้มีพัฒนาการ 4 ดา้ น

1.2 นักเรียนระดับประถมศึกษาอ่านออกเขียนได้ โดยกาหนดให้นักเรียน ป.1 อ่านเขียน
แม่ ก กา ที่ประสมด้วยสระ อา อี อู เอ และ แอ ได้ภายในเดือนกรกฎาคม 2562 อ่านและเขียนคาง่าย ๆ
ไดม้ ากขนึ้ (แม่ ก กา ท่ปี ระสมดว้ ยสระเสียงยาว และมรี ูปวรรณยกุ ต์ ภายในเดอื นกันยายน 2562)

1.3 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับการวัดความถนัดทางการเรียน และอาชีพ
สามารถเลือกเรียนตามความต้องการ

2. การปรับแผนตามกรอบวงเงนิ งบประมาณ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
เน่ืองจากการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน จะดาเนินการโดยใช้กรอบวงเงินงบประมาณของปี
ที่ผ่านมามาใช้ในการวางแผน และเม่ือได้รับแจ้งการจัดสรรงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน จะต้องมีการปรับแผนให้เป็นไปตามกรอบวงเงิน ตลอดจนกาหนดมาตรการต่าง ๆ
เพอ่ื ใหก้ ารใชแ้ ผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พื้นฐานเป็นไปตามวตั ถุประสงค์ และตามระยะเวลาที่กาหนด เชน่

2.1 มีการแต่งตง้ั คณะกรรมการฯ กากบั เร่งรดั ตดิ ตามการใช้งบประมาณอยา่ งต่อเนื่อง
2.2 จัดประชมุ สะท้อนผลหลังการปฏบิ ตั ิงานเปน็ ระยะ ๆ เพือ่ พัฒนางานอยู่เสมอ
2.3 ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ดูแล ติดตาม
การดาเนินงานและการใช้งบประมาณตามกรอบวงเงินท่ีได้รับเป็นระยะพร้อมให้กาลังใจและข้อเสนอแนะ
ในการทางาน เพื่อให้การนาแผนปฏิบัติการไปใช้ตามวัตถปุ ระสงค์ ตามระยะเวลาทก่ี าหนด

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีการนาแผนพัฒนาการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ เป็นไปตามมาตรการเร่งรัดและใช้จ่ายงบประมาณตามมาตรการเพ่ิม
ประสิทธิภาพการจ่ายงบประมาณของรัฐบาล รวมทั้งมีการจัดทาแผนงบประมาณล่วงหน้าสอดคล้องกับ
ภารกิจ วัตถุประสงค์ และแผนงานของหน่วยงานมีการปรับแผนตามนโยบาย จึงทาให้การใช้งบประมาณ
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยัด สามารถบรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน และ
เกิดประโยชน์สงู สุดตอ่ ทางราชการ

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 ฌ

ส่วนที่ 1

บทนา

สภาพทวั่ ไป

สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ตง้ั อยู่ทางภาคกลาง ด้านทิศตะวันตกของ
ประเทศไทย มเี นื้อที่ท้งั หมดประมาณ 4,030.03 ตารางกโิ ลเมตร มีอาณาเขตตดิ ต่อ ดงั น้ี

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับอําเภอโพธาราม จงั หวัดราชบุรี
ทศิ ใต้ อําเภอดา่ นมะขามเต้ีย และอําเภอทา่ มว่ ง
ทิศตะวันออก จงั หวัดกาญจนบุรี
ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับอําเภอเขาย้อย อําเภอหนองหญ้าปลอ้ ง
จงั หวดั เพชรบรุ ี
ติดต่อกับอําเภอดําเนินสะดวก จงั หวัดราชบรุ ี
อําเภอบางคนที และอาํ เภออัมพวา
จงั หวดั สมทุ รสงคราม
ติดตอ่ กับตําบลบางคายู อําเภอเมตตา
จงั หวัดทะวาย ประเทศสหภาพเมียนมาร์ (พมา่ )

สําหรับอาคารของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ต้ังอยู่เลขที่ 7 อาคาร
เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา ถนนไกรเพชร ตําบลหน้าเมือง อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
เป็นอาคารท่ีใช้ประโยชน์ร่วมกัน รวม 4 หน่วยงาน ได้แก่ สํานักงานศึกษาธิการภาค 4 สํานักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 และสหกรณ์
ออมทรัพย์ครกู รมสามัญศึกษาจังหวัดราชบุรี โดยสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
ใช้พ้ืนที่บริเวณช้ันท่ี 4 ชั้นท่ี 6 (บางส่วน) เป็นสถานท่ีปฏิบัติงาน มีพื้นที่ในความรับผิดชอบ 6 อําเภอ
รวม 175 โรงเรียน 2 สาขา ได้แก่ อําเภอเมืองราชบุรี จํานวน 49 โรงเรียน อําเภอปากท่อ จํานวน 46
โรงเรียน 1 สาขา อําเภอจอมบึง จํานวน 37 โรงเรียน อําเภอวัดเพลง จํานวน 6 โรงเรียน อําเภอสวนผ้ึง
จํานวน 20 โรงเรียน และอําเภอบา้ นคา จํานวน 17 โรงเรยี น 1 สาขา (ข้อมูล ณ วันท่ี 10 มิ.ย. 2562)

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ( พ.ศ. 2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1

สภาพภูมิประเทศของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 แบ่งตามระดับ
ความสูงของพื้นท่ี โดยพื้นท่ีของส่วนใหญ่ ร้อยละ ๖๐ เป็นพื้นที่ราบและราบลุ่ม ระดับความสูงต่ํากว่า
๑๐๐ เมตร เหนือระดับนํ้าทะเลปานกลาง พบมากทางด้านตะวันออกบริเวณสองฝั่งแม่นํ้าแม่กลองในเขต
อาํ เภอเมืองราชบรุ ี อําเภอปากท่อ และอําเภอวดั เพลง

ส่วนพื้นที่ทางตอนกลางลาดมาทางตะวันตกเป็นที่ลาดเชิงเนิน และท่ีลาดเชิงเขาระดับความสูง
ของพื้นที่อยู่ระหว่าง ๑๐๐ - ๗๕๐ เมตร เหนือระดับนํ้าทะเลปานกลาง มีแม่น้ําภาชีและลําห้วยสาขาเป็น
สายนํา้ หลักพบในเขตอาํ เภอสวนผง้ึ อําเภอบ้านคา อําเภอจอมบึง และด้านตะวันตกของอําเภอปากท่อและ
อาํ เภอเมอื งราชบุรี

สาํ หรับพืน้ ทภ่ี เู ขาสงู ระดบั ความสูงตั้งแต่ ๗๕๐ เมตรขึ้นไป พบกระจายเป็นกลุ่มทางด้านตะวันตก
เฉียงใต้ บริเวณชายแดนมีเทือกเขาตะนาวศรีที่สูงชันด้านตะวันตกติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์และ
เขตแดนดา้ นใต้ตดิ กับจงั หวดั เพชรบุรี มสี ภาพเป็นเทือกเขาสูงอุดมด้วยปุาดิบ ปุาเบญจพรรณ ปุาเต็งรังและ
ปุาไผ่ พบในเขตอาํ เภอสวนผ้ึง อาํ เภอบา้ นคา และอาํ เภอปากทอ่ ดา้ นตะวันตก

สภาพการจดั การศึกษา

 อานาจหนา้ ที่ของสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

ให้สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามอี ํานาจหนา้ ทดี่ าํ เนินการให้เป็นไปตามอํานาจหน้าท่ีของสํานักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอํานาจหน้าที่
ดังตอ่ ไปนี้

1. จัดทํานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานและความต้องการของท้องถิน่

2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษาและหน่วยงานในเขตพื้นท่ี
การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นทราบ รวมทั้งกํากับ ตรวจสอบ
ตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกลา่ ว

3. ประสาน ส่งเสรมิ สนับสนนุ และพัฒนาหลกั สตู รรว่ มกบั สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
4. กํากับ ดูแล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและในเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
5. ศึกษาวเิ คราะห์ วิจัย และรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพื้นที่การศกึ ษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัด
และพฒั นาการศึกษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา
7. จดั ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา
8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
รวมทง้ั บคุ คล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นท่ีจัดรูปแบบ
ทหี่ ลากหลายในเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
9. ดําเนินการและประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย และพฒั นาการศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
10. ประสาน ส่งเสรมิ การดาํ เนินงานของคณะอนุกรรมการและคณะทาํ งานด้านการศึกษา
11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ
องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ในฐานะสาํ นกั งานผ้แู ทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
12. ปฏบิ ัติงานรว่ มกบั หรอื สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอืน่ ทเ่ี ก่ียวข้องหรือท่ีได้รับมอบหมาย

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 2

 การจัดระเบียบบรหิ ารราชการเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา

การบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ยึดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยคํานึงถึงระดับของ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวนสถานศึกษา จํานวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอ่ืนด้วย
เว้นแต่การจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา ท้ังนี้ ให้รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของ
สภาการศึกษา มีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดเขตพื้นท่ีการศึกษา เพื่อการบริหารและ
การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แบ่งเป็นเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพ้ืนท่ีมัธยมศึกษา
ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการกําหนดให้มีสํานั กงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษา จํานวน 183 เขต และสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จํานวน 42 เขต โดยให้จัด
ระเบียบบรหิ ารราชการของเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ดงั น้ี

1. สํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
การแบง่ ส่วนราชการภายในสํานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ให้จัดทาํ เป็นประกาศกระทรวงและให้

ระบุอํานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการไว้ในประกาศกระทรวง ทั้งนี้ โดยคําแนะนําของคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

2. สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืน (เฉพาะที่เป็น
โรงเรียนมีฐานะเป็นนิติบุคคล)

การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาและอํานาจหน้าท่ีของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ
ที่เรียกช่ืออย่างอื่นให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษาแต่ละเขตพ้ืนที่การศึกษา
กําหนด ซึง่ ในปัจจบุ นั ได้โอนใหเ้ ปน็ อํานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวดั กําหนด

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง การแบ่งส่วนราชการภายในสาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา
พ.ศ. 2560 และฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2561) ให้แบ่งส่วนราชการภายในสาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาดังต่อไปนี้

1. กลุ่มอานวยการ มอี าํ นาจหน้าทด่ี งั ตอ่ ไปน้ี
(ก) ปฏบิ ัติงานสารบรรณสาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
(ข) ดําเนินการเกี่ยวกบั งานช่วยอาํ นวยการ
(ค) ดาํ เนินการเก่ยี วกับอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และยานพาหนะ
(ง) จดั ระบบบริหารงาน การควบคมุ ภายใน และพัฒนาองคก์ ร
(จ) ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่กิจการ ผลงาน และบริการข้อมลู ข่าวสาร
(ฉ) ประสานการดําเนนิ งานระหวา่ งหน่วยงานภายในและภายนอกเขตพื้นที่การศึกษา
(ช) ดําเนนิ การเลอื กตัง้ และสรรหากรรมการและอนกุ รรมการ
(ซ) ประสาน สง่ เสรมิ การจดั สวสั ดกิ ารและสวัสดภิ าพ
(ณ) ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นท่ีเก่ียวข้องกับกิจการภายในของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มิใช่ของ

ส่วนราชการใดโดยเฉพาะ
(ญ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือท่ีได้รับ

มอบหมาย

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 3

2. กลมุ่ นโยบายและแผน มอี ํานาจหนา้ ท่ีดงั ตอ่ ไปนี้
(ก) จัดทํานโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา

แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน และความต้องการของทอ้ งถนิ่
(ข) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณ เงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษาและแจ้งการจัดสรร

งบประมาณ
(ค) ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณและผลการปฏิบัติตาม

นโยบายและแผน
(ง) ดําเนินการวิเคราะห์ และจัดทําข้อมูลเกี่ยวกับการจัดต้ัง ยุบ รวม เลิก และโอนสถานศึกษา

ข้ันพนื้ ฐาน
(จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ

มอบหมาย

3. กลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร มีอํานาจหน้าที่
ดังต่อไปน้ี

(ก) ศึกษา วเิ คราะห์ ดําเนินการ และสง่ เสริมการจดั การศึกษาทางไกล
(ข) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการจัด
การศกึ ษา
(ค) ดําเนนิ งานสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารและการจดั การศึกษา
(ง) ดําเนินการวิเคราะห์ และปฏิบัติงานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร
(จ) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และดําเนนิ งานบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ
(ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับ
มอบหมาย

4. กลมุ่ บรหิ ารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์ มอี ํานาจหน้าท่ดี งั ตอ่ ไปนี้
(ก) ดําเนนิ งานเกย่ี วกับงานบรหิ ารการเงิน
(ข) ดาํ เนินงานเกยี่ วกับงานบริหารบญั ชี
(ค) ดาํ เนินงานเกี่ยวกบั งานบริหารพัสดุ
(ง) ดาํ เนนิ งานเกี่ยวกับงานบริหารสินทรัพย์
(จ) ให้คําปรึกษาสถานศึกษาเกี่ยวกบั การดําเนินงานบริหารการเงิน งานบัญชี งานพัสดุ และงาน

บริหารสนิ ทรพั ย์
(ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง หรือท่ีได้รับ

มอบหมาย

5. กลุ่มบริหารงานบคุ คล มอี าํ นาจหน้าท่ดี งั ต่อไปน้ี
(ก) วางแผนอัตรากําลงั และกําหนดตําแหน่ง
(ข) สง่ เสริม สนบั สนนุ การมหี รือเลอ่ื นวิทยฐานะ
(ค) วิเคราะห์และจัดทําข้อมูลเกี่ยวกับการสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง ย้าย โอน และการลาออก

จากราชการของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 4

(ง) ศึกษา วะเคราะห์ และดําเนินการเก่ียวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานการเล่ือนเงินเดือน
การมอบหมายหน้าทใ่ี ห้ปฏิบตั ิของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

(จ) จัดทําข้อมลู เกี่ยวกบั บาํ เหนจ็ ความชอบและทะเบยี นประวตั ิ
(ฉ) จัดทําข้อมลู ระบบจา่ ยตรงเงนิ เดอื นและค่าจ้างประจาํ
(ช) ปฏบิ ตั ิการบริการและอํานวยความสะดวกในเรื่องการออกหนงั สือรบั รองตา่ ง ๆ การออกบตั ร
ประจาํ ตัว และการขออนญุ าตต่าง ๆ
(ซ) ศึกษา วเิ คราะห์ และจัดทาํ ข้อมลู เพอื่ ดําเนนิ งานวนิ ยั อุทธรณ์ รอ้ งทุกข์ และการดําเนนิ คดีของรฐั
(ฌ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือท่ีได้รับ
มอบหมาย

6. กลมุ่ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีอาํ นาจหนา้ ที่ดังตอ่ ไปน้ี
(ก) ดาํ เนินงานฝึกอบรมการพัฒนากอ่ นแต่งตงั้
(ข) ดาํ เนนิ งานฝกึ อบรมพฒั นาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพการปฏบิ ัตงิ าน
(ค) ดําเนินงานพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ

และจรรยาบรรณ
(ง) ปฏิบตั ิงานส่งเสริม สนับสนุน และยกย่องเชิดชเู กียรติขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา
(จ) ดําเนินการเก่ียวกับการลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัยภายในประเทศหรือ

ต่างประเทศ
(ฉ) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจัย และเสริมสร้างระบบเครือข่ายการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
(ช) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง หรือที่ได้รับ

มอบหมาย

7. กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา มีอํานาจหนา้ ทดี่ ังตอ่ ไป
(ก) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษา

ระดบั ก่อนประถมศึกษา และหลักสตู รการศกึ ษาพเิ ศษ
(ข) ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจัย เพอ่ื พฒั นาหลกั สูตรการสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน
(ค) วิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินเก่ียวกับการวัดและการประเมินผล

การศึกษา
(ง) วิจัย พัฒนา ส่งเสริม มาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษารวมท้ังประเมิน

ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
(จ) นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
(ฉ) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาสอื่ นวัตกรรมการนเิ ทศทางการศึกษา
(ช) ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของ

เขตพื้นที่การศึกษา
(ซ) ปฏิบัตงิ านร่วมกับหรอื สนบั สนุนการปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอื่นทีเ่ ก่ยี วข้อง หรอื ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

8. กลมุ่ ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษา มอี าํ นาจหนา้ ท่ีดังตอ่ ไปน้ี
(ก) ศึกษา วิเคราะห์ สง่ เสริม สนบั สนุน และดําเนินงานเกี่ยวกบั ศาสตร์พระราชา
(ข) ส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ

การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 5

(ค) ส่งเสริม สนับสนุน และดําเนินการเกี่ยวกับการจัดเตรียมข้อมูลการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ของบคุ ลากร ครอบครัว องค์กร ชุมชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอ่ืน

(ง) ประสานและสง่ เสรมิ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ให้สามารถจดั การศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและ
มาตรฐานการศกึ ษา

(จ) สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาสาํ หรบั ผพู้ ิการ ผูด้ อ้ ยโอกาส และผู้มีความสามารถพเิ ศษ
(ฉ) ส่งเสริมงานการแนะแนว สุขภาพ อนามัย กีฬา และนันทนาการ ลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี
ผู้บําเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วินัยนักเรียน การพิทักษ์สิทธิเด็ก และเยาวชน และ
งานกิจการนกั เรียนอื่น
(ช) ส่งเสรมิ สนับสนนุ การระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา
(ซ) ประสานการปูองกันและแก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติด และส่งเสริมปูองกันแก้ไขและคุ้มครอง
ความประพฤตนิ ักเรยี นและนกั ศึกษา รวมทงั้ ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน
(ฌ) ดําเนินงานวเิ ทศสัมพันธ์
(ญ) ประสาน สง่ เสรมิ การศึกษากับการศาสนาและการวฒั นธรรม
(ฎ) ส่งเสรมิ แหลง่ การเรยี นรู้ สิง่ แวดลอ้ มทางการศึกษา และภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ
(ฎ) ประสานและสง่ เสรมิ สถานศึกษาให้มีบทบาทในการสรา้ งความเข้มแข็งของชมุ ชน
(ฐ) ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับหรือสนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานของหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง หรือท่ีไดร้ ับมอบหมาย

9. หน่วยตรวจสอบภายใน ให้ปฏิบัติงานขึ้นตรงกับหัวหน้าส่วนราชการ และมีอํานาจหน้าที่
ดังต่อไปน้ี

(ก) ดําเนินงานเกี่ยวกับงานตรวจสอบการเงนิ การบัญชี และตรวจสอบระบบการดแู ลทรพั ยส์ ิน
(ข) ดาํ เนินงานเก่ยี วกับงานตรวจสอบการดาํ เนินงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับ
ผลผลิตหรอื เปาู หมายทก่ี าํ หนด
(ค) ดาํ เนินงานเกย่ี วกบั การประเมนิ การบรหิ ารความเสี่ยง
(ง) ดําเนินการอนื่ เกย่ี วกับการตรวจสอบภายในตามทกี่ ฎหมายกาํ หนด
(จ) ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกับหรือสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอื่นทเ่ี กี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย

10. กลุ่มกฎหมายและคดี ใหป้ ฏิบัตงิ านข้ึนตรงกับผู้อาํ นวยการสาํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา
และมีอํานาจหนา้ ที่ ดงั ต่อไปน้ี

(ก) สง่ เสริม สนบั สนุน พฒั นาการมีวินัยและรักษาวนิ ยั
(ข) ดาํ เนินการสบื สวนเกย่ี วกบั เร่อื งร้องเรยี น
(ค) ดําเนนิ การสอบสวนเกี่ยวกับวินยั และการตรวจพิจารณาวนิ ยั
(ง) ดาํ เนนิ การเกย่ี วกบั การอทุ ธรณแ์ ละการพิจารณาอุทธรณ์
(จ) ดาํ เนินการเกยี่ วกบั การรอ้ งทุกขแ์ ละการพจิ ารณาร้องทุกข์
(ฉ) ดําเนินการเกี่ยวกับความรบั ผิดทางละเมิดของเจา้ หน้าท.ี่
(ช) ดําเนนิ การเกี่ยวกับงานคดีปกครอง คดีแพ่ง คดีอาญา และคดีอืน่ ๆ ของรัฐ
(ซ) ดาํ เนนิ การปูองกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
(ฌ) ศกึ ษา วิเคราะห์ วจิ ัย จัดทาํ ข้อมูลและตดิ ตามประเมินผลเพ่อื พฒั นางานกฎหมาย และ
งานคดขี องรฐั
(ญ) ปฏิบตั ิงานรว่ มกับหรอื สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอืน่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง หรือที่ได้รับ
มอบหมาย

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 6

แผนภูมโิ ครงสร้างการบรหิ ารงาน

สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 คณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล
และนิเทศการศกึ ษา

หน่วยตรวจสอบ กลุ่มกฎหมายและ
ภายใน คดี

กล่มุ อานวยการ กลมุ่ นโยบายและแผน กลุ่มสง่ เสรมิ กลุม่ นเิ ทศ ติดตาม
การจดั การศกึ ษา และประเมินผล
การจดั การศึกษา

กลมุ่ บรหิ าร กล่มุ พฒั นาครู กลุ่มบรหิ ารงาน กลุ่มสง่ เสริมการศึกษา
งานบุคคล และบุคลากร การเงินและสนิ ทรัพย์ ทางไกล เทคโนโลยี
สารสนเทศและ
ทางการศกึ ษา
การส่อื สาร

สถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 7

สถานการณ์และแนวโน้มด้านเศรษฐกจิ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม

1. ภาวะดา้ นเศรษฐกจิ

(ข้อมลู : สาํ นกั งานคลังจงั หวดั ราชบุรี) พิจารณาจากสถติ ผิ ลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ดังน้ี
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดราชบุรี ในปี 2560 มีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจําปี 124,149
ลา้ นบาท เพ่มิ ขน้ึ จาก 116,924 ลา้ นบาท ในปี 2559 จํานวน 7,225 ล้านบาท ส่วนมูลค่าเพ่ิม ณ ราคา
คงท่ี ขยายตวั ตอ่ เน่อื งร้อยละ 6.2 จากร้อยละ 2.9 ในปี 2559 จากการขยายตวั ของภาคเกษตร โดยสาขา
เกษตรกรรม ขยายตัวร้อยละ 20.9 มาจากการฟ้ืนตัวของการผลิตภาคเกษตร ในขณะที่การผลิต
นอกภาคเกษตร ชะลอตัวร้อยละ 3.1 จากการชะลอตัวลงของสาขาไฟฟูา แก๊สและการประปา สาขา
อุตสาหกรรม สาขาการศึกษา และสาขาการบริการด้านสุขภาพและสังคม รวมทั้ง สาขาการขายส่ง
ขายปลกี ฯ ซงึ่ เปน็ กิจกรรมท่สี ําคญั ไดท้ ่ีหดตวั ลง

การผลิตภาคเกษตร ในปี 2560 ขยายตัวร้อยละ 20.9 จากท่ีหดตัวลงร้อยละ 9.0
ในปี 2560 จากการขยายตัวของสาขาเกษตรกรรมฯ ท่ีขยายตัวร้อยละ 21.8 ท้ังในหมวดการเล้ียงปศุสัตว์
และหมวดพืช ท่ีขยายตัว ร้อยละ 34.2 และ 7.1ตามลําดับ ซ่ึงเกิดจากการปรับตัวดีขึ้นของระดับราคา
สนิ ค้าเกษตร สว่ นสาขาประมง หดตัวลง รอ้ ยละ 16.5 ปรับตวั ดขี ้นึ จากปี 2559

การผลิตภาคนอกเกษตร ในปี 2560 ชะลอตัวร้อยละ 3.1 จากท่ีขยายตัวร้อยละ 5.9
ในปี 2559 จากการชะลอตัวของสาขาไฟฟูาฯ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการศึกษา และสาขาการบริการ
ด้านสุขภาพและสังคม รวมทั้ง สาขาการขายส่งขายปลีกฯ ซ่ึงเป็นกิจกรรมท่ีสําคัญได้ที่หดตัวลงซ่ึงเป็นไป
ตามการถดถอยของภาวะเศรษฐกิจประเทศ

ตารางที่ 1 แสดงดัชนรี าคาผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวดั

ดัชนรี าคาผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั 2558 ปี พ.ศ. อตั ราขยายตัว (ร้อยละ)
181.3 2559 2560 2559 2560
ภาคเกษตร (2550=100) 132.0 184.4 150.3 1.7 -18.5
ภาคนอกเกษตร (2550=100) 147.1 154.5 11.4 5.0
ผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั 141.8
(2550=100) 153.7 153.7 8.4 0.0

2. ศกั ยภาพด้านอตุ สาหกรรม

จังหวัดราชบุรี เป็นจังหวัดที่อยู่ใกล้กับกรุงเทพ ซึ่งส่งผลให้การคมนาคมเป็นไปอย่างสะดวก
มีนักลงทุนด้านอุตสาหกรรมมากมาย โดยสามารถนับจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดได้ถึง ๑,๗๖๑
โรง แบ่งเป็นโรงงานขนาดเล็ก จํานวน ๑,๒๒๖ แห่ง โรงงานขนาดกลาง จํานวน๔๐๑ แห่ง และโรงงาน
ขนาดใหญ่ จํานวน ๙๔แห่ง มีเงินลงทุนรวม ๘๔,๑๗๙,๗๔๔,๑๔๔บาท แรงงานรวม ๖๗,๐๙๙ คน
อุตสาหกรรมที่มีมากที่สุดในจังหวัด คือ อุตสาหกรรมอาหาร มีถึง ๒๒๒ โรง มีเงินลงทุนรวม จํานวน
๙,๔๘๙,๗๗๘,๖๑๖ บาท และมีอัตราจ้างแรงงานถึง ๑๑,๐๔๘ รองลงมาคือ อุตสาหกรรมขนส่ง
อุตสาหกรรมอโลหะ อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 8

ซ่อมแซมโลหะ มีเงินลงทนุ รวมทั้งสิน้ จาํ นวน ๑๐,๗๗๖,๕๒๐,๓๒๓ บาท มกี ารจ้างงานท้ังสิ้น ๑๘,๑๕๙ คน
กําลงั การผลิตทัง้ สิ้น ๑๙๘,๖๑๑.๕๒ แรงมา้

จากมาตรการการเงินการคลังเพ่ือส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
(SMEs) ในระยะเร่งด่วนโดยการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับผู้ประกอบการ SMEs ที่ย่ืนจดทะเบียน
ภายในสิ้นปี ๒๕๕๙ ส่งผลให้ปี ๒๕๖๐ คาดว่าจํานวนทุนจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรมจะขยายตัวอย่าง
ตอ่ เนอ่ื งร้อยละ ๓.๐ (โดยมชี ว่ งคาดการณท์ ี่ร้อยละ ๒.๐ ถงึ ๔.๐)

การพัฒนาอุตสาหกรรมเพ่ือการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และการแข่งขันท่ีย่ังยืน
ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔จังหวัดจะให้ความสําคัญกับการสร้างห่วงโซ่คุณค่าในภาค
การเกษตรอุตสาหกรรม การลงทุน การบริการทางอุตสาหกรรมท่ีทันสมัยของส่วนราชการ การส่งเสริมการ
พัฒนา SME และผูป้ ระกอบการอตุ สาหกรรมรุ่นใหม่ การพฒั นาขดี ความสามารถของผู้ประกอบการแรงงาน
คุณภาพรองรับการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม และนอกจากนั้นในยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรม
เน้นการเติบโตท่เี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ มกจ็ ะเป็นประเด็นสําคัญท่ีจะเป็นฐานให้กับการเกษตรสู่อุตสาหกรรม
และการพัฒนาอุตสาหกรรมแนวใหม่ของจังหวัดตามเปูาหมายการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนา
เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพ่ิมค่าในภาคอุตสาหกรรมของจังหวัด และจังหวัด ยังเน้นในการเตรียมการใน
การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจสําคัญในระดับจังหวัด อําเภอให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
ของภาคอุตสาหกรรมตามศักยภาพโอกาสและข้อจํากัดของพื้นที่ การเติบโตของชุมชนท่ีจะขยายตาม
อตุ สาหกรรม รวมทงั้ พฒั นารองรบั ความต้องการของภาคีการพัฒนาท่ีเก่ียวข้องสร้างฐานเศรษฐกิจใหม่ เพ่ือ
รองรับการเช่ือมโยงอุตสาหกรรมกับการพัฒนาเช่ือมโยงกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนผ่านจังหวัด
กาญจนบุรี

3. ขอ้ มูลทั่วไปดา้ นแรงงาน

๑) สถานประกอบกิจการและลกู จ้าง ข้อมูลจากสํานกั งานจัดหางานจังหวัดราชบุรี เดือน
มิถุนายน ๒๕๕๙ จงั หวัดราชบุรีมีสถานประกอบการท่ีข้ึนทะเบียนประกันสังคม จํานวน ๔,๔๒๑ แห่ง หรือ
รอ้ ยละ ๑๒.๘๔ ของจาํ นวนสถานประกอบการท้ังหมดในภาคตะวนั ตก ผ้ปู ระกันตนมีจํานวน ๑๓๗,๙๖๖คน
หรือร้อยละ ๑๑.๖๙ ของจํานวนผู้ประกันตนท้ังหมดในภาคตะวันตก (มาตรา ๓๓ จํานวน ๙๖,๐๗๙คน
มาตรา ๓๙ จํานวน ๑๕,๓๐๘คน มาตรา ๔๐ จํานวน ๒๖,๖๓๙คน) เมื่อเปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๙ พบว่า
สถานประกอบการลดลงร้อยละ ๐.๒๗ สว่ นผปู้ ระกนั ตนเพม่ิ ขึน้ ร้อยละ ๐.๕๕

๒) ภาวะการมีงานทา/ ภาวการณ์ว่างงาน จากข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดราชบุรี
พบว่า การทํางานของประชากรจังหวัดราชบุรี ผู้มีอายุ ๑๕ ปี ข้ึนไปรวมท้ังสิ้นจํานวน ๖๖๑,๙๓๐ คน
ซ่งึ อยใู่ นกาํ ลงั แรงงาน จํานวน ๔๗๖,๕๕๔ คน หรือคิดเป็น (รอ้ ยละ ๗๑.๙๙) ในปีพ.ศ. ๒๕๕๙ และจํานวน
๔๖๒,๘๐๗ หรือคิดเป็น (ร้อยละ ๗๐.๐๘) ในปี ๒๕๕๘ พบว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดีกว่า ๒ ปีท่ีผ่านมา ผู้อยู่ใน
กําลังแรงงานมจี ํานวน ๔๗๖,๕๕๔คน จาํ แนกเปน็

 ผู้มีงานทํา จํานวน ๔๘๖,๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๗๑ ของประชากรอายุ
๑๕ ปี ขึน้ ไป (ชายร้อยละ ๗๗.๔๓ หญิงร้อยละ ๖๔.๕๒)

 ผู้ว่างงาน ซ่ึงหมายถึงผู้ไม่มีงานทําและพร้อมท่ีจะทํางาน มีจํานวน ๕,๗๑๐ คน หรือ
คดิ เป็นอัตราการวา่ งงาน ร้อยละ ๐.๙ ชายร้อยละ ๐.๙๑ หญิงร้อยละ ๐.๘๒

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 9

 ผทู้ ่ีรอฤดูกาล หมายถึง ผู้ที่ไม่มีงานทําและไม่พร้อมที่จะทํางาน เนื่องจากรอทํางาน
ในฤดูกาลเพาะปลูกตอ่ ไป มีจาํ นวน ๒,๗๔๔ คน หรือรอ้ ยละ ๐.๔

ตารางท่ี 2 แสดงจานวนประชากรจาแนกตามสถานภาพแรงงาน ปพี .ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕60

สถานภาพแรงงาน ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙ ปี 2560

ประชากรอายุ ๑๕ ปี ขน้ึ ไป ม.ค. – ธ.ค. ม.ค. – ธ.ค. ม.ค. – ธ.ค. ม.ค. – ธ.ค.
๑. ผ้อู ย่ใู นกําลงั แรงงาน
๖๕๗,๗๒๓ ๖๖๐,๓๖๖ ๖๖๑,๙๓๐ 664,245
๑.๑. ผูม้ ีงานทํา ๔๖๕,๘๓๒ ๔๖๒,๘๐๗ ๔๗๖,๕๕๔ 465,893
๑.๒. ผวู้ ่างงาน ๔๕๘,๐๕๑ ๔๕๗,๙๙๙ ๔๖๘,๑๐๐ 458,421
๑.๓. กําลงั แรงงานทรี่ อ ๓,๕๘๙ ๔,๖๐๓ ๕,๗๑๐ 5,296
ฤดูกาล ๔,๑๙๓ ๒,๗๔๔ 2,176
๒. ผ้ทู ไ่ี ม่อยู่ในกาํ ลงั แรงงาน ๑๙๑,๘๙๑ ๒๐๕ ๑๘๕,๓๗๕ 198,352
๒.๑. ทาํ งานบา้ น ๕๔,๑๔๓ ๑๙๗,๕๕๙ ๔๘,๕๑๐ 48,826
๒.๒. เรียนหนังสือ ๔๖,๙๗๓ ๔๖,๘๗๖ ๔๔,๕๙๙ 45,685
๒.๓. อน่ื ๆ ๙๐,๗๗๕ ๕๓,๙๕๗ ๙๒,๒๖๖ 103,842
* อัตราการวา่ งงาน ๙๖,๗๒๗
๐.๕ ๐.๙ 1.1
๐.๗

ตารางที่ 3 แสดงจานวนตาแหน่งงาน ผู้สมคั รงาน และการบรรจุงานปีพ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕60

ปี พ.ศ. ตาแหน่งงานว่าง (อตั รา) ผลู้ งทะเบยี นสมคั รงาน (คน) บรรจุงาน (คน)
ชาย หญิง ไม่ระบุ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
ปี ๒๕๕๗ ๖๒๓ ๔๓๔ ๓,๖๙๔ ๔,๗๕๑ ๒,๒๐๑ ๓,๐๗๘ ๕,๒๗๙ ๑,๖๔๗ ๒,๕๖๒ ๔,๒๐๙
ปี ๒๕๕๘ ๓๕๕ ๑๑๘ ๔,๗๐๘ ๕,๑๘๑ ๒,๓๕๖ ๓,๑๕๑ ๕,๕๐๗ ๑,๙๒๕ ๒,๗๓๘ ๔,๖๖๓
ปี ๒๕๕๙ ๕๙๙ ๓๒๖ ๔,๐๔๐ ๔,๙๖๕ ๑,๒๔๐ ๑,๕๕๔ ๒,๗๙๔ ๑,๒๔๓ ๑,๘๘๖ ๓,๑๒๙

ปี 2560 410 208 2,247 2,865 374 655 1,029 562 958 1,520

(ที่มา :สาํ นักงานแรงงาน จงั หวดั ราชบุร)ี

3) ความต้องการแรงงาน (ตาแหน่งวา่ ง ผู้สมคั รงาน และการบรรจุงาน)
ส่วนใหญ่ต้องการผู้จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษามากท่ีสุด ร้อยละ ๔๐.๙๘ ของความ

ต้องการแรงงานในจังหวัด รองลงมาได้แก่ ระดับประถมศึกษาและตํ่ากว่า ร้อยละ ๒๓.๗๓ ระดับ ปวช.
ร้อยละ ๒๐.๕๙ ระดับ ปวส. ร้อยละ ๘.๘๒ ระดับอนุปริญญา ร้อยละ ๓.๗๓ และระดับปริญญาตรี
รอ้ ยละ ๒.๑๖

อุตสาหกรรมท่ีมีความต้องการแรงงานมากที่สุด ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิต ร้อยละ
๕๔.๓๑ ได้แก่ การผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร การผลิตผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ ที่ทําจากแร่อโลหะ การผลิต สิ่งทอ
รองลงมา ได้แก่ อุตสาหกรรมการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์ ร้อยละ
๓๐.๗๘ อตุ สาหกรรมทพ่ี ักแรมและบรกิ ารด้านอาหาร รอ้ ยละ ๗.๐๖

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 10

อาชีพทมี่ ีความตอ้ งการแรงงานมากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่อาชพี งานพืน้ ฐาน ร้อยละ ๓๙.๘๐ได้แก่
แรงงานบรรจุผลิตภัณฑ์ผู้ทําความสะอาดสํานักงาน โรงงานโรงแรม และสถานท่ีทําการ ผู้ซักล้างและรีด
เส้ือผ้ารองลงมา ได้แก่ อาชีพพนักงานบริการ พนักงานขายในร้านค้าและตลาด ร้อยละ ๑๗.๘๔
(ซ่ึงไดแ้ กพ่ นักงานขายของหน้าร้านและพนักงานสาธิตสินค้า พ่อครัว พนักงานบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม)
อาชีพเสมียน เจ้าหน้าที่ ร้อยละ ๑๓.๑๔ (ซึ่งได้แก่ เจ้าหน้าที่สํานักงาน เจ้าหน้าท่ีคลังสินค้า เจ้าหน้าท่ี
เกบ็ เงินและเจ้าหนา้ ทข่ี ายต๋วั )

4) การเดินทางไปทางานต่างประเทศ ปี 2560 พบว่าจังหวัดราชบุรี มีผู้แจ้งความ
ประสงค์ไปทํางานต่างประเทศ จํานวน 257 คน แยกเป็นชาย 209 คน และหญิง 48 คน ส่วนใหญ่จบ
การศึกษาระดับมัธยมศึกษา และระดับประถมศึกษาและต่ํากว่า สําหรับการเดินทางไปทํางานเป็นการไป
ทํางานโดยวิธี Re-Entry จํานวน 161 คน เดินทางด้วยตนเอง จํานวน 19 คน นายจ้างพาไปฝึกงาน
จํานวน 10 คน และนายจา้ งพาไปทํางาน จาํ นวน 67 คน

5) แรงงานตา่ งด้าว
ข้อมูลจากสํานักงานจัดหางานจังหวัดราชบุรี ปี 2560 มีจํานวน 47,584 คน แยกเป็น

ประเภทช่วั คราว (มาตรา 9) จาํ นวน 626 คน ประเภทส่งเสริมการลงทุน (มาตรา 12) จํานวน 103 คน ประเภท
ชนกลุ่มน้อย (มาตรา 13) จํานวน 3,988 คน นําเข้า MOU จํานวน 5,972 คน และพิสูจน์สัญชาติ (พม่า ลาว
กัมพูชา) จํานวน 36,895 คน ส่วนจํานวนแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) ในจังหวัดมีจํานวน
42,867 คน (พม่า จาํ นวน 38,222 คน ,ลาว จาํ นวน 1,509 คน และกมั พูชา จาํ นวน 3,136 คน)

4. ดา้ นยาเสพตดิ ของจงั หวดั ราชบุรี

สถานการณด์ ้านการค้าและการแพร่ระบาด
การแพร่ระบาดยาเสพติดในพื้นที่จังหวัดราชบุรีอยู่ในระดับดีขึ้น จากการติดตาม
สถานการณย์ าเสพติดของคณะทาํ งานเฝาู ระวังปญั หายาเสพตดิ จงั หวดั ราชบุรี สถิติการจับกุมผู้กระทําผิดคดี
ยาเสพติดจาํ แนกรายอาํ เภอในพืน้ ท่ีจงั หวดั ราชบุรี พบว่า อําเภอบ้านโปุง อําเภอเมืองราชบุรี และอําเภอโพ
ธาราม พ้ืนที่ที่สามารถจับกุมในคดียาเสพติดมากที่สุด ส่วนการแพร่ระบาดของยาเสพติด พบว่ามีแนวโน้ม
เพ่ิมขึ้นในพื้นที่ อําเภอบ้านโปุง และอําเภอบ้านแพ ส่วนอําเภอเมืองราชบุรี และโพธาราม มีแนวโน้มลดลง
สถิติการจับกุมผู้กระทําความผิดจําแนกตามประเภทยาเสพติดในพ้ืนท่ีจังหวัดราชบุรี พบว่ามีการจัดกุมยา
เสพตดิ ๓ ประเภทคอื ยาบา้ กญั ชา และไอซ์ โดยยาบ้ายังเปน็ ยาเสพติดหลัก ทั้งนี้ของกลางยาบ้าท่ีสามารถ
จับกมุ มีปริมาณเพม่ิ ขึน้ เฉพาะในพน้ื ที่อาํ เภอบ้านโปงุ

ในพ้ืนที่จังหวัดราชบุรียังคงมีเครือข่ายกลุ่มผู้ค้ายาเสพติดที่ลักลอบนําเข้ายาบ้าและไอซ์
จากภาคเหนือโดยใช้จังหวัดราชบุรีเป็นจุดพักยาเสพติด เพื่อผ่านลงสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งใช้
กระจายยาเสพตดิ ไปยังจงั หวัดข้างเคียง ยาเสพติดที่แพร่ระบาดมากท่ีสุดได้แก่ ยาบ้า กัญชา กระท่อม และ
ไอซ์ จากข้อมูลที่ได้รับยังไม่พบว่ามีสถานการณ์การลักลอบนําเข้ายาเสพติดในพื้นท่ีบริเวณชายแดนติดกับ
ประเทศเพ่อื นบ้านแต่อย่างใดส่วนใหญ่จะเป็นการจบั กมุ คดยี าเสพติดจากพน้ื ท่ีตอนในเทา่ น้ัน

แนวโน้มของสถานการณย์ าเสพตดิ
1. มีแนวโน้มการลักลอบนําเข้ายาบ้า และไอซ์จากภาคเหนือของเครือข่ายกลุ่มผู้ค้า
ยาเสพติด และใช้จังหวัดราชบุรีเป็นจุดพักและทางผ่านลงสู่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีกลุ่มเครือข่าย
บางกลุ่มใช้เป็นพ้นื ทพี่ ักยา และกระจายยาเสพตดิ ไปยังจงั หวัดข้างเคียง

แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 11

2. การคา้ ยาเสพติดในระดบั ผูค้ ้ารายย่อยจะเป็นการทําการค้าในระบบเครือญาติ ซึ่งจะนํา
ยาเสพตดิ มาจาํ หน่ายโดยผา่ นทางคนรจู้ กั หรอื ญาติ แล้วขายตอ่ กบั บคุ คลทัว่ ไปเพ่อื หากาํ ไรอีกทอดหนึง่

3. มีเจ้าหน้าท่ีรัฐเข้าไปเกี่ยวข้องกับการค้ายาเสพติด โดยจะรับยาเสพติดจากชายแดน

กาญจนบุรแี ละสง่ ตอ่ ยาเสพติดในพ้ืนทจ่ี ังหวัดอื่น ๆ ต่อไป

4. ผู้ค้ายาเสพติดมีแนวโน้มท่ีจะส่ังยาเสพติดมาจากชายแดนทางภาคเหนือเป็นจํานวน
ครั้งละมาก ๆ ในแตล่ ะคร้ัง โดยใช้วิธกี ารนําญาติหรอื คนร้จู กั ไปเปน็ ตัวประกนั ไว้กบั ผู้ขายท่ีฝั่งเมยี นมาร์

5. ขอ้ มลู ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

5.1 ทรพั ยากรป่าไม้
จังหวัดราชบุรีหน่ึงในผืนปุาภาคตะวันตก เป็นพื้นท่ีที่มีความต่อเน่ืองกับผืนปุา

ทุ่งใหญ่นเรศวร ซึ่งเป็นมรดกโลก และผืนปุาแก่งกระจานรวมท้ังเชื่อมต่อกับพื้นที่ปุาประเทศเพ่ือนบ้าน
ซึ่งเป็นผืนปุาเขตร้อนช้ืนที่สําคัญของเอเชียความอุดมสมบูรณ์ด้านพันธ์ุพืชและพันธ์ุสัตว์ปุาหายาก เช่น
นกเงือก นกเก็กชะนีหน้าขาว ซ่ึงพื้นท่ีปุาส่วนใหญ่ในจังหวัดราชบุรีอยู่ในบริเวณเขตแดนด้านทิศตะวันตก
ติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ และเขตแดนด้านทิศใต้ติดกับจังหวัดเพชรบุรีมีสภาพเป็น
เทือกเขาสูง สภาพปุาเป็นปุาดิบปุาเบญจพรรณปุาเต็งรังและปุาไผ่ความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลาง
ตั้งแต่ ๒๐๐ เมตร ถึง ๑,๑๐๐ เมตร อยู่ในเขตพ้ืนท่ีอําเภอสวนผึ้ง อําเภอบ้านคา และด้านทิศตะวันตกของ
อําเภอปากท่อซ่ึงพ้ืนที่อําเภอสวนผ้ึงอําเภอบ้านคาและอําเภอจอมบึงพ้ืนที่จะประกอบด้วยปุาและภูเขา
อันเป็นส่วนหน่ึงของเทือกเขาตะนาวศรีบริเวณถัดจากเทือกเขามาทางด้านทิศตะวันออกจนถึงตอนกลาง
ของพื้นที่จังหวัดมีลักษณะเป็นที่ราบสูงและเป็นลอนลาดมีแม่นํ้าภาชี และลําห้วยสาขาเป็นแม่นํ้าสายหลัก
อยู่ในเขตพื้นที่อําเภอสวนผึ้งอําเภอบ้านคาอําเภอจอมบึงและด้านทิศตะวันตกของอําเภอปากท่อเมือง
ราชบรุ ี โพธาราม และอาํ เภอบา้ นโปุง ทําใหม้ คี วามหลากหลายทางชวี ภาพ

จังหวัดราชบุรีมีพ้ืนท่ีปุาเหลืออยู่ประมาณ ๑,๐๖๓,๒๙๐.๙๖ไร่ หรือร้อยละ ๓๒.๗๘

ของพน้ื ทจ่ี ังหวดั ทั้งหมด ปุาไม้ส่วนใหญ่จะอยู่ในพ้ืนที่เขาและเทือกเขาตะนาวศรี โดยข้อมูล ๕ ปีย้อนหลังมี

จํานวนพ้ืนท่ีปุาไม้เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย สําหรับพื้นที่ปุาไม้จําแนกตามลักษณะบังคับตามกฎหมาย

ประกอบด้วย

- ปุาสงวนแหง่ ชาติ มีพ้ืนที่ ๑,๘๖๔.๙๕ ตารางกิโลเมตร

- อุทยานแหง่ ชาติ มพี ื้นท่ี ๓๒๘.๗๔ ตารางกโิ ลเมตร

- เขตรักษาพันธุ์สตั วป์ าุ มีพืน้ ที่ ๔๘๙.๓๑ ตารางกโิ ลเมตร

- ทรี่ าชพัสดุ มีพ้ืนท่ี ๘๐๐.๐๐ ตารางกโิ ลเมตร

5.2 ทรัพยากรนา้
๑) แหล่งน้าธรรมชาติท่ีสาคัญ ได้แก่ แม่น้ําแม่กลองไหลผ่านจังหวัดราชบุรีในเขต

อําเภอบา้ นโปงุ อําเภอโพธาราม อําเภอเมอื งราชบุรี และอําเภอดําเนินสะดวก รวมความยาว ๖๗ กิโลเมตร
แม่นํ้าแควอ้อม เป็นสาขาของแม่นํ้าแม่กลองในเขตอําเภอเมืองฯ และอําเภอวัดเพลง แม่นํ้าภาชี ต้นนํ้า
เกิดจากเทือกเขาตะนาวศรีในเขตอําเภอบ้านคา ไหลผ่าน อําเภอสวนผ้ึง อําเภอจอมบึง ไปบรรจบ
แม่นํา้ ไทรโยค ในเขตจังหวดั กาญจนบรุ ี มคี วามยาวเฉพาะ ในเขตจังหวดั ราชบรุ ี ๘๐ กิโลเมตร

แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 12

2) คุณภาพนา้
จากการติดตามคุณภาพน้ํา ปีพ.ศ. ๒๕๕๙ สํานักงานสิ่งแวดล้อมภาคท่ี ๘ (ราชบุรี)

ได้ดาํ เนนิ การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพนาํ้ ในแหล่งนํ้าผิวดินในเขตพื้นที่เขตจังหวัดราชบุรีได้แก่ แม่น้ําแม่กลอง
คลองดําเนินสะดวก คลองวัดประดู่และคลองสาขาตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับท่ี๘)
พ.ศ. ๒๕๓๗ออกตามในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
เรือ่ ง กาํ หนดมาตรฐานคุณภาพน้ําในแหล่งน้าํ ผิวดิน

5.3 ขยะมลู ฝอย
จากการคํานวณปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดข้ึนตามเกณฑ์ของกรมควบคุมมลพิษกับ

ฐานประชากรของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งตามเขตการปกครองในระดับท้องถ่ินคือ
เทศบาลเมืองอัตราการผลิตขยะมูลฝอยเท่ากับ๑.๑๕กก./คน/วันเทศบาลตําบลอัตราการผลิตขยะมูลฝอย
เทา่ กับ ๑.๐๒กก./คน/วันและองค์การบริหารสว่ นตําบลอัตราการผลติ ขยะมูลฝอยเท่ากับ๐. ๙๑กก./คน/วัน
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มีปริมาณที่เกิดข้ึน ๓๕๗,๒๕๖.๗๘ ตัน/ปี (๙๗๘.๗๙ตัน/วัน) ปริมาณขยะที่กําจัดไม่
ถูกต้อง ๘๔,๑๙๔.๕๕ ตัน/ปี (๒๓๐.๖๗ ตัน/วัน) ปริมาณขยะที่กําจัดถูกต้อง ๔๖,๐๘๔.๙๐ ตัน/ปี
(๑๒๖.๒๖ ตัน/วัน) ขยะมูลฝอยท่ีนําไปใช้ประโยชน์ ๗๖,๗๗๔.๘๐ ตัน/ปี (๒๑๐.๓๔ ตัน/วัน) และปริมาณ
ขยะมูลฝอยตกค้าง ๑๗,๔๓๓ ตัน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ในจังหวัดราชบุรี ปี พ.ศ. ๒๕๕๙
มีจาํ นวน ๑๑๑ แหง่ ประกอบด้วย เทศบาลเมือง ๔ แห่ง เทศบาลตําบล ๓๐ แห่ง และองค์การบริหารส่วน
ตําบล ๗๗ แหง่

จงั หวัดราชบรุ ยี ังมปี รมิ าณขยะเพิม่ ขน้ึ อย่างต่อเน่ืองจาก ๒๖๔.๐๑ ตัน/วนั ในปี
พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็น ๙๗๘.๗๙ ตนั /วนั ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ดงั แสดงในตาราง

ตารางที่ 4 : แสดงปริมาณขยะมูลฝอย ในจงั หวดั ราชบรุ ี ปพี .ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๙

ปี ปริมาณขยะ
๒๕๕๔ ๒๖๔.๐๑ ตัน/วนั
๒๕๕๕ ๓๗๖.๘๗ ตัน/วัน
๒๕๕๗ ๕๘๑.๖๗ ตนั /วัน
๒๕๕๘ ๘๙๕.๘๗ ตัน/วนั
๒๕๕๙ ๙๗๘.๗๙ ตัน/วัน

ท่มี า : สาํ นักงานทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจงั หวดั ราชบรุ ี)

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 13

ขอ้ มลู พน้ื ฐานดา้ นการศกึ ษาสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี
เขต 1

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีโรงเรียนในสังกัด จํานวน 175
โรงเรียน 2 สาขา (ข้อมูล ณ วันท่ี 10 มิถุนายน 2562) มีเขตพื้นท่ีรับผิดชอบ จํานวน 6 อําเภอ ได้แก่
อําเภอเมือง อําเภอปากท่อ อําเภอวัดเพลง อําเภอจอมบึง อําเภอสวนผึ้ง และอําเภอบ้านคา
โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

1. ด้านปริมาณ

ตารางที่ 5 จานวนนักเรยี น จาแนกตามระดับ และเพศ สังกัด สพฐ. ปีการศึกษา 2562

ระดับชั้น ชาย หญิง รวม
นกั เรียนระดับก่อนประถมศึกษา 3,831 3,450 7,281

นกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษา 12,538 11,287 23,825

นกั เรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1,774 1,498 3,272

รวมท้ังสิน้ 18,143 16,235 34,378

ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 มิ.ย.2562

ชาย หญิง

15,000 12,538 11,287

10,000 3,831 3,450 นกั เรยี นระดับประถมศกึ ษา 1,774 1,498
5,000
นักเรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
0

นักเรยี นระดบั ก่อนประถมศึกษา

ตารางที่ 6 จานวนนกั เรียน สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน จาแนกรายอาเภอและ

แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 14

ระดับชน้ั ปกี ารศึกษา 2562

ระดบั เพศ เมอื ง อาเภอ รวม รวม
สวนผึง้ ปากท่อ วัดเพลง
จอมบึง บา้ นคา ช้นั ระดบั
145 18 57 23
อ.1 ชาย 42 120 25 51 13 38 625
หญงิ 55 313 311 315 43 38
ก่อนประถม 309 280 272 36
อ.2 ชาย 592 337 323 309 46 138 3,262 7,281
หญงิ 527 327 293 273 38 126
449 389 326 40
อ.3 ชาย 628 377 314 262 32 153 3,394
หญิง 533 401 388 348 49 134
401 383 307 51
ป.1 ชาย 816 407 395 267 31 183 4,078
หญงิ 751 365 305 240 42 139
392 338 318 49
ป.2 ชาย 806 408 364 323 36 159 4,096
หญิง 679 353 385 325 56 124
351 287 242 32
ประถม ป.3 ชาย 750 378 337 329 45 150 3,778
หญิง 693 381 363 282 52 133 23,825
131 129 56 7 138
ป.4 ชาย 808 107 118 36 1 158 4,016
หญงิ 684 124 116 44 3
97 119 31 2
ป.5 ชาย 830 107 87 50 3 149 3,867
หญิง 718 94 103 33 1 139
3,537 3,216 2,744 395
ป.6 ชาย 810 3,337 2,954 2,352 336 144 3,990
หญงิ 721 148

ม.1 ชาย 284 57 1,186
หญงิ 216 44

รวม ัมธยม ม.2 ชาย 249 47 1,091 3,272
หญิง 214 45

ม.3 ชาย 232 48 995
หญิง 194 43

ชาย 6,847 1,404 34,378 34,378
1,271
หญงิ 5,985

ขอ้ มลู ณ วันที่ 10 มิ.ย.2562

ตารางที่ 7 จานวนโรงเรยี น ครู นกั เรยี น ปีการศกึ ษา 2562 จาแนกรายอาเภอ สังกัด สพฐ.

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 15

ที่ อาเภอ โรงเรยี น สังกดั สพฐ. นักเรยี น
49 ครู 12,832
1 เมืองราชบรุ ี 48 674 5,096
2 ปากท่อ 37 314 6,874
3 จอมบงึ 6 362
4 วัดเพลง 18 40 731
5 สวนผ้งึ 19 291 6,170
6 บ้านคา 177 145 2,675
34,378
รวม 1,826
ข้อมลู ณ วันท่ี 10 มิ.ย.2562 นร. : ครู
19:1
ตารางที่ 8 จานวนนกั เรียนต่อครู จาแนกรายอาเภอ ปีการศึกษา 2562 16:1
19:1
ที่ อาเภอ จานวนนักเรยี น จานวนครู 18:1
1 เมืองราชบุรี 12,832 674 21:1
2 ปากท่อ 5,096 314 18:1
3 จอมบึง 6,874 362 19:1
4 วัดเพลง 731 40
5 สวนผ้งึ 6,170 291 นร. : หอ้ ง
6 บ้านคา 2,675 145 21:1
34,378 1,826 13:1
รวม 17:1
15:1
ตารางท่ี 9 จานวนนักเรียนตอ่ ห้อง จาแนกรายอาเภอ ปีการศึกษา 2562 23:1
17:1
ที่ อาเภอ จานวนนักเรียน จานวนหอ้ ง 18:1
1 เมอื งราชบุรี 12,832 601
2 ปากท่อ 5,096 398
3 จอมบึง 6,874 393
4 วดั เพลง 731 48
5 สวนผงึ้ 6,170 264
6 บา้ นคา 2,675 161
34,378 1,865
รวม

ตารางท่ี 10 จานวนสถานศึกษา (ในระบบ) ทุกสังกดั จาแนกตามสังกัด ปีการศกึ ษา 2562

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พื้นฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 16

ระดับท่ีเปิดสอน สงั กดั ในสังกัด สกอ. นอกสงั กดั รวม
สพฐ. 1 สอศ. สานักพุทธ เทศบาล ตชด.
กอ่ นประถมศกึ ษา 147 1
ก่อนประถม - ประถม 30 1 32 152
ก่อนประถม - ม.ตน้ 2 4 34
ก่อนประถม - ม.ปลาย 177 1
1
ประถม - ม.ปลาย 1
ม. ตน้ ระดบั เดยี ว 1
ม. ตน้ - ม.ปลาย 3
ระดบั อาชวี ศึกษา 3 1
193
ระดับปรญิ ญาตรี 31 82
รวม

ตารางที่ 11 จานวนโรงเรยี นขนาดเล็ก จาแนกเป็นรายอาเภอ ประจาปี 2562

ที่ จานวนนกั เรยี น เมือง จานวนโรงเรียนแยกตามรายอาเภอ บ้านคา รวม
ปากท่อ วัดเพลง จอมบึง สวนผึ้ง 1
1 0 – 20 3 - 10
411 - 2 10
2 21 – 40 6 4- - - 2 20
4 - 64 3 29
3 41 – 60 4 7191 1 22
7142 9 13
4 61 – 80 9 713 - 104
33 4 23 7
5 81 – 100 5

6 101 - 120 1

รวมท้ังสน้ิ 28

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 10 มิ.ย.2562

ตารางท่ี 12 จานวนสถานศึกษาสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน จาแนกตาม

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 17

ขนาด 7 ขนาด

จานวนสถานศกึ ษาจาแนกตามขนาด

อาเภอ 120 121- 201- 301-499 500- 1,500- 2,500 รวม
คน 200 2,499 คนขน้ึ ไป
300 คน 1,499 คน 49
คน 2 37
ลงมา คน คน - 20
- - 47
เมอื งราชบรุ ี 28 11 25 1 - 6
1 - 18
จอมบึง 23 6 24 1 - 177
- 2
สวนผ้งึ 7 2 35 3
-
ปากท่อ 33 8 42 - -

วัดเพลง 41 -1 - -

บ้านคา 9 4 41 - 1

รวมท้ังส้ิน 104 32 15 18 5

ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 มิ.ย.2562

2. ดา้ นคณุ ภาพการศกึ ษา 18

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1

1. ผลสมั ฤทธิ์ของนกั เรียนจากการการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET)
ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561

ตารางที่ 13 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิข์ องนักเรียนจากการทดสอบระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ปีการศกึ ษา 2561 ระดบั ประเทศและระดับเขตพนื้ ท่ี

ระดับประเทศ ระดบั เขตพื้นที่ คะแนนเฉลย่ี
สูงกวา่ /
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉลย่ี S.D. คะแนนเฉลย่ี S.D. ตา่ กวา่

ภาษาไทย 55.90 15.65 54.68 14.54 -1.22
ภาษาองั กฤษ 39.24 18.38 35.34 15.31 -3.90
คณติ ศาสตร์ 37.50 20.41 35.79 18.44 -1.71
วทิ ยาศาสตร์ 39.93 12.63 38.53 12.00 -1.40
43.14 16.77 41.09 15.07 -2.05
เฉลยี่ ร้อยละ

คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ คะแนนเฉล่ยี ระดับเขตพ้ืนท่ี
55.90 54.68
60.00 37.50 35.79 39.93 38.53
50.00 39.24 35.34
40.00
30.00
20.00
10.00
0.00

ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

จากตาราง พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน มีคะแนนเฉล่ียร้อยละเรียงลําดับจากมากไปน้อย คือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 54.68 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 38.53 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ 35.79 และกลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาองั กฤษ 35.34 ตามลําดับ

และพบว่า คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ต่ํากว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่ต่ํากว่าระดับประเทศมากท่ีสุด คือ กลุ่มสาระ
การเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ -3.90

ตารางท่ี 14 เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ของนักเรียนจากการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
ปกี ารศกึ ษา 2561 ระดบั สังกดั และระดับเขตพ้ืนที่

แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 19

ระดับสังกดั ระดับเขตพื้นท่ี คะแนนเฉล่ีย
สงู กวา่ /
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คะแนน S.D. คะแนน S.D. ตา่ กวา่
เฉลยี่ เฉลยี่
ภาษาไทย +0.07
ภาษาอังกฤษ 54.61 15.20 54.68 14.54 -0.13
คณิตศาสตร์ +0.14
วิทยาศาสตร์ 35.47 15.05 35.34 15.31 -0.30
-0.05
เฉลย่ี รอ้ ยละ 35.65 18.98 35.79 18.44

38.83 11.91 38.53 12.00

41.14 15.29 41.09 15.07

คะแนนเฉลย่ี ระดบั สงั กัด คะแนนเฉลีย่ ระดับเขตพนื้ ที่
54.61 54.68
60

35.47 35.34 35.65 35.79 38.83 38.53
40

20

0 ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาไทย

จากตาราง พบว่า ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน มีคะแนนเฉล่ียร้อยละเรียงลําดับจากมากไปน้อย คือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 54.68 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 38.53 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ 35.79 และกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาอังกฤษ 35.34 ตามลําดบั

และพบว่า คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา สูงกว่าระดับสังกัด 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระที่มีคะแนนเฉลี่ย
ร้อยละสงู กวา่ ระดับสงั กัดมากทสี่ ดุ คอื กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ +0.14

ตารางท่ี 15 เปรียบเทียบผลการประเมินระดับชาติ (O-NET) นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับเขตพื้นที่
ปีการศึกษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560 และปกี ารศึกษา 2561 สานกั งานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1

แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 20

ที่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ค่าเฉล่ียรอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ ร้อยละ คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ + เพมิ่
ปี กศ. 2559 ปี กศ. 2560 ปี กศ. 2561 - ลด
1 ภาษาไทย +8.38
2 ภาษาอังกฤษ 51.99 46.30 54.68 +2.05
3 คณติ ศาสตร์ 31.66 33.29 35.34 -0.75
4 วิทยาศาสตร์ 39.59 36.54 35.79 -0.13
40.34 38.66 38.53 +2.40
เฉลี่ย 41.85 38.69 41.09

คา่ เฉล่ียร้อยละปี กศ. 2559 ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละปี กศ. 2560 ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละปี กศ. 2561

60.00 51.99 54.68

50.00 46.30 31.66 35.34 39.59 35.79 40.34 38.53
40.00 33.29 36.54 38.66
30.00

20.00

10.00

0.00 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์

ภาษาไทย

จากตาราง พบวา่ ผลสมั ฤทธิ์ของนักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละเรียงตามลําดับจากมากไปน้อย
คอื กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 54.68 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 38.53 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ 35.79 และกลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษ 35.34 ตามลาํ ดับ

และพบว่า คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ในปีการศึกษา 2561 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าในปีการศึกษา 2560 และ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉล่ียร้อยละสูงกว่าปีการศึกษา 2560 มากท่ีสุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย +8.38

ตารางที่ 16 ผลสัมฤทธิข์ องนักเรียนจากการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
ปกี ารศึกษา 2561 เรียงตามลาดับคะแนนเฉลยี่ 4 กล่มุ สาระการเรียนรู้ มากไปหา
คะแนนน้อย ระดบั เครอื ข่าย

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 21

ท่ี เครอื ขา่ ย ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เฉลีย่
61.82 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ 44.80
12 53.82 39.15 49.99
21 54.76 47.21 46.14 38.30 41.34
33 53.25 35.06 37.31 39.29 40.48
49 53.28 34.77 34.07 36.00 40.34
56 53.45 33.76 35.06 36.65 39.04
65 52.67 33.86 33.01 37.10 38.14
78 52.95 30.22 32.24 34.97 38.13
84 50.73 31.22 31.52 35.06 37.99
97 32.30 31.74 36.80
29.78 31.64

จากตาราง พบว่า ในระดับเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา เครือข่ายท่ี 2 มีค่าเฉลี่ยรวม 4
กลมุ่ สาระสงู สดุ ร้อยละ 49.99 เมื่อแยกเปน็ รายสาระ พบวา่ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เครือข่ายที่ 2
มีคะแนนเฉลีย่ สงู สุดร้อยละ 61.82 กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เครือข่ายที่ 2 มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด
ร้อยละ 47.21 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เครือข่ายที่ 2 มีคะแนนเฉล่ียสูงสุดร้อยละ 46.14 และ
กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เครือข่ายท่ี 2 มคี ะแนนเฉล่ียสูงสุดรอ้ ยละ 44.80

2. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2561

ตารางที่ 17 เปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนจากการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3
ปกี ารศกึ ษา 2561 ระดบั ประเทศและเขตพื้นที่

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 22

ระดับประเทศ ระดับเขตพนื้ ที่ คะแนนเฉลย่ี
สงู กวา่ /
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉลี่ย S.D คะแนนเฉลี่ย S.D. ตา่ กว่า
-4.28
ภาษาไทย 54.42 16.02 50.14 13.51 -4.12
ภาษาอังกฤษ 29.45 11.55 25.33 6.63 -4.94
คณิตศาสตร์ 30.04 16.03 25.10 10.48 -3.44
วิทยาศาสตร์ 36.10 11.01 32.66 8.40 -4.19
37.50 13.65 33.31 9.76
รวม/ เฉล่ีย

ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละระดับประเทศ ค่าเฉล่ยี ร้อยละระดับเขตพ้นื ท่ี

60.00 54.42
40.00 50.14
20.00
29.45 25.33 30.04 36.10
25.10 32.66

0.00

ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

จากตาราง พบว่า ผลสมั ฤทธขิ์ องนักเรยี น มีคะแนนเฉล่ียร้อยละเรียงตามลําดับจากมากไปหาน้อย

คือ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 50.14 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 32.66 กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษ 25.33 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 25.10

และพบว่า คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ตํ่ากว่าระดับประเทศทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพ้ืนที่ต่ํากว่าระดับประเทศมากท่ีสุด คือ กลุ่มสาระ
การเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ -4.94

ตารางที่ 18 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติข้ันพื้นฐาน ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3
ปีการศึกษา 2561 ระดับสังกดั และระดับเขตพื้นที่

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับสังกัด ระดับเขตพ้นื ที่ คะแนนเฉลย่ี สงู

คะแนนเฉลย่ี S.D คะแนนเฉลีย่ S.D. กวา่ /

แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 23

ภาษาไทย 55.04 15.79 50.14 13.51 ต่ากว่า
ภาษาองั กฤษ 29.10 10.94 25.33 6.63 -4.90
คณติ ศาสตร์ 30.28 16.02 25.10 10.48 -3.77
วทิ ยาศาสตร์ 36.43 10.99 32.66 8.40 -5.18
37.71 13.44 33.31 9.76 -3.77
รวม/ เฉลี่ย -4.40

คะแนนเฉลีย่ ระดบั สังกดั คะแนนเฉลย่ี ระดบั เขตพ้ืนท่ี

60.00 55.04 50.14 29.10 25.33 30.28 36.43
50.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ 25.10 32.66
40.00
30.00 คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
20.00
10.00

0.00

จากตาราง พบว่า ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละเรียงตามลําดับจากมากไปหาน้อย
คอื กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย 50.14 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 32.66 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาองั กฤษ 25.33 กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ 25.10

และพบว่า คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่การศึกษา ต่ํากว่าระดับสังกัดทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับเขตพื้นที่ตํ่ากว่าระดับสังกัดมากที่สุด คือ กลุ่มสาระการ
เรยี นรู้คณิตศาสตร์ -5.18

ตารางที่ 19 เปรียบเทียบผลการประเมนิ ระดับชาติ (O-NET) นกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3
ปกี ารศึกษา 2559 ปกี ารศึกษา 2560 และปกี ารศึกษา 2561 ระดบั เขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

ที่ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยร้อยละ คา่ เฉลย่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ยี ร้อยละ คะแนนเฉล่ีย
ปี กศ. 2559 ปี กศ. 2560 ปี กศ. 2561 สูงกว่า/ ต่ากว่า

แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 24

1 ภาษาไทย 43.31 44.41 50.14 +5.73
2 ภาษาองั กฤษ 27.56 26.69 25.33 -1.36
3 คณิตศาสตร์ 24.64 21.08 25.10 +4.02
4 วทิ ยาศาสตร์ 31.88 29.73 32.66 +2.93
34.70 30.47 33.31 +2.84
รวม/ เฉลยี่

คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละปี กศ. 2559 ค่าเฉลย่ี ร้อยละปี กศ. 2560 คา่ เฉลี่ยร้อยละปี กศ. 2561

60.00 50.14 27.56 25.33 24.64 25.10 31.88 32.66
50.00 43.31 26.69 21.08 29.73
40.00 44.41

30.00

20.00

10.00

0.00 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาไทย

จากตาราง พบว่า มีคะแนนเฉล่ียร้อยละเรียงตามลําดับจากมากไปน้อย คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย 50.14 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 32.66 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 25.33
และ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ 25.10

และพบวา่ คะแนนเฉลยี่ ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ปีการศึกษา 2561 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยะระดับ
เขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา 2560 จํานวน 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และตํ่ากว่าปีการศึกษา 2559
1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉล่ียตํ่าที่สุดคือ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาองั กฤษ -1.36

3. ผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test: NT) ช้ันประถมศึกษา
ปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2561 ระดบั ประเทศ

ตารางท่ี 20 เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผ้เู รียนระดับชาติ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3
ปีการศึกษา 2561 ระดบั ประเทศและระดบั เขตพืน้ ท่ี

ความสามารถของผ้เู รยี น ระดับประเทศ ระดบั เขตพื้นท่ี คะแนนเฉลย่ี สูงกว่า/ ตา่ กวา่

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 25

ความสามารถด้านภาษา คะแนนเฉล่ียร้อยละ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ -0.32
ความสามารถด้านคํานวณ 53.18 52.86 -0.04
ความสามารถด้านเหตุผล 47.19 47.15 +0.54
48.07 48.61 +0.07
เฉลยี่ 49.48 49.55

คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ คะแนนเฉล่ยี ระดับเขตพนื้ ท่ี

53.18 52.86

54

53

52

51 48.07 48.61
50
49 47.19 47.15

48

47

46

45

44

ความสามารถด้านภาษา ความสามารถด้านคานวณ ความสามารถด้านเหตผุ ล

จากตาราง พบว่า ผลการทดสอบความสามารถขั้นพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561 ระดบั เขตพ้ืนที่ สูงกว่าระดับประเทศ 1 ด้าน คือ ความสามารถด้านเหตุผล และ
ตํ่ากว่าระดับประเทศ 2 ด้าน คือความสามารถด้านภาษา และความสามารถด้านคํานวณ โดยมีคะแนน
เฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 49.55 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ระดับเขตพื้นท่ีผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ย
ความสามารถด้านภาษามากเป็นลาํ ดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 52.86 รองลงมาได้แก่ ความสามารถด้านเหตุผล
คิดเป็นรอ้ ยละ 48.61 และความสามารถด้านคํานวณ คิดเปน็ ร้อยละ 47.15 ตามลําดับ

ตารางที่ 21 เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3
ปีการศกึ ษา 2559 - 2561 ระดบั เขตพ้ืนท่ี

ความสามารถของผู้เรยี น ปกี ารศึกษา ปกี ารศึกษา ปีการศกึ ษา ผลต่าง ผลต่าง
2559 2560 2561 คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉล่ีย
ปี 2561/ ปี 2561/
คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉล่ีย ปี 2559 ปี 2560
รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 26

ความสามารถด้านภาษา 51.90 54.68 52.86 +0.96 -1.82

ความสามารถด้านคาํ นวณ 37.33 38.68 47.15 +9.82 +8.47

ความสามารถด้านเหตุผล 53.68 46.16 48.61 -5.07 +2.45

เฉลยี่ 47.63 46.50 49.55 +1.92 +3.05

คะแนนเฉลีย่ ปกี ารศกึ ษา 2559 คะแนนเฉล่ยี ปกี ารศกึ ษา 2560 คะแนนเฉลี่ยปีการศกึ ษา 2561

60.00 51.90 54.68 52.86 47.15 53.68 46.16 48.61
37.33 38.68
50.00

40.00

30.00

20.00

10.00

0.00 ความสามารถดา้ นคานวณ ความสามารถด้านเหตผุ ล

ความสามารถดา้ นภาษา

จากตาราง พบว่า ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ช้ันประถมศึกษา
ปที ี่ 3 ระดบั เขตพ้นื ที่ ปีการศึกษา 2561 สูงกว่าปกี ารศกึ ษา 2559 จํานวน 2 ด้าน ได้แก่ ความสามารถ
ด้านภาษา คิดเปน็ ร้อยละ 52.86 (+0.96) ความสามารถด้านคาํ นวณ คดิ เป็นร้อยละ 47.15 (+9.82)
และปีการศึกษา 2561 สูงกว่าปีการศึกษา 2560 จํานวน 2 ด้าน ได้แก่ ความสามารถด้านคํานวณ
คิดเป็นร้อยละ 47.15 (+8.47) และความสามารถด้านเหตุผล คิดเป็นร้อยละ 48.61 (+2.45) ส่วน
ความสามารถด้านเหตุผล ปีการศึกษา 2561 ตํ่ากว่าปีการศึกษา 2559 คิดเป็นร้อยละ 48.61 (-5.07)
และด้านความสามารถดา้ นภาษา ตาํ่ กว่าปกี ารศึกษา 25560 คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.86 (-1.82) ตามลําดบั

ตารางท่ี 22 ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผ้เู รียนระดับชาติ (National Test : NT)
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2561 ระดบั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1

ความสามารถ จานวน คะแนนเฉลี่ย ร้อยละของจานวนนกั เรยี น
ด้านภาษา นักเรียน รอ้ ยละ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดเี ยย่ี ม
15.78 39.38 35.56 9.26
3,636 52.86

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 27

ดา้ นคํานวณ 3,636 47.15 19.82 43.56 23.04 13.55

ด้านเหตผุ ล 3,636 48.61 19.89 39.18 32.85 8.06

รวม/ เฉล่ีย 3636 49.55 16.84 47.30 29.41 6.43

จากตาราง พบว่า ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ช้ันประถมศึกษาที่ 3
ปกี ารศกึ ษา 2561 ระดบั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย
ด้านภาษา สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 52.86 รองลงมาได้แก่ ด้านเหตุผล คิดเป็นร้อยละ 46.16 และ
ด้านคาํ นวณ คิดเป็นรอ้ ยละ 47.15 ตามลําดบั

เมื่อพิจารณาระดับความสามารถของนักเรียนในภาพรวม พบว่า นักเรียนมีความสามารถในระดับ
พอใช้ สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 47.30 รองลงมา ได้แก่ ระดับ ดี คิดเป็นร้อยละ 29.41 ระดับปรังปรุง คิด
เปน็ ร้อยละ 16.84 และระดับ ดมี าก คิดเป็นร้อยและ 6.43 ตามลําดับ

เม่ือพิจารณาระดับความสามารถของนักเรียนในระดับดีมาก พบว่า นักเรียนมีความสามารถ
ด้านคํานวณ สงู สดุ คิดเป็นร้อยละ 13.55 รองลงมา ได้แก่ ความสามารถด้านภาษา คิดเป็นร้อยละ 9.26
และความสามารถดา้ นเหตผุ ล คดิ เปน็ ร้อยและ 8.06 ตามลาํ ดบั

เมื่อพิจารณาระดับความสามารถของนักเรียนในระดับดี พบว่า นักเรียนมีความสามารถด้านภาษา
สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 35.56 รองลงมา ได้แก่ ความสามารถด้านเหตุผล คิดเป็นร้อยละ 32.85 และ
ความสามารถดา้ นคาํ นวณ คดิ เปน็ ร้อยละ 23.04 ตามลําดับ

เม่ือพิจารณาระดับความสามารถของนักเรียนในระดับปรับปรุง พบว่า นักเรียนมีความสามารถด้าน
เหตุผล สูงสุดคิดเป็นร้อยละ 19.89 รองลงมา ได้แก่ ความสามารถด้านคํานวณ คิดเป็นร้อยละ 19.82
และด้านภาษา คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.78 ตามลําดบั

ตารางท่ี 23 ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2561 เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

ท่ี เครือข่าย จานวน คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ เฉลี่ย
1 เครอื ข่ายท่ี 1 637 ความสามารถของนักเรยี น 53.91
ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล
57.71 51.87 52.16

แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 28

2 เครือข่ายท่ี 2 555 57.72 52.32 51.39 53.81
3 เครอื ข่ายท่ี 5 318 55.07 51.93 51.97 52.99
4 เครอื ข่ายที่ 3 226 55.72 50.07 51.87 52.55
5 เครอื ข่ายที่ 4 280 55.65 47.01 49.90 50.85
6 เครอื ข่ายที่ 9 258 45.63 44.72 48.70 46.35
7 เครือข่ายที่ 6 464 50.73 41.50 45.38 45.87
8 เครือข่ายที่ 7 267 50.58 41.42 44.89 45.63
9 เครือข่ายที่ 8 609 49.02 41.50 42.63 44.38

จากตาราง พบว่า ในระดับเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยภาพรวมเครือข่ายที่ 1
มีคะแนนเฉลี่ย ท้ัง 3 ด้าน สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 53.91 รองลงมา ได้แก่ เครือข่ายท่ี 2 มีคะแนนเฉลี่ย
คิดเป็นร้อยละ 53.81 เครือข่ายที่ 5 มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 52.99 และเครือข่ายท่ี 3
มีคะแนนเฉล่ยี คิดเป็นรอ้ ยละ 52.55 ตามลําดบั

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ความสามารถด้านภาษา เครือข่ายท่ี 2 มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด
คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.72 รองลงมา ได้แก่ เครือข่ายท่ี 1 มีคะแนนเฉล่ียคิดเป็นร้อยละ 57.71 เครือข่ายที่ 3
มีคะแนนเฉลย่ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 55.72 และเครอื ขา่ ยท่ี 4 มีคะแนนเฉลี่ยคิดเปน็ ร้อยละ 55.65 ตามลําดบั

ความสามารถด้านคํานวณ พบว่า เครือข่ายท่ี 2 มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 52.33
รองลงมา ได้แก่ เครือข่ายท่ี 5 มีคะแนนเฉล่ียคิดเป็นร้อยละ 51.93 เครือข่ายท่ี 1 มีคะแนนเฉล่ียคิดเป็น
ร้อยละ 51.87 และเครอื ข่ายท่ี 3 มคี ะแนนเฉลีย่ คิดเปน็ ร้อยละ 50.07 ตามลาํ ดบั

ความสามารถด้านเหตุผล พบว่า เครือข่ายท่ี 1 มีคะแนนเฉล่ียสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 52.16
เครือข่ายท่ี 5 มีคะแนนเฉล่ียคิดเป็นร้อยละ 51.97 เครือข่ายท่ี 3 มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 51.87
และเครือข่ายที่ 2 มคี ะแนนเฉลี่ยคิดเปน็ รอ้ ยละ 51.39 ตามลาํ ดับ

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ( พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 29

สว่ นท่ี 2

บริบทที่เกย่ี วข้องด้านการศึกษา

ศาสตรพ์ ระราชา

“ศาสตร์พระราชา” ตาราแห่งชวี ิต

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ “ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนา
อย่างย่ังยืน” เมื่อวันศุกร์ที่ 23 ธันวาคม 2559 ดังน้ี “ด้วยสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร
มหาวชิราลงกรณ์ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพวรางกูร พระราชทาน
พระบรมราโชวาท ให้รัฐมนตรีซึ่งได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งใหม่เฝูาทูลละอองธุลีพระบาท
ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับหน้าที่ เม่ือวันท่ี 20 ธันวาคม ท่ีผ่านมา ณ พระที่น่ังอัมพรสถาน
พระราชวังดุสติ

ในโอกาสนี้ผมขออัญเชิญกระแสพระราชดารัสของ สมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร
มหาวชิราลงกรณ์ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพวรางกูร อันมีใจความสาคัญ
เป็นสิริมงคลแก่คณะรัฐมนตรีและปวงพสกนิกรทุกหมู่เหล่า ผมเห็นว่าพวกเราทุกคนควรได้ระลึกและ
รบั ใสเ่ กล้าใส่กระหม่อม น้อมนาไปสู่การปฏิบัติ สรปุ ใจความได้วา่ ...

“...ขอให้น้อมนาศาสตร์พระราชา” แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชการท่ี 9 โดยใหศ้ ึกษาวเิ คราะห์พระราชดาริและแนวทางพระราชทานนานัปการ ตลอดระยะเวลา 70 ปี
รวมทั้ง พระราชกรณยี กิจและการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีต่าง ๆ ในความรับผิดชอบ รวมทั้งยึดถือเป็นแบบอย่างท่ีดีใน
กิจวัตรประจาวัน อันจะเป็นสิริมงคล เป็นพระคุ้มครอง และเป็น “แสงสว่างนาทาง” ให้แก่ปวงชนชาวไทย
ทุกคนตลอดไป เพ่ือสนองพระราชปณิธาน และเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทยท้ังปวง อย่างไร
ก็ตาม การปฏิบัติงานใด ๆ ย่อมมีปัญหา ย่อมมีอุปสรรค ก็ขอให้ปรึกษากัน หาข้อมูลที่ถูกต้อง และปฏิบัติ
ด้วยความรอบคอบ ทันกาลเหมาะสมกับสถานการณ์และมีเหตุผล ทั้งน้ี ปัญหาและอุปสรรคเหล่านั้น
นอกจากจะเปน็ เสมอื น “บททดสอบ บทเรียน” แล้ว ยังเป็นสิ่งที่ช่วย “เพ่ิม” ความสามารถให้กับเราทุกคน
ดว้ ย ดังน้ัน ตอ้ งมีความตัง้ ใจ มีขนั ติ มคี วามอดทน ตลอดจนมคี วามกระตือรือร้นท่ีจะศึกษาปัญหาและแก้ไข
ให้รอบคอบ กจ็ ะได้ผลต่อประเทศ และเป็นบญุ เปน็ กศุ ลกบั ตนเองดว้ ย...” นะครบั

“ศาสตร์พระราชา” ถือว่าเป็น “ตาราแห่งชีวิต” เพราะบันทึกจากประสบการณ์จากการทรงงาน
ท่ีทาให้ประเทศไทยสามารถผ่านวิกฤตการณ์ต่าง ๆ มาได้ทุกมิติ ผมขอชื่นชมส่ือทุกแขนงที่ได้นาเสนอ
ในรูปแบบต่าง ๆ สู่สายตาประชาชน และเยาวชนรุ่นใหม่ให้รับรู้เข้าใจได้ลึกซึ้งและถ่องแท้มากย่ิงข้ึน เพื่อ
สามารถนอ้ มนาไปสูก่ ารปฏิบัตไิ ด้เป็นอยา่ งดี

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1

หลกั การทรงงาน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ 9

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงเปน็ พระมหากษัตริยท์ นี่ อกจากจะทรงด้วยทศพธิ ราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็น
พระราชาท่ีเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และการทางานแก่พสกนิกรของพระองค์และนานาประเทศ
อีกด้วย ผู้คนต่างประจักษ์ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์และมีความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็น
ล้นพ้นอันหาที่สุดไม่ได้ ซ่ึงแนวคิดหรือหลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลท่ี 9 มีความน่าสนใจท่ีสมควร
นามาประยุกต์ใช้กับชีวิตการทางานเป็นอย่างยิ่ง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบื้องพระยุคลบาท
ท่านสามารถนาหลกั การทรงงานของพระองค์ไปปรบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ ดงั น้ี

1. จะทาอะไรต้องศึกษาขอ้ มูลใหเ้ ปน็ ระบบ
ทรงศกึ ษาข้อมลู รายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบ้อื งต้น ท้ังเอกสารแผนท่ี สอบถามจาก

เจา้ หน้าท่ี นักวชิ าการ และราษฎรในพืน้ ทใ่ี ห้ไดร้ ายละเอยี ดทถี่ กู ต้อง เพือ่ นาขอ้ มูลเหล่านัน้ ไปใชป้ ระโยชน์
ไดจ้ ริงอย่างถูกตอ้ ง รวดเร็ว และตรงตามเปูาหมาย

2. ระเบกิ จากภายใน
จะกระทาการใดๆ ต้องเรม่ิ จากคนท่เี กยี่ วขอ้ งเสียก่อน ต้องสรา้ งความเข้มแขง็ จากภายในให้เกิด

ความเขา้ ใจและอยากทา ไม่ใชก่ ารสง่ั ให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทากเ็ ป็นได้ ในการทางานนั้นอาจจะต้อง
คยุ หรือประชุมกับลกู น้อง เพ่ือนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียกอ่ น เพอ่ื ให้ทราบถงึ เปาู หมายและวธิ ีการตอ่ ไป

3. แกป้ ญั หาจากจดุ เล็ก
ควรมองปัญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เม่ือจะลงมือแก้ปัญหานั้น ควรมองขยับขยายแก้ไปเร่ือยๆ

ทีละจุด เราสามารถเอามาประยุกต์ใช้กับการทางานได้ โดยมองไปที่เปูาหมายใหญ่ของงานแต่ละชิ้น
แล้วเร่ิมลงมือทาจากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุล่วงไปได้ตาม
เปาู หมายท่วี างไว้ “ถ้าปวดหัวคดิ อะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวน้ีก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้อง
แกป้ ัญหาที่ทาใหเ้ ราปวดหัวให้ไดเ้ สยี กอ่ น เพอ่ื จะให้อยใู่ นสภาพที่ดีได้...”

4. ทาตามลาดับขนั้
เร่ิมต้นจากการลงมือในส่ิงที่จาเป็นก่อน เมื่อสาเร็จแล้วก็เร่ิมลงมือสิ่งที่จาเป็นลาดับต่อไป

ดว้ ยความรอบคอบและระมัดระวัง ถา้ ทาตามหลกั น้ีได้ งานทกุ ส่ิงก็จะสาเร็จได้โดยง่าย...ในหลวงรัชกาลท่ี 9
ทรงเริ่มต้นจากสิ่งท่ีจาเป็นที่สุดของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็นเรื่อง
สาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐาน และส่ิงจาเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนนแหล่งน้าเพื่อการเกษตร
การอุปโภคบริโภคเน้นการ ปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์
สูงสุด “การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของ
ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบ้ืองต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เพ่ือได้
พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจ
ข้นั ทสี่ งู ขึน้ โดยลาดับตอ่ ไป...” พระบรมราโชวาทของในหลวงรชั กาลที่ 9 เมอ่ื วันที่ 18 กรกฎาคม 2517

แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 31

5. ภมู สิ ังคม ภมู ิศาสตร์ สังคมศาสตร์
การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยา

เก่ียวกับลักษณะนิสัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถ่ิน ที่มีความแตกต่างกัน
“การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา
คอื นิสัยใจคอ ของคนเรา จะไปบังคับให้คนอ่ืนคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไร
จรงิ ๆ แลว้ ก็อธบิ ายใหเ้ ขาเข้าใจหลักการของการพฒั นาน้ีกจ็ ะเกิดประโยชน์อย่างยง่ิ ”

6. ทางานแบบองคร์ วม
ใช้วธิ ีคดิ เพ่อื การทางาน โดยวิธคี ิดอยา่ งองคร์ วม คือการมองส่งิ ต่างๆ ที่เกิดอย่างเปน็ ระบบ

ครบวงจร ทกุ ส่งิ ทุกอยา่ งมมี ติ ิเชื่อมตอ่ กนั มองสิง่ ทเี่ กิดข้นึ และแนวทางแก้ไขอย่างเชือ่ มโยง
7. ไม่ตดิ ตารา
เมอื่ เราจะทาการใดนั้น ควรทางานอยา่ งยืดหย่นุ กับสภาพและสถานการณ์นนั้ ๆ ไม่ใชก่ ารยดึ ติด

อยกู่ บั แคใ่ นตาราวชิ าการ เพราะบางทีความรทู้ ่วมหวั เอาตัวไม่รอด บางคร้งั เรายดึ ติดทฤษฎีมากจนเกินไป
จนทาอะไรไมไ่ ดเ้ ลย สง่ิ ทเ่ี ราทาบางครั้งต้องโอบอ้อมต่อสภาพธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม สงั คม และจิตวทิ ยา
ด้วย

8. รูจ้ ักประหยัด เรียบงา่ ย ได้ประโยชนส์ ูงสุด
ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใชห้ ลักในการแกป้ ญั หาด้วยความ

เรียบง่ายและประหยดั ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถน่ิ และประยุกต์ใชส้ ่ิงท่ีมอี ย่ใู นภมู ภิ าคน้นั มา
แก้ไข ปรับปรุงโดยไม่ตอ้ งลงทุนสงู หรอื ใชเ้ ทคโนโลยีท่ยี งุ่ ยากมากนัก ดังพระราดารัสตอนหนึง่ ว่า
“...ใหป้ ลกู ปุาโดย ไมต่ ้องปลกู โดยปล่อยให้ขั้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัดงบประมาณ...”

9. ทาให้ง่าย
ทรงคดิ ค้น ดัดแปลง ปรับปรุงแกละแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้

โดยง่าย ไมย่ งุ่ ยากซับซ้อนและทสี่ าคัญอยา่ งย่ิงคือ สอดคล้องกบั สภาพความเป็นอย่ขู องประชาชนและ
ระบบนิเวศโดยรวม “ทาให้งา่ ย”

10. การมีส่วนร่วม
ทรงเป็นนกั ประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรอื เจา้ หน้าท่ีทุกระดบั

ได้มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สาคญั ท่ีสุดจะตอ้ งหัดทาใจให้กวา้ งขวาง หนักแน่น ร้จู ักรับฟงั ความคดิ เห็น
แมก้ ระท่ังความวพิ ากษ์วิจารณจ์ ากผูอ้ ่ืนอยา่ งฉลาดนัน้ แท้จรงิ คอื การระดมสตปิ ัญญาและประสบการณ์
อันหลากหลายมาอานวยการปฏิบัตบิ ริหารงานให้แระสบผลสาเร็จทส่ี มบรู ณน์ ่ันเอง”

11. ตอ้ งยึดประโยชนส์ ่วนรวม
ในหลวงรชั การที่ 9 ทรงระลกึ ถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมเป็นสาคญั ดังพระราชดารชั

ตอนหนึ่งวา่ “...ใครตอ่ ใครบอกว่า ขอให้เสียสละสว่ นตวั เพื่อส่วนรวม อนั น้ีฟงั จนเบื่ออาจราคาญดว้ ยซา้ วา่
ใครต่อใครมาก็บอกวา่ ขอให้คิดถงึ ประโยชนส์ ่วนรวม อาจมานกึ ในใจวา่ ให้ ๆ อยู่เร่ือยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร
ขอให้คิดวา่ คนท่ีใหเ้ ปน็ เพ่ือสว่ นรวมน้นั มไิ ด้ใหส้ ่วนรวมแตอ่ ยา่ งเดียว เป็นการให้เพอ่ื ตัวเองสามารถท่จี ะมี
ส่วนรวมที่จะอาศยั ได้...”

แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 32

12. บรกิ ารท่จี ดุ เดียว
ทรงมีพระราชดาริมากว่า 20 ปีแลว้ ใหบ้ รหิ ารศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาหลายแห่งทวั่ ประเทศ

โดยใช้หลักการ “การบริการรวมท่จี ดุ เดียว : One Stop Service” โดยทรงเนน้ เรื่องร้รู ักสามคั คีและ
การร่วมมอื ร่วมแรงรว่ มใจกันด้วยการปรับลดชอ่ งว่างระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง

13. ใช้ธรรมชาติชว่ ยธรรมชาติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั รัชกาลที่ 9 ทรงเขา้ ใจถงึ ธรรมชาตแิ ละต้องการใหป้ ระชาชน

ใกล้ชดิ กบั ทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอยา่ งละเอียด โดยหากเราต้องการแกไ้ ขธรรมชาติ
จะตอ้ งใหธ้ รรมชาติเข้าชว่ ยเหลือเราดว้ ย

14. ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม
ทรงนาความจริงในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑข์ องธรรมชาตมิ าเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติ

ในการแกไ้ ขปญั หาและปรบั ปรุงสภาวะท่ีไมป่ กติเข้าสู่ระบบทป่ี กติ เช่น การบาบัดนา้ เน่าเสยี โดยใช้
ผกั ตบชวา ซึ่งมตี ามธรรมชาติใหด้ ดู ซึมสงิ่ สกปรกปนเปื้อนในนา้

15. ปลกู ปุาในใจคน
การจะทาการใดสาเร็จต้องปลูกจติ สานึกของคนเสียก่อน ตอ้ งใหเ้ ห็นคณุ ค่าเห็นประโยชน์กบั

สิ่ง ทีจ่ ะทา... “เจ้าหนา้ ทป่ี าุ ไมค้ วรจะปลูกตน้ ไมล้ งในใจคนเสยี กอ่ นแล้วคนเหล่านน้ั ก็จะพากนั ปลูก
ต้นไมล้ งบนแผน่ ดนิ และจะรักษาต้นไม้ดว้ ยตนเอง

16. ขาดทุนคอื กาไร
หลกั การในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี 9 ทมี่ ีตอ่ พสกนิกรไทย “การให้” และ

“การเสยี สละ” เปน็ การกระทาอันมผี ลเปน็ กาไร คือความอยู่ดมี สี ุขของราษฎร
17. การพ่งึ พาตนเอง
การพฒั นาตามแนวพระราชดาริ เพ่อื การแก้ไขปัญหาในเบื้องตน้ ดว้ ยการแก้ไขปัญหาเฉพาะ

หน้า เพือ่ ให้มคี วามแข็งแรงพอทจ่ี ะดารงชีวิตไดต้ ่อไป แล้วข้นั ต่อไปก็คอื การพฒั นาใหป้ ระชาชนสามารถ
อยูใ่ นสงั คมได้ตามสภาพแวดลอ้ มและสามารถพึ่งตนเองได้ในท่สี ดุ

18. พออยู่พอกนิ
ใหป้ ระชาชนสามารถอยอู่ ยา่ ง “พออย่พู อกนิ ” ให้ได้เสยี ก่อน แล้วจงึ ค่อยขยับขยายใหม้ ี

ขดี สมรรถนะท่กี ้าวหน้าต่อไป
19. เศรษฐกิจพอเพียง
เปน็ ปรชั ญาที่ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดารัชช้แี นะแนวทางการดาเนนิ ชีวติ

ให้ดาเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อใหร้ อดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อยา่ งมั่นคงและย่งั ยืนภายใตท้ ้งั
ระดับบคุ คล องค์กร และชมุ ชน

20. ความซอ่ื สัตย์สจุ รติ จริงใจต่อกัน
ผู้ที่มีความสุจริตและบริสทุ ธใ์ิ จ แม้จะมีความรูน้ ้อย ก็ย่อมทาประโยชน์ใหแ้ กส่ ว่ นรวมได้

มากกว่าผู้ที่มคี วามรู้มาก แต่ไม่มคี วามสุจริต ไม่มคี วามบริสุทธ์ใิ จ
21. ทางานอย่างมีความสขุ
ทางานตอ้ งมคี วามสุขด้วย ถา้ เราทาอยา่ งไม่มีความสขุ เราจะแพ้ แค่ถ้าเรามคี วามสขุ เราจะชนะ

สนกุ กบั การทางานเพียงเท่านั้น ถือว่าเราชนะแลว้ หรอื จะทางานโดยคานึงถึงความสุขท่เี กิดจากการไดท้ า
ประโยชนใ์ ห้กบั ผู้อ่นื กส็ ามารถทาได้ “...ทางานกับฉนั ฉันไม่มีอะไรให้ นอกจากการมีความสขุ ร่วมกันในการ
ทาประโยชน์ใหก้ ับผู้อน่ื ...”

แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 33

22. ความเพียร
การเริม่ ตน้ ทางานหรือทาสิ่งใดนน้ั อาจจะไม่ได้มคี วามพร้อม ต้องอาศยั ความอดทนและ

ความมงุ่ มน่ั ดังเชน่ พระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษตั ริยผ์ เู้ พยี รพยายามแม้จะไม่เหน็ ฝ่ังก็จะวา่ ยนา้ ต่อไป
เพราะถา้ ไมเ่ พียรวา่ ยกจ็ ะตกเป็นอาหารปู ปลาและไม่ได้พบกับเทวดาที่ชว่ ยเหลือมิใหจ้ มน้า

23. รู้ รกั สามคั คี
- รู้ คอื รู้ปญั หาและร้วู ิธีแกป้ ัญหาน้นั
- รกั คอื เม่อื เรารถู้ งึ ปญั หาและวธิ แี ก้แลว้ เราตอ้ งมคี วามรกั ทจี่ ะลงมือทา ลงมือแก้ไขปัญหา

นั้น
- สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ไม่สามารถลงมอื ทาคนเดยี วได้ ต้องอาศยั ความรว่ มมอื

รว่ มใจ

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 34

พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในรชั กาลท่ี 10

การศึกษาตอ้ งมุ่งสรา้ งพนื้ ฐานใหแ้ กผ่ ู้เรียน 4 ด้าน

1. มที ศั นคตทิ ีถ่ ูกต้องตอ่ บา้ นเมือง
1.1 ความรู้ความเข้าใจต่อบ้านเมือง
1.2 ยดึ ม่นั ในศาสนา
1.3 มัน่ คงในสถาบนั พระมหากษัตริย์
1.4 มคี วามเอ้อื อาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน

2. มพี ืน้ ฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม
2.1 รู้จกั แยกแยะสิ่งทผ่ี ดิ ชอบ/ ช่วั -ดี
2.2 ปฏบิ ัติแตส่ ่ิงท่ชี อบ สิ่งทดี่ งี าม
2.3 ปฏเิ สธสิง่ ท่ผี ิด ส่งิ ที่ชว่ั
2.4 ชว่ ยกันสร้างคนดใี หแ้ ก่บ้านเมอื ง

3. มีงานทา มีอาชีพ
3.1 การเลี้ยงดลู ูกหลานในครอบครัวหรอื การฝกึ ฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งใหเ้ ด็กและเยาวชน

รักงาน สงู้ าน ทาจนงานสาเร็จ
3.2 การฝึกฝนอบรมทงั้ ในหลกั สตู รและนอกหลักสตู รต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรยี นทางานเป็นและ

มีงานทาในทส่ี ุด
3.3 ต้องสนบั สนนุ ผสู้ าเรจ็ หลกั สตู รมอี าชีพ มีงานทา จนสามารถเลยี้ งตวั เองและครอบครัว

4. เปน็ พลเมืองดี
4.1 การเปน็ พลเมืองดี เปน็ หนา้ ทขี่ องทุกคน
4.2 ครอบครวั สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องสง่ เสริมใหท้ กุ คนมีโอกาสทาหนา้ ที่เป็น

พลเมืองดี
4.3 การเปน็ พลเมอื ง “เห็นอะไรท่จี ะทาเพ่ือบ้านเมืองไดก้ ็ตอ้ งทา เชน่ งานอาสาสมัคร งาน

บาเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ลให้ทาดว้ ยความมีน้าใจ และความเอือ้ อาทร”

แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 35

ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580

วสิ ยั ทัศน์ประเทศไทย

“ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒน าแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเปน็ คติพจน์ประจาชาตวิ า่ “ม่นั คง ม่งั คั่ง ย่งั ยนื ”

เป้าหมาย

1. ประเทศไทยมคี วามมัน่ คง
1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอก

ประเทศในทุกระดบั ทัง้ ระดับประเทศ สงั คม ชมุ ชน ครวั เรอื น และปัจเจกบคุ คล และมีความม่ันคงในทุกมิติ
ท้ังมติ ิเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดล้อม และการเมอื ง

1.2 ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัติริย์
ทีเ่ ขม้ แขง็ เป็นศูนย์กลางและทยี่ ดึ เหนี่ยวจติ ใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความมนั่ คง เป็นกลไกท่ีนาปสู่
การบริหารประเทศทต่ี ่อเน่อื งและโปร่งใสตามหลกั ธรรมาภิบาล

1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลังเพ่ือพัฒนาประเทศชุมชน
มีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอนุ่

1.4 ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ท่ีมั่นคงพอเพียงกับการดารงชีวิต มีที่อยู่
อาศยั และความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สิน

1.5 ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม มคึ วามมน่ั คงของอาหาร พลังงาน และน้า
2. ประเทศมคี วามม่งั คง่ั

2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเป็นประเทศในกลุ่ม
รายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาเท่าเทียมกัน
มากข้ึน

2.2 เศรษฐกิจ มีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งภายในภูมิภาค ท้ังการ
คมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทาธุรกิจ มีบทบาทสาคัญในระดับภูมิภาคและระดับโลก
เกดิ สายสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ และการค้าอย่างมพี ลัง

2.3 ความสมบรู ณใ์ นทุนทจ่ี ะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทาง
ปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเคร่ืองมือเคร่ืองจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยการธรรมชาติ และ
สง่ิ แวดลอ้ ม

3. ประเทศมคี วามยัง่ ยืน
3.1 การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้น

อย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะ
ต่อสง่ิ แวดล้อมจนเกนิ ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนเิ ทศน์

3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของ
ประชาคมโลก ซ่งึ เป็นที่ยอมรบั รว่ มกัน ความอุดมสมบรู ณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ
ดีขนึ้ คนมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม มีความเออ้ื อาทร เสียสละเพือ่ ผลประโยชนส์ ่วรวม

3.3 ประชาชนทกุ ภาคส่วนในสงั คมยดึ ถอื และปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 36

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ชาติ

1. ยุทธศาสตร์ด้านความมน่ั คง

ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเปูาหมายการพัฒนาท่ีสาคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชน
มีความสขุ เน้นการบริหารจดั การสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย
และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติสังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ
เทคโนโลยีและระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคาม และภัยพิบัติ ได้ทุก
รูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการปูองกันและแก้ไขปัญหา ด้านความมั่นคงที่มีอยู่
ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ทั้งกับส่วนราชการ
ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้าน และมิตรประเทศท่ัวโลก
บนพื้นฐานของหลกั ธรรมาภิบาล เพอ่ื เอื้ออานวยประโยชน์ตอ่ การดาเนินการ ของยุทธศาสตร์ชาติด้านอื่น ๆ
ให้สามารถขบั เคล่อื นไปไดต้ ามทศิ ทางและเปาู หมายท่ีกาหนด

2. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั

มีเปูาหมายการพัฒนา ท่ีมุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติบนพื้นฐาน
แนวคดิ 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดตี ” โดยมองกลับไปทร่ี ากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์วัฒนธรรม
ประเพณีวิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรี ยบเทียบ
ของประเทศ ในด้านอื่น ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้สอดรับกับบริบท
ของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน ของประเทศในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต
และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึง
ปรับรูปแบบธุรกิจ เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ท่ีรองรับอนาคต
บนพ้นื ฐานของการตอ่ ยอดอดตี และปรับปจั จบุ นั พรอ้ มทงั้ การสง่ เสริมและสนับสนนุ จากภาครัฐ ให้ประเทศ
ไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุน ในเวทีโลก ควบคู่
ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดีรวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนชั้นกลาง และลดความเหลื่อมล้าของ
คนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน

3. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์

มีเปูาหมาย การพัฒนาที่สาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และ
มีคุณภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดี
ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์อดออม โอบอ้อมอารีมีวินัย รักษา
ศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 มีทักษะ สื่อสาร
ภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง
อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่
และอืน่ ๆ โดยมสี มั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง

แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบรุ ี เขต 1 37

4. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

มีเปูาหมาย การพัฒนาท่ีให้ความสาคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน
ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด
ร่วมทา เพ่ือส่วนรวม การกระจายอานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับ
ท้องถ่ิน การเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของ
ประชากรไทย ทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถ
พ่ึงตนเอง และทาประโยชน์ แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานท่ีสุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึง
บรกิ ารและสวสั ดิการทม่ี คี ณุ ภาพ อย่างเปน็ ธรรมและท่ัวถงึ

5. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม

มีเปูาหมายการพัฒนาที่สาคัญเพ่ือนาไปสู่การบรรลุเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งด้าน
สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน ท้ังภายใน และ
ภายนอกประเทศอยา่ งบรู ณาการ ใช้พ้นื ท่ีเปน็ ตวั ตง้ั ในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝุายที่
เกี่ยวขอ้ งไดเ้ ข้ามามีสว่ นร่วมในแบบทางตรงให้มากทส่ี ุดเท่าท่ีจะเปน็ ไปไดโ้ ดยเปน็ การดาเนินการ บนพื้นฐาน
การเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สงิ่ แวดล้อม และคณุ ภาพชวี ติ โดยให้ความสาคัญ กับการสร้าง
สมดลุ ทัง้ 3 ด้าน อันจะนาไปสูค่ วามย่ังยืนเพอ่ื คนรุ่นตอ่ ไปอยา่ งแท้จริง

6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ

มีเปูาหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อปรับเปล่ียนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพ่ือ
ประชาชน และประโยชนส์ ว่ นรวม” โดยภาครฐั ตอ้ งมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะ บทบาท
หน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าท่ีในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง
ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิและผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย
และพรอ้ มท่จี ะปรับตวั ใหท้ ันต่อการเปลีย่ นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง การนานวัตกรรม
เทคโนโลยีขอ้ มูลขนาดใหญร่ ะบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบ
ได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะเปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามี
ส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วน
ในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธ
ไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากน้ัน กฎหมาย ต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่
จาเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่ การลดความเหลื่อมล้า และเอ้ือต่อ
การพฒั นา โดยกระบวนการยตุ ธิ รรมมีกร่ บริหารทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอานวย
ความยตุ ธิ รรมตามหลักนิติธรรม

แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 38

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

วสิ ยั ทศั น์

คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21

ยทุ ธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวจิ ัย และนวตั กรรมเพื่อสร้างขดี ความสามารถ

ในการแข่งขันของประเทศ
ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพอื่ สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา

เป้าหมาย

1. การเขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษา (Access)
2. ความเท่าเทียมทางการศกึ ษา (Equity)
3. คุณภาพการศึกษา (Quality)
4. ประสิทธภิ าพ (Efficiency)
5. ตอบโจทยบ์ ริบทท่ีเปลี่ยนแปลง (Relevancy)

การขบั เคลื่อนแผนการศกึ ษาแห่งชาติสูก่ ารปฏิบัติ

1. สร้างความรู้ความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสาคัญและพร้อมเข้าร่วม
ผลกั ดนั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาตไิ ปสู่การปฏบิ ตั ิ

2. สร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายรฐั บาล แผนพัฒนาการศึกษา ระยะ 5 ปี แผนปฏิบัติราชการระยะ 4 ปี และแผนปฏิบัติการประจาปี
ของหนว่ ยงาน องคก์ ร

3. ปรับปรุงกฎหมาย กฎ และระเบียบต่าง ๆ ให้เอื้อต่อการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษา ในระยะ
ต่าง ๆ

4. สรา้ งช่องทางให้ประชาสังคมมโี อกาสแสดงความคดิ เห็นและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่าง
กวา้ งขวาง ทง้ั ระดบั นโยบายและพ้ืนที่

แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ.2563-2565) สพป.ราชบุรี เขต 1 39


Click to View FlipBook Version