The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน SAR โรงเรียนบ้านหนองฆ้อ2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krucake99, 2021-03-09 11:31:27

รายงาน SAR โรงเรียนบ้านหนองฆ้อ2562

รายงาน SAR โรงเรียนบ้านหนองฆ้อ2562



รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2562

โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ห น อ ง ฆ้ อ
อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง

สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระยองเขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ



คานา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR)
โรงเรียนบ้านหนองฆ้อปีการศึกษา 2562 เป็นการสรุปผลการจดั การศึกษา ทีส่ อดคล้องกบั บริบท สภาพ และ
ความต้องการของสถานศกึ ษา สะทอ้ นผลคุณภาพของการดาเนินงานของสถานศกึ ษา โดยนาเสนอข้อมลู พ้ืนฐาน
เบ้อื งต้นของสถานศึกษา และมุ่งเนน้ ตอบคาถาม 3 ข้อ คอื 1. มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษามีคุณภาพ
อยใู่ นระดับใด 2. ขอ้ มลู หลกั ฐานและเอกสารเชงิ ประจักษ์สนบั สนนุ มอี ะไรบา้ ง และ 3. แนวทางการพฒั นา
คณุ ภาพใหส้ ูงขน้ึ กวา่ เดิมเปน็ อย่างไร ซึง่ เป็นผลสาเรจ็ จากการบริหารจัดการศึกษาทส่ี อดคล้องกบั มาตรฐาน
การศึกษาระดับปฐมวัย จานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คณุ ภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ
และการจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเป็นสาคญั และมาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จานวน 3
มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพผูเ้ รียน กระบวนการบริหารและการจดั การ และกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่
เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั และเพื่อเตรยี มความพร้อมรองรับในการประเมินคณุ ภาพภายนอกในคราวตอ่ ไป

หวงั เปน็ อย่างยงิ่ ว่า รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR)
จะเปน็ สารสนเทศสาคัญทส่ี ถานศกึ ษาจะนาไปใช้พัฒนาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐานและดียิ่งขึ้นตอ่ ไป

ลงช่ือ
(นางจารุวรรณ สาเรจ็ กิจ)

ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านหนองฆ้อ



สารบัญ

หน้า

คานา………………………………………………………………….........………...............………........................................2
สารบัญ....................................................................................................................... ..................................3
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา......................................................................................................4

1.1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป........................................................................................................................4
1.2 ข้อมูลผบู้ รหิ าร....................................................................................................................4
1.3 ข้อมลู บุคลากรของสถานศึกษา...........................................................................................4
1.4 ขอ้ มลู นกั เรยี น......................................................................................................................8
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา.........................................................................................9
2.1 ระดับปฐมวยั .........................................................................................................................9

2.1.1 มาตรฐานที่ 1........................................................................................................9
2.1.2 มาตรฐานท่ี 2........................................................................................................12
2.1.3 มาตรฐานท่ี 3........................................................................................................14
2.2 ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน.....................................................................................................16
2.2.1 มาตรฐานที่ 1........................................................................................................16
2.2.2 มาตรฐานท่ี 2.........................................................................................................22
2.2.3 มาตรฐานที่ 3 .......................................................................................................24
ภาคผนวก............................................................................................................................. .........................25



สว่ นท่ี 1

ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสถานศกึ ษา

1.1 ข้อมลู ทวั่ ไป

ช่ือโรงเรยี นบา้ นหนองฆ้อ ท่ีอยู่ บา้ นเลขที่ 109 หมู่ท่ี 7 ตาบลหนองบัว อาเภอบ้านคา่ ย จังหวัด

ระยองสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาระยองเขต 1 โทรศัพท์ 038010020

e-mail [email protected] เปดิ สอนระดับชั้นอนบุ าลชนั้ ปที ่ี 2 ถงึ ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3

1.2 ข้อมลู ผบู้ ริหาร

ช่ือผู้บรหิ ารสถานศึกษา นางจารุวรรณ สาเร็จกิจ วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุดการศึกษามหาบณั ฑิต

สาขาบรหิ ารการศึกษา โทรศัพท์ 0808942322 e-Mail: [email protected]

ดารงตาแหนง่ ท่โี รงเรียนน้ตี ั้งแต่ 20 ธันวาคม 2562 จนถงึ ปัจจุบนั เปน็ เวลา 3 เดือน

1.3 ข้อมลู บุคลากรของสถานศกึ ษา

1) จานวนบคุ ลากร

บคุ ลากร ผบู้ รหิ าร ครผู สู้ อน พนกั งานราชการ ครอู ตั ราจา้ ง เจา้ หนา้ ทอี่ นื่ ๆ

ปกี ารศกึ ษา 2562 1 16 1 14

2) วฒุ ิการศกึ ษาสงู สดุ ของบุคลากร ม.3 จานวน
ปวช. ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก
ช่ือ-สกลุ บคุ ลากร

1. นางจารวุ รรณ สาเร็จกิจ 
2. นายชลิต จติ รวี รรณ์ 
3. นางวัทนีย์ จติ รีวรรณ์ 
4. นางสาวภทั รพสุ กมุ พันธ์
5. นางสาวจนั ทนยี ์ วงษส์ วุ รรณ์ 
6. นางสาวสายน้าผ้งึ กบั แฟง 
7. นางสาวรัชนกี ร วงศ์จริ าษฏร์
8. นางสาวสุนสิ า จนั ทรจ์ รงิ 
9. นางสาวปารวี นติ ริ ัช 
10. นางสาวจันทร์เพญ็ ทรงฉาย 
11. นางรตั นาภรณ์ มมี านาน 
12. นางสาวสพุ ัชรี มาตวเิ ศษ 
13. นางสาวยพุ นิ บญุ ประเสริฐ
14. นางสาวกฤตกิ า แกว้ ทา 
15. นางสาวนลิน อนวิ ัต 
16. นางสาวชลดา หงษ์ชตู า 
17. นางสาวพรนิภา ยศบญุ 
18. นางสาวศริ ิวรรณ พงษ์นพคุณ 
19. นายอนชุ ิต ปะนามะทงั 





ชือ่ -สกลุ บคุ ลากร จานวน
ม.3 ปวช. ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก
20. นางสาวนภิ าพร โพนไชยา
21. นางสาวลคั คนา ถอนโพธิ์ 
22. นายสทิ ธโิ ชค วเิ ชยี นลา้ 
23. นายสมรัก จนั่ ทอง

รวม 

1 1 17 4

3) สาขาวชิ าทีจ่ บการศึกษาและภาระงานสอน

ชอ่ื -สกลุ บคุ ลากร สาขาวชิ าทจ่ี บ วิชาทสี่ อน ช้นั ทสี่ อน ภาระงานสอน
(ใสท่ งั้ ระดบั ปรญิ ญาตรี โท เอก) (ชม./สปั ดาห)์

1. นางจารุวรรณ สาเรจ็ กจิ ศษ.บ.เทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา - - *ผอ.รร.
ศษ.ม.บรหิ ารการศกึ ษา

2. นายชลติ จติ รีวรรณ์ ค.บ.สังคมศกึ ษา สงั คมศกึ ษา ป.5,ป.6, 20 ชม./สัปดาห์

ประวตั ศิ าสตร์ ม.1,ม.2,

ลูกเสือ – เนตรนารี ม.3

ลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้

ชมุ นมุ

3. นางวทั นีย์ จิตรีวรรณ์ ค.บ.บรรณารกั ษศาสตร์ การงานอาชีพฯ ป.4,ป.5, 19 ชม./สัปดาห์

งานเกษตร ป.6,ม.1,

งานชา่ งปนู ม.2,ม.3

งานทอผ้า

โครงงานเพ่มิ เตมิ

ลกู เสือ – เนตรนารี

ลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้

ชมุ นุม

4. นางสาวภทั รพสุ กมุ พันธ์ วท.บ.ชีววิทยา วิทยาศาสตร์ ป.4,ป.5, 18 ชม./สัปดาห์

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.6

คณติ ศาสตร์

สังคมศึกษา

แนะแนว

ลกู เสอื – เนตรนารี

ลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้

ชุมนุม

5. นางสาวจันทนยี ์ วงษ์สวุ รรณ์ ค.บ.ปฐมวัย ปฐมวยั อ.3 30 ชม./สปั ดาห์

กศ.ม.บรหิ ารการศกึ ษา

6. นางสาวสายน้าผงึ้ กบั แฟง ค.บ.คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ม.1,ม.2, 18 ชม./สปั ดาห์

การงานอาชีพฯ ม.3

สหกรณเ์ พม่ิ เตมิ

แนะแนว



ชือ่ -สกลุ บคุ ลากร สาขาวชิ าทจี่ บ วชิ าทส่ี อน ชั้นทสี่ อน ภาระงานสอน
(ใสท่ ง้ั ระดบั ปรญิ ญาตรี โท เอก) (ชม./สปั ดาห)์

ลกู เสอื – เนตรนารี

ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้

ชมุ นุม

7. นางสาวรัชนีกร วงศจ์ ริ าษฏร์ กศ.บ.ภาษาไทย ภาษาไทย ป.4,ป.5, 19 ชม./สปั ดาห์
กศ.ม.บรหิ ารการศกึ ษา
แนะแนว ป.6,ม.3

ลูกเสือ – เนตรนารี

ลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้

ชมุ นุม

8. นางสาวสุนสิ า จนั ทร์จริง คบ.ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ ป.6,ม.1, 18 ชม./สปั ดาห์

แนะแนว ม.2,ม.3

ลูกเสือ – เนตรนารี

ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้

ชมุ นุม

9. นางสาวปารวี นิติรชั คบ.คอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ ป.1,ป.2, 19 ชม./สปั ดาห์

ซอ่ มบารุงคอมฯ ป.3,ป.4,

การงานอาชีพฯ ป.5,ป.6,

ลูกเสอื – เนตรนารี ม.1,ม.2,

ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ ม.3

ชมุ นุม

10. นางสาวจนั ทรเ์ พญ็ ทรงฉาย คบ.ปฐมวยั คณิตศาสตร์ ป.1 18 ชม./สัปดาห์

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สังคมศกึ ษา

แนะแนว

ลกู เสอื – เนตรนารี

ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้

ชุมนมุ

11. นางรตั นาภรณ์ มมี านาน คบ.การประถมศกึ ษา ภาษาไทย ป.2 19 ชม./สปั ดาห์

คณิตศาสตร์

สงั คมศกึ ษา

แนะแนว

ลกู เสือ – เนตรนารี

ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้

ชมุ นมุ

12. นางสาวสพุ ัชรี มาตวเิ ศษ กศ.บ.การสอนวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ป.2,ป.3, 18 ชม./สปั ดาห์
ศษ.ม.บรหิ ารการศกึ ษา
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.1,ม.2,

แนะแนว ชุมนุม ม.3

ลูกเสอื – เนตรนารี

ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารู้



ชื่อ-สกลุ บคุ ลากร สาขาวชิ าทจี่ บ วิชาทสี่ อน ช้นั ทส่ี อน ภาระงานสอน
13. นางสาวยุพนิ บุญประเสริฐ (ใสท่ งั้ ระดบั ปรญิ ญาตรี โท เอก) (ชม./สปั ดาห)์
คณิตศาสตร์ ป.1,ป.2,
คบ.คณิตศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ป.3 18 ชม./สปั ดาห์
สังคมศึกษา
14. นางสาวกฤติกา แก้วทา คบ.ปฐมวยั สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา อ.2 30 ชม./สัปดาห์
15. นางสาวนลิน อนวิ ัต คบ.ภาษาไทย ป.1,ป.3, 20 ชม./สปั ดาห์
การงานอาชีพฯ ม.1,ม.2
16. นางสาวชลดา หงษ์ชูตา คบ.คณิตศาสตร์ แนะแนว
ลูกเสอื – เนตรนารี ป.2,ป.4, 19 ชม./สัปดาห์
ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ป.5,ป.6
ชุมนุม
17. นางสาวพรนิภา ยศบญุ คบ.ภาษาอังกฤษ ป.1,ป.2, 20 ชม./สปั ดาห์
ปฐมวัย ป.3,ป.4,
18. นางสาวศริ ิวรรณ พงษ์นพ ปนส.นาฏศลิ ปไ์ ทย
คุณ ศษ.บ.การวัดและประเมินผล ภาษาไทย ป.5
ลกู เสอื – เนตรนารี
ลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ ป.1,ป.3, 18 ชม./สัปดาห์
ชุมนุม ป.4,ป.5,
ป.6,ม.1,
คณิตศาสตร์ ม.2,ม.3
การงานอาชีพ
ประวัติศาสตร์
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
ศิลปะ
แนะแนว
ลูกเสือ – เนตรนารี
ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ชมุ นุม

ภาษาองั กฤษ
สังคมศกึ ษา
ลกู เสือ – เนตรนารี
ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้
ชุมนมุ

ศิลปะ
ทัศนศลิ ป์
ดนตรี – นาฏศลิ ป์
ประวัตศิ าสตร์
ลูกเสอื – เนตรนารี
ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้
ชมุ นุม



ชอ่ื -สกลุ บคุ ลากร สาขาวชิ าทจ่ี บ วิชาทส่ี อน ชน้ั ทส่ี อน ภาระงานสอน
19. นายอนชุ ติ ปะนามะทัง (ใสท่ ง้ั ระดบั ปรญิ ญาตรี โท เอก) (ชม./สปั ดาห)์
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ป.4,ป.5,
คบ.พละศึกษา สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา ป.6,ม.1, 18 ชม./สปั ดาห์
งานช่าง ชมุ นมุ ม.2,ม.3
ลกู เสือ – เนตรนารี
20. นางสาวนภิ าพร โพนไชยา คบ.วทิ ยาศาสตร์(ชีววิทยา) ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ - *จนท.ธุรการ
- *ครูพี่เลย้ี งเด็ก
21. นางสาวลคั คนา ถอนโพธิ์ ปวช.บญั ชี - ภาระงานสอน
- ชนั้ ทีส่ อน (ชม./สัปดาห)์
ช่ือ-สกุล บคุ ลากร สาขาวิชาทีจ่ บ *จนท.ICT Talent
(ใส่ท้ังระดับปรญิ ญาตรี โท เอก) วชิ าท่สี อน - *นักการภารโรง
-
22. นายสทิ ธโิ ชค วเิ ชยี นลา้ วท.บ.เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม -
-
23. นายสมรกั จั่นทอง ม.3
ป.5 ป.6 รวม ม.1
1.4 ข้อมลู นักเรยี น
11 6 1
1) จานวนนักเรยี นปีการศึกษา 2562 รวม 221 คน
9 10 71 7
ระดับ อ.2 อ.3 รวม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 5 13 63 5 ม.2 ม.3 รวม รวม
ช้ันเรยี น 14 23 134 12 ทัง้ หมด

จานวน 1 1 2 1 1 1 1 1 1 3 11

ห้อง

เพศ ชาย 13 11 24 16 13 10 13 9 5 21 116
หญงิ 10 12 22 10 14 8 13 9 6 20 105
18 11 41 221
รวม 23 23 46 26 27 18 26

2) เปรยี บเทยี บจานวนนกั เรียน ชน้ั อนุบาล 2 ถึง ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2559-2562 แนวโนม้
(ลดลง/เพ่มิ ขึ้น)
ระดับ จานวนนกั เรียน/ปกี ารศกึ ษา
ชนั้ เรยี น 2559 2560 2561 2562 เพิม่ ขน้ึ
ลดลง
อ.2 38 34 20 23 ลดลง
อ.3 17 36 26 23 เพ่ิมขึ้น
ป.1 28 15 31 26 ลดลง
ป.2 16 31 14 27 เพิ่มขึ้น
ป.3 21 14 24 18 ลดลง
ป.4 18 23 13 26 เพิม่ ขน้ึ
ป.5 17 20 22 14 ลดลง
ป.6 16 16 17 23 เพิ่มขึ้น
ม.1 18 16 20 12 ลดลง
ม.2 14 19 14 18 เพ่มิ ข้ึน
ม.3 16 15 15 11
รวม 219 239 216 221



สว่ นที่ 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR) ของโรงเรยี นบ้านหนองฆ้อ

สังกดั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต 1 ปกี ารศึกษา 2562 จาแนกออกเปน็ 2

ระดบั ไดแ้ ก่ ระดับปฐมวยั และระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มรี ายละเอยี ดดังนี้

2.1 ระดบั ปฐมวยั ปีการศกึ ษา 2562

ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐาน กาลงั ปาน ดี ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม
พฒั นา กลาง

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก /

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ /

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สาคญั /

สรุปภาพรวม /

ระดบั ปฐมวยั สรปุ ภาพรวม อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี
1.1 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้
อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเลศิ

เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โดย
สถานศกึ ษา มผี บู้ ริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผูท้ เี่ กยี่ วข้องทุกฝา่ ยไดร้ ่วมกนั กาหนดแนวทางการ
พฒั นาการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั มีการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ
มีโครงการและกจิ กรรมท่พี ัฒนาเด็ก ได้แก่ โครงการอาหารกลางวนั และอาหารเสริม (นม) จัดใหเ้ ด็กได้รับประทาน
อาหารท่ีสะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจาทุกวันอย่าง
สม่าเสมอ มกี ารชง่ั นา้ หนกั วดั สว่ นสูงเปน็ ประจาภาคเรียนละ 2 คร้ังเพื่อเฝา้ ระวังภาวะทุพโภชนาการของเด็ก เมื่อ
มีเด็กป่วย หรือเกิดอุบัติเหตุหกล้มจะมีการเบิกยาจากโครงการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑ์ เด็กเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว
และทรงตัวได้ดี มีการจัดกิจกรรมให้เด็กได้เคล่ือนไหว ออกกาลังกายก่อนเข้าห้องเรียนทุกวัน และจัดหาอุปกรณ์
ซ่อมแซมเคร่อื งเลน่ สนามเดก็ เลน่ ให้มีความปลอดภัย สะดวก พรอ้ มใช้งานอยู่ตลอดเวลา และร่วมโครงการส่งเสริม
สุขภาพแข่งขันกีฬาระดับปฐมวัยและแข่งกีฬาในกลุ่มเครือข่ายพระเจ้าตาก มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่ือ
ประเมินสมรรถภาพด้านการเคลื่อนไหวและการทรงตัวของเด็กภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ส่งเด็กเข้าแข่งขันทักษะทาง
วิชาการ การแข่งขันการป้ันดินน้ามัน การแข่งขันการสร้างภาพด้วยการฉีก ตัดปะ เด็กสามารถใช้มือ และตา
ประสานสัมพันธ์ได้ดีโดยมีการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย และกาหนดกิจกรรมเพื่อพัฒนากล้ามเน้ือมือให้
สัมพันธ์ตาในแผนจัดประสบการณ์ และประเมินพัฒนาการ ให้เด็กดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบตั จิ น
เป็นนิสัย โดยจัดกิจกรรมที่สนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในกิจวัตรประจาวัน บันทึกการ
แปรงฟันและบันทึกกิจกรรมการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้ โดยจัดทาข้อตกลงร่วมกัน

๑๐

ภายในห้องเรียน ให้เด็กได้ร่วมกันทาข้อตกลงในการทากิจกรรม การเดินแถว การรอคอย การทาตามข้อตกลงใน
การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน โรงเรียนมีโครงการระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนซ่ึงมีการคัดกรอง และเยี่ยมบ้านนักเรียน
เพือ่ รายงานผู้บริหารเป็นประจาทุกปี เด็กระวังภัยจากบุคคล ส่ิงแวดล้อม และสถานการณ์เสย่ี งอันตราย มกี ารการ
เฝ้าระวังภยั โดยติดกลอ้ งวงจรปดิ ไม่ใหร้ ถหรอื บคุ คลภายนอกภายนอกเข้ามาในโรงเรียนโดยพละการ

1.2 มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้.สถานศึกษามีหลักสูตร

สถานศึกษาปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และจัดทาแผนการจัด
ประสบการณ์ที่มีกิจกรรมท่ีหลากหลายมุ่งส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็ก และมีกิจกรรมโครงการต่าง ๆ
ของโรงเรยี นท่สี ่งเสรมิ พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจของเดก็ ให้สามารถควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ เด็กร่า
เริงแจ่มใส แสดงออกอารมณ์ได้เหมาะสม มีกิจกรรมนันทนาการและครูจัดกิจกรรมเคล่ือนไหวตามจังหวะและ
ดนตรี กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กจิ กรรมวนั สาคัญ เด็กรจู้ ักรอคอย ยอมรับ พอใจในความสามารถของตนเองและ
ผ้อู นื่ โดยทาขอ้ ตกลงในห้องเรียน ฝกึ การรอคอย จัดกจิ กรรมอบรมนักเรียนก่อนเร่ิมกจิ กรรมประจาวนั และมีการ
สรา้ งขอ้ ตกในการทากิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน และให้เด็กได้เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน เช่น โครงการวัน
สาคัญ เด็กมีความมั่นใจกล้าพูดกล้าแสดงออก โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้มีอิสระในการเลือกทากิจกรรมตามความ
ต้องการ ตามสนใจ และความสามารถ ให้เด็กได้พูด สนทนา ถาม ตอบ เล่าเรื่องราว ให้เด็กได้แสดงความสามารถ
ของตนเองตามความสามารถและความแตกต่างของแต่ละบุคคลโดยจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ออกแบบ
กจิ กรรมการเรียนรู้ท่หี ลากหลายโดยเน้นเด็กเปน็ สาคญั ใหเ้ ดก็ เข้าร่วมกจิ กรรมของโรงเรียน เช่น กจิ กรรมเปิดบ้าน
วิชาการ กิจกรรมการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมและวิชาการของนักเรียน การแข่งขันกรีฑา เด็กช่วยเหลือแบ่งปัน
เคารพสิทธิ รู้หน้าท่ีรับผิดชอบ และมีการจัดกิจกรรมให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กัน ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม ฝึกการ
ทางานที่เป็นข้ันตอน โครงการ big clening day กิจกรรมในชีวิตประจาวนั การรักษาสิ่งแวดล้อม เก็บกวาดรักษา
ความสะอาด การเก็บของเล่น ของใช้ และกิจกรรมทาความสะอาดเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ (สนามเด็กเล่น) ฝึกความ
รับผิดชอบในหน้าท่ี ครูอบรมเด็กช่วงเช้า ปลูกฝังความดีงาม ทาข้อตกลงไม่ขี้โกงไม่ลักขโมย โดยจัดกิจกรรมที่
สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมผ่านการเล่านิทาน เด็กชื่นชมและมีความสุขกับศิลปะดนตรีและการเคล่ือนไหว โดย
จัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้แสดงออกอย่างมีความสุข และสนุกสนานเพลิดเพลิน กับศิลปะดนตรี เช่น กิจกรรม
เคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ออกกาลัง เล่นเกม การละเลน่ ในกจิ กรรมเล่นกลางแจ้ง เข้าร่วม
กิจกรรมของโรงเรียน เช่น การแสดงในกิจกรรม วันเด็ก วันปีใหม่ ร่วมแข่งขันฉีก ติดปะภาพ และปั้นดินน้ามันใน
การแขง่ ขันศิลปหตั ถกรรมและวิชาการนักเรยี น กจิ กรรมการแสดงในงานเปิดบ้านวชิ าการ

1.3 มีพฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสงั คม อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี
เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมได้ โดยโรงเรียนมี

หลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และจัดทาแผนการจัด
ประสบการณ์ท่ีมีกิจกรรมท่ีหลากหลายมุ่งส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก และมีกิจกรรมโครงการต่างๆของ
โรงเรียนที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก ให้สามารถช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมได้ เด็ก
ปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้ โดยครูจัดกิจกรรมประจาวันให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเด็กเอง และช่วยเหลือตนเอง

๑๑

ให้มากท่ีสุด เช่น การเก็บของเล่นของใช้ของตนเอง การดูแลรักษาความสะอาดร่างกายเคร่ืองแต่งกาย เช่นล้างมอื
ล้างหน้า แปรงฟัน รับประทานอาหาร ซ้ือขนม การใช้ห้องน้า และช่วยเหลือตนเองขณะอยู่รว่ มกับผู้อ่ืน เด็กมีวินยั
ในตนเอง โดยครูจัดกิจกรรมท่ีปลูกฝังวินัยให้กับเด็กผ่านกิจกรรมการเรียนรู้และการเล่น เช่นการรอคอย การเข้า
แถว การปฏบิ ัตติ ามกฎกติกามารยาทและ เด็กรู้จักการออม และพอเพียง โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมการออมของเด็ก
ในโครงการธนาคารหนองฆ้อพอเพียง จัดกิจกรรมหน่วยเรียนรู้เก่ียวกับค่าของเงิน เร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง ให้เด็ก
รู้จักพอเพียง เด็กมีส่วนร่วมในการรักษาส่ิงแวดล้อมในและนอกห้องเรียน ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการรักษา
ส่ิงแวดล้อม เช่น การรักษาความสะอาดของห้องเรียน และเขตพื้นที่รับผิดชอบ เด็กเข้าร่วมโครงการวันสาคัญ เข้า
ร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณีไทย ทาบุญตักบาตร เวียนเทียน สวดมนต์ไหว้พระ การปฏิบัติตนใน ศาสน
สถาน เด็กอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โรงเรียนมีโครงการระบบดูแลและช่วยเหลือ ท่ีดูแลคัดกรองพฤติกรรมเด็ก มี
แบบวิเคราะหเ์ ด็กรายบุคคลเพ่ือสอดส่องดูพฤติกรรมเด็กแตล่ ะคน จดั กจิ กรรมโดยใหเ้ ดก็ ได้มปี ฏิสัมพันธก์ นั ได้เล่น
ได้ทางานและปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลงรว่ มกันได้

1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มที กั ษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี
เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิด โดยโรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาท่ี

สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ท่ีมีกิจกรรมที่
หลากหลายมุ่งส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็ก มีโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียนได้
ปฏสิ มั พันธก์ บั บุคคลภายนอก เรียนรู้นอกสถานที่ เดก็ สนทนาโต้ตอบ และเล่าเรอ่ื งให้ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจได้ โดยจัดกิจกรรม
ใหเ้ ด็กได้สนทนาโต้ตอบ แสดงความคิดเห็นได้ เปดิ โอกาสให้เด็กตั้งคาถามในส่ิงท่สี งสัย และพยายามค้นหาคาตอบ
ได้ โดยจัดกิจกรรมตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต
ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหาจัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติผ่านการเล่น ผ่านส่ือ และส่ิงต่าง ๆรอบตัว
เดก็ อา่ นนิทานและเลา่ เรื่องที่ตนเองอา่ นได้เหมาะสมกับวยั โดยครูจัดมุมหนังสือใหเ้ ด็กไดม้ สี ว่ นร่วมและสามารถเข้า
ไปหยิบจบั อ่านไดส้ ะดวก การจัดกจิ กรรมเกมการศกึ ษา จัดกิจกรรมให้เดก็ ไดล้ งมอื ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง และมีอิสระใน
การเล่นหรือทากิจกรรม เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการได้ จัดกิจกรรมศิลปะ
สร้างสรรค์ เด็กได้ใชส้ ื่อเทคโนโลยีเป็นเคร่อื งมอื ในการเรียนรู้ และสง่ เสรมิ ให้เดก็ ได้ใช้ส่อื เทคโนโลยใี นการเรยี นรู้

๑๒

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ อยู่ในระดับคุณภาพ ดเี ลศิ
2.1 มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของทอ้ งถนิ่ อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

หลักสูตรมีความยืดหยุ่น สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้อง
กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ วิเคราะห์หลักสูตรและออกแบบกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้
กอ่ นจดั ทาแผนการจัดประสบการณ์ จดั กิจกรรมหลากหลายมุ่งสง่ เสรมิ พฒั นาการ ทัง้ ๔ ดา้ น อยา่ งสมดลุ คานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและบริบทของเด็ก โดยจัดทาแผนจัดประสบการณ์ ๔๐ สัปดาห์ต่อปี ออกแบบ
กิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมของเด็กไม่เร่งรัดด้านวิชาการ กิจกรรมให้เด็กได้เลือกปฏิบัติตามความสนใจ ตาม
ต้องการและความถนัด มีอิสระในการตัดสินใจทากิจกรรม โดยจัดส่ือ ของเล่น และมุมประสบการณ์ต่างๆ มุ่งเน้น
การเรียนรู้ผา่ นการเล่น และลงมือปฏิบัติ จัดกิจกรรมท่ีให้เด็กได้มีปฏสิ ัมพันธ์กัน จัดกิจกรรมเรียนปนเลน่ กิจกรรม
บา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย กจิ กรรมโครงงาน จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตอบสนองความตอ้ งการและความ
แตกต่างของเด็ก โดยวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล จัดกิจกรรมแบบกลุ่ม และจัดกิจกรรมท่ีหลากหลาย กิจกรรม
ศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่นเสรีตามมุม กิจกรรมเล่นกลางแจ้ง จัดการเรียนรู้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ชุมชน และ
ท้องถิ่น โดยจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ชุมชน และท้องถิ่นของเด็ก มีโครงการวัน
สาคัญ เช่น วันสาคัญทางพทุ ธศาสนา และวฒั นธรรมประเพณีท้องถิน่ กิจกรรมทาบญุ ตักบาตรวันพระ จัดกิจกรรม
การเรยี นรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกบั วิถีชีวติ ของเดก็

2.2 จดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรยี น อยู่ในระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม
มีการจัดครูที่จบการศึกษาปฐมวัยเข้าสอนในชน้ั เรียน สถานศึกษามีครูที่จบการศึกษาปฐมวยั เข้าสอนครบ

ทุกช้ัน มีการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถด้านวิชาชีพแก่ครูและบุคคลกรโดยครูปฐมวัยเข้ารับการ
พัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรของ สพฐ.ตามกาหนด และสถานศึกษาสนับสนุนให้ครูปฐมวัยเข้า
รับการอบรมตามหน่วยงานอื่นๆ เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก เช่น กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ประเทศไทย เพ่ือนาความรู้และทักษะมาพัฒนากิจกรรมการเรียนรใู้ ห้กับเด็ก ให้มีพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน ท่ีสมบูรณ์
และบรรลตุ ามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย

2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู ีความเชยี่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี
ส่งเสริมให้ครูมีความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา สนับสนุนให้ครูไปอบรม

พัฒนางานด้านหลักสูตร ให้คาปรึกษาในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาโดยยึดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้ครูวิเคราะห์ตัวชี้วัดก่อนออกแบบหลักสูตรและจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั เพื่อใชใ้ น
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับเด็ก ส่งเสริมให้ครูมีทักษะในการจัดประสบการณ์และประเมินพัฒนาการ โดย
สนับสนุนให้ครูเข้าร่วมโครงการและการอบรมต่างๆ เพ่ือให้ครูนาทักษะกระบวนการต่างๆมาจัดประสบการณ์ให้
เด็ก ให้อิสระครูในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียนเพ่ือสนองตอบความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก
ส่งเสริมให้ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและประเมินหลากหลายวิธี จัดทาแบบบันทึกการประเมิน
พัฒนาการเด็ก จัดโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและครอบครัว โดย
ให้ครูให้ความรักความเอาใจใส่เด็กอย่างใกล้ชิด ดูแลความปลอดภัย และพฤติกรรมของเด็ก จัดกิจกรรมให้เด็กได้
เรียนรู้อย่างมีความสุข ให้เกียรติและเคารพในสิทธิของเด็ก ให้เด็กมีอิสระในการเลือกทากิจกรรม ตัดสินใจ และ

๑๓

แสดงความคิดเห็น มีการประชุมผ้ปู กครองเพ่อื ให้ไดใ้ กล้ชิด รับทราบแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั กิจกรรมในโรงเรียน
รายงานพฤติกรรมและผลพฒั นาการเดก็ ใหผ้ ูป้ กครองรับทราบ

2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสอ่ื เพอื่ การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ อย่ใู นระดับคุณภาพ ดี
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรยี นท่ีคานึงถึงความปลอดภยั จัดห้องเรียนให้

สะอาดเป็นระเบียบ สวยงามและปลอดภัย มีท่ีเก็บของเล่นของใช้ หยิบจับสะดวก ดูแลตรวจสอบระบบไฟฟ้า จัด
สภาพแวดล้อมข้างนอกให้สะอาด ปลอดภัย กาจัดแมลงมีพิษ และยุง ส่งเสริมการเรียนรู้รายบุคคลและรายกลุ่ม
โดยครูออกแบบกิจกรรมท่ีให้เด็กให้ทากิจกรรมเดี่ยวตามความสนใจ ความต้องการและความถนัดโดยจัดสื่อ
อุปกรณ์ และกิจกรรมที่หลากหลายให้เด็กเลือกทา และจัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์กัน โดยวางแผนการทา
กิจกรรมร่วมกัน ส่งเสริมการเล่นปนเรียน เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ ครูออกแบบจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นปนเรียน
เช่น กิจกรรมการเรยี นรู้แบบActive Learning เช่น กิจกรรมบ้านนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย กิจกรรมโครงงาน กิจกรรม
หลักประจาวัน ให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่นและลงมือปฏิบัติด้วยตัวเด็กเอง มีมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย โดย
จัดหาสื่อ อุปกรณ์ ของเล่น และมีโครงการจัดซ้ือส่ือ วัสดุสอนฝึกสอบและสนับสนุนการจัดห้องเรียน เพื่อผลิตส่ือ
การสอนประกอบหน่วยการเรียนรู้และตกแต่งห้องเรียน ให้เด็กได้เข้าไปเล่นและเรียนรู้ได้ มีส่ือการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย เช่น ของเล่น นิทาน สื่อ pop up ส่ือธรรมชาติ บัตรภาพ สนามเด็กเล่น และสนับสนุนครูให้ผลิตและ
พฒั นาสื่อเพ่อื ใชใ้ นการจดั กิจกรรมและการเรียนรู้ของเดก็ และจดั ทาแบบบนั ทึกการผลิตส่ือ

2.5 ใหบ้ รกิ ารสื่อ เทคโนโลยสี านสนเทศ และสอื่ การเรยี นรเู้ พ่อื สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์
อยใู่ นระดับคุณภาพ ดีเลิศ

สถานศึกษาอานวยความสะดวกและให้บริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศวัสดุและอปุ กรณ์เพือ่ สนบั สนุนการ
จดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาครูจากโครงการบริการทางดา้ นไอซีที จดั ให้มีส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ วัสดอุ ปุ กรณ์
เพื่อสนบั สนนุ ในการพฒั นาครู เช่น ติดต้งั ระบบอนิ เตอรเ์ น็ต คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ เครอื่ งพิมพเ์ อกสาร เปน็ ต้น

2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วข้องทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม อย่ใู นระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย

และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากาหนดจัดแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานท่ีสถานศึกษา
กาหนดและดาเนินตามแผน และจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี นาผลการประเมินไปปรับปรุงและ
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยมีการจัดโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่น โครงการ
ประกนั คุณภาพภายใน

๑๔

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ เด็กเปน็ สาคญั อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดีเลศิ
3.1 จดั ประสบการณท์ ส่ี ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเลิศ

การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยครูประจาชั้นจัดทาแบบวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล โดยใช้การ
สังเกตและบันทึกพฤติกรรม บันทึกพัฒนาการเด็กท้ัง ๔ ด้าน เพื่อให้เห็นความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อใช้เป็น
ฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์มาตรฐาน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ ๔๐ หน่วยเรียนรู้หรือ ๔๐ สัปดาห์ท่ีมีความยืดหยุ่น
ปรับเปล่ียนเวลาและเนื้อหาได้ตามความเหมาะสม มีแบบประเมินหลังแผนการจัดประสบการณ์เพื่อให้ครูใช้เป็น
ขอ้ มลู ในการพัฒนาปรบั ปรุงแผนให้ดีย่ิงขึ้นและยังใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการทาวิจยั ในชน้ั เรยี นเพ่อื พฒั นาเด็กในด้านต่างๆ
และแผนการจัดประสบการณ์สง่ เสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยมีการร่วมโครงการ
สง่ เสรมิ สขุ ภาพ (กฬี าส)ี โครงการวนั สาคัญ โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย

3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ยา่ งมีความสุข อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดี
เด็กมีโอกาสเลอื กทากิจกรรมอย่างอิสระ ตามความตอ้ งการ ความสนใจ และความสามารถ ครจู ัดกจิ กรรม

ท่หี ลากหลายให้เด็กได้มีอสิ ระในการเลือกปฏิบตั ิ ไดเ้ รยี นรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง จดั สอื่ ของเลน่ อปุ กรณ์ มุมประสบการณ์
จดั กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้แบบบูรนาการ เพ่อื พฒั นาเดก็ แบบองค์รวม เช่น กิจกรรมบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย .
กจิ กรรมโครงงาน โครงการวันสาคัญ โครงการเปิดบ้านวิชาการ โครงการทรปู ลูกปัญญา โครงการทศั นศึกษาแหล่ง
เรียนรู้นอกโรงเรียน เป็นต้น จัดประสบการณ์ตอบสนองการเรียนรู้เด็กเป็นรายบุคคล ครูจัดกิจกรรมโดยสังเกต
และวิเคราะห์ความสนใจ ความต้องการ และความสามารถของเด็กแต่ละคนได้ และจดั กจิ กรรมตอบสนองเด็กเป็น
รายบุคคลได้โดยให้เด็กแต่ละคนได้เลือกปฏิบัติกิจกรรมอย่างอิสระเป็นรายบุคคล โดยครูเตรียมส่ือ วัสดุอุปกรณ์
และให้คาแนะนาเวลาเด็กต้องการเท่านั้น จัดประสบการณ์เรียนรู้ที่หลากหลาย ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ จัดกิจกรรมท่ีหลากหลายให้เด็กสามารถเลือกปฏิบัติได้ตามความสนใจ และจัดมุมประสบการณ์ให้เด็ก
สามารถเข้าไปเรียนรู้ได้อย่างอิสระ เช่น สนามเด็กเล่น ห้องสมุด เป็นต้น เด็กได้เล่นเรียนรู้ ลงมือและสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเอง โดยสถานศึกษาสนับสนุนส่งเสริมส่ือ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรียนเพื่อใช้
พัฒนาพฒั นาการเดก็ ให้ครบท้ัง ๔ ดา้ น

3.3 จดั บรรยากาศทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วยั อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ
จัดห้องเรียนสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีกิจกรรมทาความสะอาดห้องเรียนและเขตพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ

มีช้ันวางของเล่นของใช้ และมีอุปกรณ์ทาความสะอาด โรงเรียนมีผู้รับผิดชอบอาคารสถานท่ีไว้ดูแลเรื่องการ
ซอ่ มแซมประตูหนา้ ต่าง มีพื้นทแ่ี สดงผลงานนกั เรยี นและมุมประสบการณ์และการจดั กจิ กรรม จดั กระดาน โตะ๊ ชั้น
สาหรับแสดงผลงานนักเรียน จัดมุมประสบการณ์ในห้องเรียนทกุ ห้องอย่างนอ้ ย ๕ มุม เช่น มุมหนังสือ มุมบทบาท
สมมตุ ิ มุมบล็อก มุมศิลปะ มุมเกม เป็นตน้ จัดให้มสี ่ือและอุปกรณ์ในมุมประสบการณ์ท่เี ด็กสามารถเล่น และสัมผสั
เรียนรู้ได้สะดวกปลอดภัย มีพื้นท่ีสาหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เป็นพื้นที่โล่ง เพ่ือให้เด็กได้เคล่ือนไหวได้อิสระ พ้ืนที่
สาหรับทากิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมเด่ียว เด็กมีส่วนร่วมจัดสภาพแวดล้อม เช่น การเก็บขยะและทาความสะอาดเขต
พืน้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ครูใช้สือ่ เทคโนโลยเี หมาะสมกับชว่ งวัยและระยะความสนใจและการเรียนรู้ของเด็ก

๑๕

3.4 ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์
และพฒั นาเดก็ อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี

การประเมินพัฒนาการจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการ มีการวัดและ
ประเมินผล จัดทาแบบประเมินหลังแผนการจัดประสบการณ์ครอบคลุม 4 ด้าน เพื่อบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้
ของเด็กตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมในแผน วิเคราะห์ผลและประเมินพัฒนาการเด็ก รวมท้ังประเมินพัฒนาการ
เด็กโดยใช้วิธีและเครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย มีการนิเทศการสอน นาผลการประเมินไปพัฒนาและ
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้เพ่อื พฒั นาคุณภาพเด็ก .มโี ครงการพัฒนาสังคมแหง่ การเรียนรู้ จดั กิจกรรม PLC เพ่อื แลกเปล่ียน
เรียนรรู้ ว่ มกนั พฒั นาแกป้ ญั หาพัฒนาการเดก็ การพัฒนาชุมชนแห่งการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น

๑๖

2.2 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปกี ารศึกษา 2562

ระดบั คุณภาพ

มาตรฐาน กาลัง ปาน ดี ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม
กลาง
พัฒนา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของของผู้เรียน /

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ /

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้น

ผู้เรยี นเป็นสาคัญ /
/
สรุปภาพรวม

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สรปุ ภาพรวม อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รยี น อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ดี

1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สาร และการคดิ คานวณ อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี
ในเรื่องการอ่านการเขยี นและการส่ือสาร โรงเรยี นบา้ นหนองฆ้อไดต้ ้ังโครงการเพ่ือแก้ปัญหาและสง่ เสรมิ ให้เกิดการ
พัฒนาที่ดีข้นึ โดยมีข้อมูลหลกั ฐานและเอกสารเชงิ ประจักษส์ นับสนนุ คอื มีโครงการสง่ เสริมและพัฒนาทกั ษะทาง
ภาษาไทย ประกอบไปด้วยกิจกรรม คลินิกภาษา สอนซ่อมเสริม การอ่าน ๕ บรรทัด วนั สุนทรภู่ และวนั ภาษาไทย
นอกจากนยี้ งั มโี ครงการหอ้ งสมดุ มีชีวติ เพ่ือสง่ เสริมการอ่าน เช่น พส่ี อนนอ้ งอา่ น รักการอ่าน ในด้านการสื่อสาร
ยงั เน้นในเร่อื งของภาษาอังกฤษเพ่ือเตรียมความพร้อมสูส่ ากล ผา่ นโครงการส่งเสริมการสื่อสารภาษาอังกฤษ ใน
เรือ่ งการคดิ คานวณ มีการสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นได้ท่องสตู รคูณ เป็นประจาก่อนการจดั การเรียนรู้ นอกจากนยี้ ังมีเกม
คณติ ศาสตร์ใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรูผ้ ่านการเลน่ เช่น เกมเอแมท หมากล้อม รวมถึงโครงการท่ที าดีข้ึน เช่น โครงการ
เปิดบ้านวิชาการ โครงส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ในสว่ นแนว
ทางการพัฒนาคุณภาพให้สงู ขึ้นกว่าเดมิ จะเน้นกจิ กรรมทีห่ ลากหลายขึน้ ใชร้ ะยะเวลาทีอ่ ย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ
เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ท่ีคงทนถาวร

2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความ
คดิ เหน็ และแกป้ ญั หา อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี

สถานศกึ ษาดาเนินการพฒั นาทักษะด้านการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย
แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หาของนักเรียน โดยการจัดการเรียนการสอนท่เี น้น Active Learning ,
Problem base learning การจัดการเรียนการสอนให้นกั เรียนปฏบิ ัตแิ ละสร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง เช่น การ
เรียนรแู้ บบโครงงาน การเรียนรูแ้ บบกระบวนการกล่มุ รวมถึงการฝกึ ทักษะตา่ ง ๆ ตามกระบวนการเรยี นรู้ท้งั ใน
ห้องเรียนและนอกหอ้ งเรยี น ไม่ว่าจะเป็นการเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนกลา้ แสดงออก ได้แสดงความคิดเหน็ การสรุป
องค์ความรู้ในรปู แบบ Mind Mapping การผลติ ชน้ิ งาน การนาเสนอผลงาน เปน็ ตน้ ท้ังน้ไี ด้ทาการแทรกข้อสอบ
เพอื่ ให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ ลงไปในทกุ รายวิชาและมีการจัดกจิ กรรมภาวะผู้นาสาหรับนักเรยี นโดยมีครเู ป็นผู้
คอยกระตุน้ และให้คาแนะนา ซ่งึ ทกั ษะเหลา่ น้ีผเู้ รยี นสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้

๑๗

3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดี โดยโรงเรยี นบ้านหนองฆ้อได้
กาหนดวสิ ยั ทัศนใ์ นการจัดการเรียนร้ใู หผ้ เู้ รียนมีทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี ๒๑ จึงได้มกี ระบวนการพฒั นา
คณุ ภาพนักเรยี นด้วยกระบวนการและวิธกี ารท่ีหลากหลาย เพ่ือมุ่งเน้นใหน้ ักเรยี นมีองค์ความรมู้ ากขึ้น มีศกั ยภาพ
ในการเรยี นรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง สามารถวเิ คราะห์กล่นั กรองข้อมลู ทไี่ ดร้ บั เพอ่ื นามาปรับใช้
ในการพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติได้ ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ัญหา ได้สรา้ ง
บรรยากาศการเรยี นรูท้ างวชิ าการอย่างตอ่ เนื่อง ส่งเสริมและสนบั สนนุ การค้นควา้ องค์ความรหู้ รือวิธีการใหม่ ๆ
ของนักเรยี นตามความถนัดและความสนใจ เช่น โครงงาน/สิง่ ประดษิ ฐ์ทางวทิ ยาศาสตร์ การเขียนโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์เพื่อประยุกตใ์ ชใ้ นการสรา้ งนวัตกรรม การทาภาพยนตร์สัน้ โครงการการบรกิ ารดา้ น ICT โครงการ
ทาแผน่ พื้นทางเทา้ เพื่ออาชีพตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและการทอผา้ ขาวมา้ โครงการเปิดบ้านวชิ าการ เพ่ือให้
เกิดนวัตกรรมท่นี าไปใช้ในการแกป้ ญั หาหรือพัฒนาคุณภาพชวี ิต ซ่ึงสอดคล้องกับการดารงชวี ติ ในโลกยุคปัจจุบนั
และกา้ วสู่การเปน็ พลโลกท่ีดีไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ นักเรียนมที ักษะในการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองจากการลง
มือปฏิบัตจิ ริง มีคุณลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่นั ทุม่ เทในการทางาน และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเน่ือง สามารถ
วิเคราะหข์ ้อมลู และ จัดทาข้อมลู ทไ่ี ดร้ ับอย่างเปน็ ระบบ มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ และคดิ
อย่างมี วจิ ารณญาณ อภปิ รายและเปล่ียนความคดิ เห็นโดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจได้ และมีทักษะในการ
แก้ปัญหา มีความคดิ สร้างสรรค์ในการเรียนรู้ จนสามารถพัฒนานวตั กรรมหรอื สร้างองค์ความร้ใู หม่ได้ ดว้ ยตนเอง
เกดิ ทักษะกระบวนการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองตลอดชีวิต ตลอดจนมคี วามสุขในการเรียน หรอื พัฒนาผลงานท่ี
ตนเองชอบและมีความถนดั จนสามารถประสบความสาเร็จตามเป้าหมายของตนเองได้ เช่น รางวลั ชนะเลศิ การ
ประกวดภาพยนตร์สนั้ ระดับประเทศ การจาหนา่ ยแผ่นพ้ืนทางเท้าและผ้าทอซึ่งสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั นักเรียนและ
สามารถตอ่ ยอดเปน็ อาชีพในอนาคตได้ โครงการปิดบ้านวชิ าการทใ่ี หน้ ักเรยี นจัดทาโครงงานและได้แสดงออกถงึ
ความสามารถและการฝกึ อาชีพต่างๆตามความถนดั และความสนใจของนกั เรียน ส่งผลให้ประสบความสาเรจ็ และ
เกดิ โอกาสท่ีดใี นชีวิต ท้งั ด้านทกั ษะการเรยี นรู้และการทางาน ประสบการณ์ในการเขา้ ร่วมเวทปี ระกวด และโอกาส
ในการเรยี นต่อใน ระดบั ทีส่ งู ขึ้น อีกทั้งยังเป็นแบบอยา่ งท่ีดี และเป็นแรงบันดาลใจใหแ้ ก่เพือ่ นนักเรียน และรุ่นน้อง
ได้เป็นอย่างดี

4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี

สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนดว้ ยวิธกี ารทห่ี ลากหลายตามโครงการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ

เทคโนโลยี ครจู ดั การเรียนรูใ้ ห้เปน็ ไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของหลักสูตรมี

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกบั ผู้เรยี น พฒั นาครูทุกคนใหม้ ีความสามารถในการนาเทคนิควธิ ีสอนให้

ตรงตามศักยภาพผู้เรยี น มีการพฒั นาสอ่ื เทคโนโลยีใหเ้ หมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน มีแหลง่ เรยี นร้แู ละ

แหลง่ สืบค้นข้อมูล ได้แก่ หอ้ งสมดุ เวป็ ไซต์ของครู ครูในสาระการเรียนรู้เดียวกันรว่ มกันกาหนดแผนการจัดการ

เรยี นรู้ ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นไดเ้ ลอื กเรียนตามท่ีสนใจในกิจกรรมชุมนุม และกจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ เช่น การ

เลน่ ตนตรี การซอ่ มบารุงคอมพวิ เตอร์ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สบื คน้

๑๘

ขอ้ มลู หรือแสวงหาความรจู้ ากสอ่ื เทคโนโลยไี ด้ ดว้ ยตนเอง รวมทง้ั สามารถวิเคราะห์ จาแนกแยกแยะไดว้ ่าส่งิ ไหนดี
ส่ิงไหนสาคญั หรือจาเป็น รวมทงั้ รูเ้ ทา่ ทันสอื่ และสังคมทีเ่ ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็

5) มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของโรงเรยี นบ้านหนองฆ้อนั้น ไดเ้ รมิ่ ตั้งแต่การให้ครูวเิ คราะห์หลักสูตรสถานศกึ ษา
วิเคราะหผ์ ู้เรยี นก่อนการจัดทาแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ มีการนิเทศภายในเพื่อกากบั ติดตามและหาแนว
ทางการจัดกิจกรรมทเ่ี หมาะสมกบั เน้ือหาและผ้เู รียน ตลอดจนถึงการออกข้อสอบวัดและประเมนิ ผลทีต่ รงตาม
ตวั ชีว้ ดั โดยมกี ารวิเคราะห์ข้อสอบใหม้ รี ปู แบบท่ีหลากหลาย ทีส่ ามารถวดั ผลไดค้ รอบคลุมทั้งดา้ นความรู้ ความจา
เขา้ ใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ คา่ และสร้างสรรค์ ซ่งึ ทาให้ได้ขอ้ สอบที่สามารถวดั ผลได้จรงิ
รวมทั้งมแี นวทางการวัดและประเมินผลท่ีมีการวดั ผลท้ังทางด้านพฒั นาการ ดา้ นพฤตกิ รรม ด้านการมีส่วนรว่ ม
มากกวา่ ทจี่ ะวดั ผลจากข้อสอบเพยี งอยา่ งเดยี ว อีกทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยังมุง่ เนน้ การสอนแบบ
Active Larning แบบ DLTV แบบ STEM แบบ PBL และ BBL นอกจากน้ีทางโรงเรยี นยังมีโครงการรองรับในการ
พฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เชน่ โครงการเปดิ บ้านวิชาการ โครงการนเิ ทศภายใน โครงสง่ เสริมความเปน็ เลิศ
ทางวชิ าการ โครงการยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น โครงการพัฒนาบุคลากรทางการศกึ ษา โครงการเยี่ยมบ้าน
โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ โครงการ EIS โครงการพัฒนาหลกั สูตร อกี ท้ังโรงเรียนบา้ นหนองฆ้อมีครูครบทุก
วิชาเอกทาให้เกิดการสอนที่มีประสิทธ์ภิ าพ แนวทางในการพัฒนาใหม้ ีการนาส่อื เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนในการ
จดั การเรียนรใู้ หม้ ากข้ึนเพือ่ เป็นการดึงดดู ความสนใจของผเู้ รียน เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้เรียนรูผ้ า่ นช่องทางต่างๆ
และสร้างเจตคติทดี่ เี กี่ยวกับการเรียน รวมทงั้ การให้ความสาคญั กบั การสอบวัดผลในระดับสถานศกึ ษาและ
ระดบั ชาติ พัฒนาส่ือและแหลง่ เรยี นรใู้ หค้ รบตามกล่มุ สาระ และมจี านวนเพียงพอต่อความต้องการของผเู้ รยี น
ผูเ้ รียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ระดับผลการเรยี น 3 ขึ้นไปใน
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-6 คิดเปน็ ร้อยละ 78.59 และช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี1-3 คดิ เป็นร้อยละ 76.72
ภาพรวมผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนใน 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คดิ เปน็ รอ้ ยละ 77.65 ซงึ่ ได้ตามเป้าหมายท่โี รงเรยี น
ตั้งไว้ทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ และจากการทีโ่ รงเรยี นบ้านหนองฆ้อ ได้ร่วมกันพัฒนายกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรยี น โดยจดั ทาโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ NT/O-NET สง่ ผลใหผ้ ลการทดสอบระดับชาติ ในระดบั ช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เพิ่มขึ้น 2 กลุ่มสาระ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 5.73 และกลุม่
สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 1.11 จากผลการประเมนิ ด้านผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ปี
การศึกษา 2562 นักเรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่1-6 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในระดับ 3 ขน้ึ ไปทกุ กลมุ่ สาระ
วิชา เฉล่ียรอ้ ยละ 78.59 นกั เรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 ในภาคเรยี นที1่ มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นใน
ระดับ 3 ขึน้ ไปทกุ กลุ่มสาระวิชา เฉลยี่ ร้อยละ 71.49 และในภาคเรียนท่2ี มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นในระดับ 3
ขน้ึ ไปทุกกลุ่มสาระวิชา เฉลี่ยรอ้ ยละ 76.72 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ปี

๑๙

การศึกษา 2562 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มีค่าเฉลย่ี ระดบั โรงเรียนเพิม่ ข้นึ 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระ
ภาษาไทย และ กลมุ่ สาระภาษาต่างประเทศ

6) มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ งานอาชพี อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดี โรงเรียนบา้ น
หนองฆ้อได้มกี ระบวนการพฒั นาท่ีสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะพ้ืนฐาน และมีเจตคติทด่ี ีต่อ
งานอาชีพ โดยจัดโครงการทร่ี องรบั คุณภาพของผู้เรยี นตามมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของมาตรฐานการศึกษา คือ ในปี
การศกึ ษา 2562 นนั้ มีโครงการส่งเสริมครูภมู ิปญั ญาท้องถิน่ โครงการทาแผ่นพ้นื ทางเท้าเพื่ออาชีพตามปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการสหกรณร์ ้านค้าและสวัสดกิ ารโรงเรียน โครงการสง่ เสริมพัฒนาทกั ษะอาชีพ และ
โครงการเปิดบา้ นวิชาการ ในโครงการสง่ เสรมิ ครภู ูมปิ ัญญาท้องถิน่ นนั้ จัดกจิ กรรมใหก้ บั ผ้เู รยี นได้อบรมเชงิ
ปฏิบัติการเกยี่ วกับงานทอผ้า ผู้เรยี นไดเ้ รียนรแู้ ละลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สามารถทอผ้าเปน็ ผ้าขาวม้าท่ีใชค้ ล้องคอ
ได้ด้วยตนเอง ซึ่งผูเ้ รยี นเกิดความภมู ิใจหลังจากทาชนิ้ งานไดส้ าเร็จ โครงการทาแผน่ พ้นื ทางเทา้ เพือ่ อาชีพตาม
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการนีใ้ หค้ วามรู้เกี่ยวกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผา่ นการปฏิบตั ิทา
แผน่ พืน้ ทางเทา้ ในขั้นตอนกระบวนการทาและเรียนรู้น้นั ผู้สอนไดส้ อดแทรกท้ังทักษะการทางานและการอยู่
รว่ มกนั โครงการสหกรณ์รา้ นค้าและสวสั ดกิ ารโรงเรียน โครงการดงั กล่าวมกี ารจัดกิจกรรมตามหลกั การของการ
สหกรณ์ ซ่งึ มุ่งเน้นให้รู้จกั การทางานรว่ มกัน และการแกป้ ัญหา โดยสมาชกิ สหกรณจ์ ะเป็นกลมุ่ ที่มีเป้าหมาย
เดยี วกัน มีปัญหาคล้ายคลึงกัน ในกระบวนการของสหกรณจ์ ะใหส้ มาชิกไดช้ ่วยกนั แก้ปัญหา และสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั
สมาชกิ นอกจากน้ีผู้เรยี นทส่ี นใจหารายไดร้ ะหว่างเรยี นกส็ ามารถสมัครเข้าทางานเปน็ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ไดซ้ ึ่งเปน็
การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝกึ ฝนตนเองในการทางานการประกอบอาชีพไดเ้ ปน็ อยา่ งดี โครงการส่งเสรมิ พัฒนา
ทักษะอาชพี โครงการน้ีได้ให้ผ้เู รียนไดเ้ รยี นรูก้ ารทาชายผ้าอเนกประสงค์และได้นาเสนองานผา่ นกจิ กรรมต่างๆตาม
โอกาสอันควร โดยผู้เรยี นได้ท้ังฝึกปฏบิ ตั แิ ละยงั ได้นาเสนอผลงานเกิดประสบการณ์และทักษะในการสื่อสาร และ
โครงการเปดิ บ้านวิชาการ เป็นโครงการท่ีนาเสนอผลงานท้ังท่ีเกิดจากผสู้ อนและผเู้ รยี นผา่ นกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ ซึง่ ผลงานแต่ละผลงานท่เี กิดข้นึ นัน้ ลว้ นแสดงถึงการมคี วามรู้ ความสามารถ การไดใ้ ช้ทกั ษะทเ่ี กิดจากการ
เรยี นรู้ รวมไปถงึ กจิ กรรมในโครงการยังไดเ้ ปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนได้ฝกึ ปฏิบัตดิ า้ นอาชีพ โดยมกี ารให้ผเู้ รียนไดท้ า ได้
ผลติ สินคา้ มาจดั จาหน่าย โดยมคี รูเปน็ ผใู้ หค้ าปรึกษา ดังน้ันทกุ โครงการทีก่ ล่าวมาทโ่ี รงเรยี นบ้านหนองฆ้อไดจ้ ดั ทา
นั้น สรา้ งความรู้ ทักษะ และเจตคตทิ ่ดี ตี ่องานอาชพี อนั พึงจะเกิดขึ้นกบั ผู้เรียน โดยถือวา่ โครงการดังกล่าวนน้ั เป็น
จุดเดน่ ของการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นดว้ ย ในสว่ นของจดุ ท่ีควรพัฒนาน้นั เปน็ เร่ืองของการสร้างแรงจงู ใจของผ้เู รยี น
ในการเลือกศึกษาต่อในสายอาชพี ซ่ึงไม่เพียงแต่ผ้เู รียนเทา่ น้นั ยังหมายรวมไปถงึ ผปู้ กครองด้วย ซึง่ ในสว่ นนี้งาน
แนะแนวได้ตระหนักและหาแนวทางแก้ไขโดยประสานงานกับครผู ้รู บั ผดิ ชอบโครงการให้มีการเนน้ ยา้ ให้ผู้เรยี นได้
เลง็ เหน็ ความสาคัญของอาชีพให้มากขนึ้ ในปีการศกึ ษาต่อไป นอกจากน้ียังมีการประสานงานกันวทิ ยาลยั ทเี่ ปน็ การ
เรียนสายอาชีพให้มกี ารเขา้ แนะแนวผู้เรียน รวมท้ังทางโรงเรยี นได้ส่งบคุ ลากรไปอบรม เข้ารว่ มสัมมนาเกยี่ วกบั

๒๐

ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(EEC) และเขา้ ร่วมกลุ่มกบั EECi เพอ่ื พฒั นาทักษะในการศึกษาทัง้ ด้าน
ความรู้และทักษะท่ีจาเป็นพน้ื ฐานในการประกอบอาชีพในอนาคต

1.2 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น อยู่ในระดบั คุณภาพ ดี
1) ผ้เู รยี นมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มที่ดตี ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด อย่ใู นระดบั คุณภาพ ดี

โดยในภาพรวมของโรงเรยี น นักเรียนผ่านการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ผา่ นโครงการและกิจกรรมท่ีทาง
โรงเรียนได้ดาเนนิ การไมว่ ่าจะเปน็ โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา โครงการกจิ กรรมวันสาคัญ รู้
และเขา้ ร่วมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน มีการสง่ เสรมิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น รวมทั้งระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
รู้จกั การออมใชท้ รพั ยากรอย่างคุ้มคา่ นักเรียนมีความรับผดิ ชอบ มีวินยั มภี าวะผู้นาและมีจติ อาสา

2) ผู้เรยี นมคี วามภูมใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย อย่ใู นระดบั คุณภาพ ดี
ในภาพรวม นักเรยี นรว่ มกิจกรรมตามประเพณี วันสาคัญ และท้องถนิ่ นักเรยี นมีพฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรัก
ในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์เปน็ นกั เรยี นมี
พฤติกรรมทีแ่ สดงออกถงึ ความรักและภูมิใจในความเปน็ ไทย ประเพณวี ัฒนธรรมและท้องถน่ิ ผลงานเชงิ ประจักษ์
ได้แก่ แบบประเมินคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทีด่ ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด แบบบนั ทกึ ความภูมิใจในท้องถิ่นและ
ความเป็นไทย แบบบันทึกรว่ มกิจกรรมตามประเพณี วันสาคัญ และท้องถ่ิน ภาพกจิ กรรมการร่วมแสดงงาน
ประจาปแี ละงานสาคญั ขององค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน

3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
โรงเรียนบ้านหนองฆ้อมีการจัดกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรรู้ ว่ มกนั อย่างมีความสุข มีการยอมรับทีจ่ ะ
อยูร่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ซึง่ กระบวนการพฒั นาในส่วนนี้โรงเรยี นบ้านหนองฆ้อไดเ้ ร่ิมจาก
แผนการรบั นกั เรยี นเขา้ ศึกษาท่โี รงเรียนซ่งึ สนองตามนโยบายที่ไม่เลือกรับนักเรียน ไม่เลือกปฏิบัติ ซ่ึงการรบั
นักเรียนในลกั ษณะนี้ โรงเรียนจะมผี ู้เรยี นทีม่ ีลักษณะ มีความสามารถ ท่ีแตกต่างกนั ซ่ึงหมายรวมถึงการมผี เู้ รยี นที่
ตา่ งเช้ือชาติและศาสนาดว้ ย ซ่งึ โรงเรียนบ้านหนองฆอ้ มีกระบวนการจัดการศกึ ษาท่ีรองรับความแตกตา่ งระหว่าง
บคุ คล มกี ารลงข้อมูลพื้นฐานของผ้เู รยี นตามระบบ มีการเยี่ยมบ้านผู้เรียนทุกคน และนาข้อมูลจากการเย่ยี มบ้านมา
เป็นขอ้ มลู พืน้ ฐานในการจดั การศึกษาและการใหค้ วามช่วยเหลอื โดยสงั เกตไดว้ า่ จะมีรายช่อื ของผู้เรยี นของ
โรงเรยี นบา้ นหนองฆ้อทีเ่ ป็นต่างด้าว ไดร้ บั การให้ความชว่ ยเหลือด้านเงินทุน ได้รบั เงินปัจจัยพ้ืนฐานนกั เรียน
ยากจน ซึง่ ถือว่าเปน็ ความเสมอภาคของผเู้ รยี นท่ีควรไดร้ ับ ในส่วนของผเู้ รียนดว้ ยกนั นัน้ ทางโรงเรียนไม่พบปัญหา
ของการเลอื กคบ เลือกปฏิบตั ิของผ้เู รียน แต่ในทางตรงกันข้าม ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้รว่ มกนั ได้เปน็ อยา่ งดี มกี าร
ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกนั โดยกิจกรรมทถ่ี ือว่าเปน็ กระบวนการพฒั นาและเป็นจุดเด่นของโรงเรยี นบ้านหนองฆ้อ คือ
การเยย่ี มบ้าน โครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น รวมไปถึงโครงการกิจกรรมย่อยทเี่ กิดจากกระบวนการจดั การ
เรยี นรตู้ า่ งๆ เชน่ การเรียนรูใ้ นรูปแบบโครงงาน การเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการกลมุ่ การจัดกจิ กรรมเพ่ือนช่วยเพ่ือน

๒๑

กิจกรรมทเ่ี นน้ การทางานเป็นทีม อันได้แก่โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ซึ่งโครงการนเี้ ป็นการไดใ้ หผ้ ู้เรียนทากิจกรรม
การแขง่ ขันกีฬาภายใน ซง่ึ ผเู้ รียนสามารถแสดงศักยภาพของตนเองได้อย่างเตม็ ที่ โดยผา่ นกระบวนการทางาน
รว่ มกนั ผู้เรยี นไดใ้ ช้หลกั การประชาธิปไตยตามโครงการสง่ เสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรียน ที่มกี ารคัดเลือกประธาน
นักเรียนและทีมงานทเี่ ป็นสภานักเรียนในการทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ผรู้ ับฟังความคดิ เหน็ ของผเู้ รยี นทงั้ โรงเรียนและนา
ปญั หามาปรึกษาครูเพ่ือแกป้ ัญหารว่ มกัน รวมไปถึงเป็นกลุ่มที่แสดงให้เหน็ ถงึ การประสานงานการทางานร่วมกนั กับ
ผอู้ ืน่ หลักการเหล่าน้ถี ูกนามาใช้กบั โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผเู้ รยี นไดเ้ ลอื กประธานสี ได้แบง่ หน้าท่ี ได้รบั ผิดชอบ
ร่วมกนั และชว่ ยกนั ทากจิ กรรมจนลลุ ่วงไปไดด้ ้วยดี โดยผเู้ รยี นทุกคนไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมด้วยความเสมอภาค
นอกจากน้ียังมโี ครงการรณรงค์ป้องกนั และแกป้ ัญหายาเสพติด (To be number one) ซึ่งเป็นโครงการที่มกี ารรบั
สมคั รผเู้ รียนเขา้ ร่วมโครงการโดยไมป่ ิดกนั้ ย่งิ เฉพาะผ้เู รยี นท่มี ีปญั หาทุกกคนไดร้ ับการให้ความชว่ ยเหลอื ทั้งจาก
ผู้สอนและผู้เรยี นดว้ ยกัน โครงการส่งเสริมกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น เป็นอีกโครงการหน่งึ ทีส่ ่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถ
อยู่ดว้ ยกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขจากการเขา้ ค่ายลูกเสอื เนตรนารี มกี ารใหก้ ารยอมรบั ซึง่ กันและกัน และใชค้ วาม
แตกตา่ งทหี่ ลากหลายเปน็ สว่ นทก่ี าหนดและแบง่ หน้าท่ขี องผู้เรียนซ่ึงเหมาะสมกบั ความสามารถของแตล่ ะบุคคล
ในสว่ นของจุดท่ีควรพัฒนาและแผนการยกระดบั คุณภาพน้ัน ทางโรงเรยี นบ้านหนองฆ้อ ไดเ้ ล็งเห็นวา่ ควรพัฒนาใน
เรอ่ื งของการเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ ลกึ ของผู้เรยี นทปี่ ระสบปญั หาและผู้เรยี นท่ีมีความเส่ียงท่ีจะเกดิ ปัญหา รวมไปถึงการ
ติดตามผลแก้ปัญหาของผูเ้ รยี นอย่างสมา่ เสมอ ซ่ึงสว่ นนี้จะสามารถทาใหผ้ ู้เรียนได้รบั การชว่ ยเหลืออย่างเต็มที่และ
ตอ่ เน่ือง อีกทง้ั ควรพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ให้ผู้เรยี นไดแ้ สดงศักยภาพ เรยี นร้แู บบ Active learning
ซึ่งจะเปน็ การพฒั นากระบวนการทางานกลุม่ ที่จะต้องให้เกิดขึน้ กบั ผู้เรยี นทุกคน การเรยี นรู้การทางานเปน็ ทีม การ
แกป้ ัญหารว่ มกัน การชว่ ยเหลอื ซงึ กันและกนั ซงึ่ โดยปกตโิ รงเรียนบ้านหนองฆอ้ ได้ปฏิบัติแต่สาหรับในปีการศึกษา
ต่อไปจะมีการเน้นให้มีการปฏิบัติมากขนึ้ และให้เกิดผลสัมฤทธ์ทิ ด่ี ีขนึ้

4) สุขภาพรา่ งกายและจติ สงั คม อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี
ผู้เรยี นมีสขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม ในภาพรวม ได้ตามเปา้ หมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด นกั เรียนมนี า้ หนัก
ส่วนสงู และพัฒนาการทางร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามเกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ
นักเรยี นมสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐานของกลมพลศึกษา หรอื สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสขุ ภาพ (สสส.) นักเรียนมีสขุ ภาพแข็งแรง แต่งกายสะอาดเรยี บรอ้ ย เครอ่ื งใชส้ ว่ นตวั สะอาด และปฏบิ ตั ิตน
ตามสขุ บญั ญตั ิ 10 ประการ นักเรยี นหลีกเลยี่ งจากสงิ่ มอมเมา ปัญหาทางเพศ การทะเลาะววิ าท และอบายมุขทกุ
ชนดิ นักเรียนมพี ฤติกรรมที่แสดงออกในการดาเนินชีวติ ท่ีเป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม และมีจติ สาธารณะ นกั เรยี น
ผา่ นการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ด้านความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ผลงานเชงิ ประจักษ์ ไดแ้ ก่
แบบประเมนิ น้าหนักส่วนสูงและพัฒนาการทางร่างกายของนักเรียน แบบรายงานผลการตรวจสอบนา้ หนกั
ส่วนสงู ของนกั เรียน แบบประเมินสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข แบบรายงานผลการประเมนิ สมรรถภาพทาง
กายตามเกณฑ์มาตรฐาน

๒๒

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดี

2.1 มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเลศิ
โรงเรียนบ้านหนองฆ้อ มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปญั หา

ความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และ
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ ซ่ึงได้จากการดาเนินการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของ
โรงเรียน โดยผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้นาชุมชน ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า
ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรใน
สถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกันกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น

2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา อย่ใู นระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ
โรงเรียนบ้านหนองฆ้อ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่งผลต่อคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนาข้อมลู
มาใช้ในการปรบั ปรุง พัฒนางานอยา่ งต่อเน่อื ง

สามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาพอย่างเป็นระบบ ท้ังในส่วนการมีส่วนร่วม
วางแผนและจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี จากคณะกรรมการสถานศึกษาขันพื้นฐาน ครู บุคคลากรในโรงเรียน
และหน่วยงานภายนอก เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น บริษัท ปตท.จากัด (มหาชน) บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย
จากัด (มหาชน) บริษัท ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล เอสเตท ระยอง จากัด ฯลฯ เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา โดยยึดหลักธรรมมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่ง
พัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่าง
ต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศ
ภายใน การนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนา บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา
และร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา

2.3 ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย
อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดี

โรงเรียนบ้านหนองฆ้อ ได้ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย นอกจากน้ียังมีการจัดทาหลักสูตรท้องถ่ินและหลักสูตรต้านทุจริต ท่ี
ดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งได้รับความร่วมมือจากชุมชน และหน่วยงานภายนอก ในการจัดทา โดยหลักสูตร
ไดม้ กี จิ กรรมการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย คลอบคลุม เพอื่ มงุ่ เน้นการพัฒนาศักยภาพ และเช่อื มโยง กบั ชีวิตจรงิ ผเู้ รยี น
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ มีการจัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ (Active Learning) ตามตัวช้ีวดั ของหลักสูตรสถานศึกษา มแี ผนการจัด การเรยี นรู้ ทส่ี ามารถนาไป
จัดกิจกรรมได้จรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ มีการจดั ทาสื่อและนวตั กรรม ในการจัดการเรยี นรู้และมี
การเผยแพร่สู่สถานศึกษาใกล้เคียง และชุมชนโดยรอบสถานศึกษา สถานศึกษากากับ ติดตามและประเมินผลการ
บริหารและการจัดการศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม ชดั เจน และเปดิ โอกาสให้ผูเ้ ก่ียวข้องมีสว่ นร่วม

๒๓

2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี
มีการพัฒนาครูบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ทางวิชาชีพตรงตามความ

ต้องการของครู ตามมาตรฐานตาแหน่ง และสถานศึกษา โดยสนับสนุนใหม้ ีการจัดกิจกรรมชุมชนการเรียนรู้(PLC)
ส่งบุคลากรเข้ารับการประชุม/อบรมทางวิชาชีพ จากหน่วยงานต้นสังกัดและหนว่ ยงานภายนอก รวมถึงการอบรม
ในระบบออนไลน์ ในทุกๆคร้งั ที่มีโอกาส เพื่อพัฒนางาน

2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ ออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดี
โรงเรียนบา้ นหนองฆ้อมีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้

อย่างมีคุณภาพ และคานึงถึงประโยชน์สูงสุดท่ีผู้เรียนจะได้รับ โดยได้ให้ความสาคัญกับการจัดบรรยากาศและ
สภาพแวดล้อมทั้งภายในและรอบๆ บรเิ วณโรงเรียนให้เออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ จดั สิง่ แวดล้อมภายในและภายนอก
ให้ สะอาด สะดวก เนน้ ความปลอดภยั การป้องกนั อุบัตเิ หตุ การดแู ลรักษาเคร่อื งมอื เครอ่ื งใช้ของโรงเรียนใหอ้ ยู่ใน
สภาพท่ีดี ใช้การได้ ตลอดจนการจัดสภาพภูมิทัศน์ของโรงเรียนให้สวยงาม เป็นที่น่ารื่นรมย์ แก่นักเรียน ครู และผู้
เข้ามาพบเห็น ในส่วนสภาพแวดล้อมด้านสังคม โรงเรียนมีความสัมพันธ์ท่ีดีย่ิงกับเครือข่ายผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน
และหน่วยงานราชการต่างๆ ได้ทาโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนร่วมกันหลากหลายโครงการ มีการส่งเสริมการ
ปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีการกากับ ติดตามการดาเนินงาน และร่วมประชุมกับ
คณะครู

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ดี

มีการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศท่ีมีความถูกต้องและดาเนินการอย่างเป็นระบบ ครบถ้วน
ทนั สมยั เป็นปัจจุบนั เพ่อื อานวยความสะดวกแก่ฝา่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง สามารถนาข้อมูลสารสนเทศไปใชท้ างานต่างๆ
ได้โดยสะดวก

๒๔

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั อยู่ในระดับคุณภาพ ดี
3.1 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ
อย่ใู นระดับคุณภาพ ดี

โรงเรียนส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน
กระบวนการคิดขั้นสูงและลงมือปฏิบัติจริง เช่น การเรียนรู้แบบโครงงาน การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม การ
เรียนรู้ทักษะอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงการฝึกทักษะต่าง ๆ ตามกระบวนการเรียนรู้ทั้ง
ในห้องเรียนและนอกห้องเรยี น ไม่ว่าจะเป็นการเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นกล้าแสดงออก ได้แสดงความคิดเห็น การสรปุ
องค์ความรู้ในรูปแบบ Mind Mapping การผลิตช้ินงาน การนาเสนอผลงาน เป็นต้น ซึ่งทักษะเหล่านี้ผู้เรียน
สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได้ ครผู ้สู อนมีการจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning ที่
สามารถนาไปจดั กิจกรรมได้จริง สามารถพฒั นาผูเ้ รียนให้เกิดการเรยี นรแู้ ละทกั ษะตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้และมี
คุณภาพ โดยกระตุ้นให้ครูมีการส่งแผนการจัดการเรียนรู้ล่วงหน้าก่อนการสอนทุกสัปดาห์ พร้อมบันทึกหลังการ
สอนจากการใช้แผนการจดั การเรียนรนู้ ัน้ ๆ

3.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ เี่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี
โรงเรียนส่งเสริมให้ครูมีการใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญา

ท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย แสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยี โรงเรียนมีสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเพียงพอต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ และได้นาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการเรียนรู้ทักษะอาชีพ ซ่ึงได้เชิญวิทยากรภายในท้องถ่ินมาให้
ความรู้แก่ผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น ผู้เรียนแสวงหาความรู้ท่ีหลากหลายทั้งในและนอก
หอ้ งเรยี น จากเอกสาร ตารา บคุ คล และท้องถ่ิน

3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดี
ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้เด็กรักท่ีจะเรียนรู้

สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในและ
นอกห้องเรียนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เป็นการดาเนินการให้ชั้นเรียนได้อยู่ในสภาพความพร้อมที่จะดาเนินการเรียน
การสอนใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เพอ่ื ให้เกิดประสิทธิผลในการเรยี นรขู้ องผู้เรียนอย่างแท้จริง

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ
มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เครื่องมอื

และวธิ ีการวดั และประเมินผลทเ่ี หมาะสมกบั เปา้ หมายในการจัดการเรียนรู้ และใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับแก่ผูเ้ รยี นและนา
ผลมาพัฒนาผู้เรียนประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง มีขัน้ ตอนตรวจสอบไดแ้ ละประเมินอย่างมีระบบ ใช้เครือ่ งมือและ
วิธีการวัดเพ่ือประเมินผลให้เหมาะสมกับเป้าหมายและการจัดการเรียนการสอน โดยครูทุกคนมีการทาวิจัยในชั้น
เรยี นเพอ่ื ตรวจสอบปญั หาและแกป้ ัญหาเกี่ยวกับการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น อย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ เรื่อง

๒๕

3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้

อยใู่ นระดับคุณภาพ ดี
ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับ

เพ่ือนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยครูทุกคนจะได้รับการนิเทศการสอนและนิเทศช้ัน
เรียนเพ่ือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเก่ียวกับเทคนิคการสอนและการจัด
บรรยากาศในชั้นเรียน นอกจากนี้ยังมีการทากระบวนการ PLC เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพอีก
ด้วย

๒๖

ภาคผนวก

๒๗

1. ขอ้ มลู งบประมาณ

งบประมาณ (รบั -จา่ ย)

รายรับ จานวน/บาท รายจา่ ย จานวน/บาท
459,600.00
เงนิ งบประมาณ 1,091,418.00 งบดาเนินการ/เงินเดอื น-ค่าจ้าง 963,225.97
862,786.45
เงนิ นอกงบประมาณ 1,000,120.00 งบพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 2,285,612.42

เงินอืน่ ๆ(ระบุ) 355,800.00 งบอนื่ ๆ (ระบุ)

รวมรายรับ 2,447.338.00 รวมรายจา่ ย

งบดาเนินการ/เงินเดอื น เงนิ คา่ จา้ ง คดิ เปน็ ร้อยละ 18.78 ของรายรับ

งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คิดเปน็ ร้อยละ 39.36 ของรายรับ

2. ข้อมลู สภาพชมุ ชนโดยรวม
สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ เป็นหมู่บ้านชุมชนขนาดเล็ก กระจัดกระจายกันอยู่

ตามพื้นที่ประกอบอาชีพ บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ประกอบด้วย หมู่ท่ี 7 หมู่ท่ี 8 และหมู่ 9 ตาบลหนอง
บัว อาชีพหลักของชุมชน คือประกอบอาชีพ รับจ้าง การเกษตร ทาสวนยางพารา ทาสวนไม้ผล และรับจ้างกรีด
ยาง เน่ืองจากมีพื้นท่ี ที่เหมาะสมทางการเกษตร ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรม
ท้องถ่ินท่ีเป็นที่รู้จักโดยท่ัวไป คือการจัดงานวันสงกรานต์ รดน้าผู้สูงอายุ กิจกรรมทางศาสนา เช่น ทาบุญตักบาตร
เวียนเทียน กิจกรรมวันพ่อ วันแม่ ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ป. 6 อาชีพหลัก คือการเกษตรทาสวน
ยางพารา สวนไม้ผลและรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 95.00 ส่วนใหญ่นับถือนับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 99.00
ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้โดยเฉลยี่ ต่อครอบครวั ตอ่ ปีประมาณ 80,000 บาท

๒๘

3. โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา
โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นบา้ นหนองฆ้อ

เวลาเรยี น

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓

 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

สงั คมศึกษา ศาสนา 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ 8๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐

และวัฒนธรรม (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.)

ประวัติศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 40 40 40
(๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)

สุขศึกษาและพลศกึ ษา 4๐ 4๐ 4๐ 8๐ 8๐ 8๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
(๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)

ศิลปะ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
(๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)

การงานอาชีพและ - ๔๐ ๔๐ - ๘๐ ๘๐ - ๘๐ ๘๐
เทคโนโลยี (๒ นก.) (๒ นก.)

การงานอาชีพ ๔๐ - - ๘๐ - - ๘๐ - -
(๒ นก.)

ภาษาต่างประเทศ 12๐ 12๐ 12๐ 12๐ 12๐ 12๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)

รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘8๐ ๘8๐ ๘8๐
(๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.)

๒๙

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ป. ๑ เวลาเรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 8๐ ระดบั ประถมศกึ ษา ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
4๐ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
ภาษาอังกฤษเพมิ่ เตมิ - - - -
คอมพิวเตอร์ - 8๐ 8๐ - - - 8๐ 4๐ 8๐
- 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ (2 นก.) (1 นก.) (2 นก.)
งานเกษตรเพ่ิมเติม - 8๐ - -
งานทอผา้ เพิม่ เตมิ - ----- (2 นก.)
งานช่างปนู เพม่ิ เติม - 4๐ - -
สหกรณเ์ พิ่มเตมิ - ----- (1 นก.)
การซ่อมบารุงคอมพิวเตอร์ - 8๐ -
งานช่างเพมิ่ เติม ----- (2 นก.)
โครงงานเพ่ิมเติม - -
----- 4๐
รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เตมิ ) 120 - (1 นก.) -
-----
 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 - 4๐ 8๐
แนะแนว 40 ----- (1 นก.) (2 นก.)
40 -
ลูกเสอื /เนตรนารี 30 ----- - 4๐
ชมุ นมุ 10 200 (1 นก.)
120 120 40 40 40 (5 นก.) - 200
กิจกรรมเพอื่ สงั คมฯ 120 120 120 120 120 120 (5 นก.)
40 40 40 40 40 200 120
40 40 40 40 40 40 (5 นก.)
30 30 30 30 30 40 120 40
10 10 10 10 10 30 40
10 40 30
40 10
30
10

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด 1,080 ชว่ั โมง/ปี 1,000 ชวั่ โมง/ปี 1,200 ชวั่ โมง/ปี

๓๐

โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั ปี

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านหนองฆ้อ พุทธศักราช ๒๕62 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดกรอบโครงสร้างหลักสูตร ซ่ึงแสดงรายละเอียดของรายวิชาเรียนพ้ืนฐาน
รายวิชาเรียนเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายชั้น ต้ังแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ -6 และระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ดงั นี้

โครงสรา้ งหลกั สตู รชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ป)ี
รายวชิ า / กจิ กรรม ๘๔๐
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๒๐๐
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๘๐
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ 4๐
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 4๐
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี 12๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 12๐
รายวชิ าเพมิ่ เติม 80
อ ๑๑๒๐1 ภาษาองั กฤษเพ่มิ เตมิ 40
ง ๑๑๒๐๑ โปรแกรมกราฟกิ ๑ ๑๒๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๔๐
แนะแนว ๔๐
ลกู เสือ/เนตรนารี ๓๐
ชมุ นุม ๑๐
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
๑,080 ชม./ปี
รวมทงั้ สน้ิ

โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๓๑

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชวั่ โมง/ป)ี
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘๔๐
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐
ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาพลศึกษา 4๐
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ 4๐
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 12๐
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ 12๐
อ ๑22๐1 ภาษาอังกฤษเพิม่ เติม 80
ง ๑๒๒๐๑ โปรแกรมกราฟกิ ๒ 40
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๒๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสอื /เนตรนารี ๔๐
ชุมนมุ ๓๐
กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมทง้ั สนิ้ ๑,08๐ ชม./ปี

โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๓๒

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ป)ี
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘๔๐
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาพลศึกษา 4๐
ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ 4๐
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 12๐
รายวชิ าเพิม่ เติม 12๐
อ ๑3๒๐1 ภาษาอังกฤษเพม่ิ เตมิ 80
ง ๑๓๒๐๑ การสืบค้นขอ้ มลู 40
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๒๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐
ชมุ นมุ ๓๐
กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมทงั้ สน้ิ ๑,08๐ ชม./ปี

โครงสรา้ งหลกั สตู รชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๓๓

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ป)ี
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘๔๐
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐
ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศึกษา 4๐
ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๘๐
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 12๐
รายวชิ าเพ่ิมเติม 4๐
ง ๑๔๒๐๑ การประมวลผลคา 40
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๒๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐
ชมุ นุมหนองฆ้อพอเพียง ๓๐
กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมทง้ั สน้ิ ๑,๐0๐ ชม./ปี

โครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ๓๔

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชวั่ โมง/ป)ี
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๘๔๐
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑๖๐
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาพลศึกษา 4๐
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๐
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 12๐
รายวชิ าเพิ่มเตมิ 4๐
ง ๑๕๒๐๑ คอมพวิ เตอร์นาเสนองาน 4๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๒๐
แนะแนว ๔๐
ลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐
ชุมนุมหนองฆ้อพอเพียง ๓๐
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมทง้ั สน้ิ ๑,๐0๐ ชม./ปี

โครงสรา้ งหลกั สตู รชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๓๕

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชวั่ โมง/ป)ี
รายวชิ าพนื้ ฐาน ๘๔๐
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐
ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 4๐
ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๐
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 12๐
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 4๐
ง ๑๖๒๐๑ ตารางการทางาน 4๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑๒๐
แนะแนว ๔๐
ลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐
ชุมนุมหนองฆ้อพอเพยี ง ๓๐
กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐

รวมทง้ั สน้ิ ๑,๐0๐ ชม./ปี

๓๖

โครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑

ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยกติ /ชม. ภาคเรยี นที่ ๒ หนว่ ยกติ /ชม.

รายวชิ าพ้ืนฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวชิ าพ้ืนฐาน ๑๑(๔๔๐)

ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)

ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
๑.๕ (๖๐) ๑.๕ (๖๐)
ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์และ ๑.๕ (๖๐)
เทคโนโลยี เทคโนโลยี

ส ๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ส ๒๑๑๐๓ สังคมศึกษา

ส ๒๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)

พ ๒๑๑๐๑ สขุ ศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๓ สุขศึกษา ๐.๕ (๒๐)

พ ๒๑๑๐๒ พลศกึ ษา ๐.๕ (๒๐) พ ๒๑๑๐๔ พลศกึ ษา ๐.๕ (๒๐)

ศ ๒๑๑๐๑ ทศั นศลิ ป์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๓ ทศั นศิลป์ ๐.๕ (๒๐)

ศ ๒๑๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๑๑๐๔ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๐.๕ (๒๐)

ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ (๔๐) ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๑ (๔๐)

อ ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐)

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 2.5(๑0๐) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 2.5(๑0๐)

ง ๒๑๒๐1 ส่ือมลั ตมิ เี ดียเพอื่ การศกึ ษา๑ ๑ (๔๐) ง ๒๑๒๐2 สือ่ มลั ติมเี ดยี เพื่อการศกึ ษา๒ ๑ (๔๐)

ง ๒๑๒๐3 งานเกษตร๑ 1 (4๐) ง ๒๑๒๐4 งานเกษตร๒ 1 (4๐)

ง 21205 งานทอผ้า๑ 0.5 (2๐) ง 21206 งานทอผ้า๒ 0.5 (2๐)

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๖๐

แนะแนว ๒๐ แนะแนว ๒๐

ลูกเสอื /เนตรนารี ๒๐ ลูกเสอื /เนตรนารี ๒๐

ชุมนมุ ๑5 ชมุ นุม ๑5

เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 5 เพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 5

รวมเวลา ๖0๐ ชม. รวมเวลา ๖0๐ ชม.

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ 1,200 ชว่ั โมง/ปี

๓๗

โครงสรา้ งหลักสตู รชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒

ภาคเรยี นที่ ๑ หนว่ ยกติ /ชม. ภาคเรยี นท่ี ๒ หนว่ ยกติ /ชม.
๑๑(๔๔๐)
รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑.๕ (๖๐)
๑.๕ (๖๐)
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย
๑.๕ (๖๐)
ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์
๑.๕ (๖๐)
ว ๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์และ ๐.๕ (๒๐)
เทคโนโลยี เทคโนโลยี ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐)
ส ๒๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๑.๕ (๖๐) ส ๒๒๑๐๓ สังคมศกึ ษา ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐)
ส ๒๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๑ (๔๐)
๑.๕ (๖๐)
พ ๒๒๑๐๑ สขุ ศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๓ สุขศกึ ษา 2.5(๑0๐)
0.5 (2๐)
พ ๒๒๑๐๒ พลศึกษา ๐.๕ (๒๐) พ ๒๒๑๐๔ พลศึกษา 1 (4๐)

ศ ๒๒๑๐๑ ทศั นศลิ ป์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๓ ทศั นศิลป์ ๐.๕ (๒๐)

ศ ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๒๑๐๔ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๐.๕ (๒๐)
๖๐
ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ (๔๐) ง ๒๒๑๐๒ การงานอาชพี ๒๐
๒๐
อ ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๕ (๖๐) อ ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๑5
5
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 2.5(๑0๐) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ
๖0๐ ชม.
ง ๒๒๒๐1 กราฟิกคอมพิวเตอร์1 0.5 (2๐) ง ๒๒๒๐2 กราฟิกคอมพิวเตอร์2

ง ๒๒๒๐3 งานชา่ งปนู ๑ 1 (4๐) ง ๒๒๒๐๔ งานชา่ งปูน๒

ง 22205 การซอ่ มบารงุ ๐.๕ (๒๐) ง 22206 การซอ่ มบารงุ
คอมพิวเตอร์1 คอมพิวเตอร์2

ส ๒๒๒๐๑ สหกรณเ์ พ่ิมเตมิ ๑ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๒๒๐๒ สหกรณ์เพิ่มเตมิ ๒

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

แนะแนว ๒๐ แนะแนว

ลกู เสอื /เนตรนารี ๒๐ ลกู เสือ/เนตรนารี

ชมุ นุม ๑5 ชุมนมุ

เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 5 เพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา ๖0๐ ชม. รวมเวลา

รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 1,200 ชวั่ โมง/ปี

๓๘

โครงสรา้ งหลกั สตู รชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓

ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยกติ /ชม. ภาคเรยี นท่ี ๒ หนว่ ยกติ /ชม.
๑๑(๔๔๐)
รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑.๕ (๖๐)
๑.๕ (๖๐)
ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)
๑.๕ (๖๐)
ค ๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐)
ว ๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว ๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)
๐.๕ (๒๐)
ส ๒๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๑.๕ (๖๐) ส ๒๓๑๐๓ สังคมศึกษา ๐.๕ (๒๐)

ส ๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส ๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๑ (๔๐)

พ ๒๓๑๐๑ สุขศกึ ษา ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๓ สุขศกึ ษา ๑.๕ (๖๐)
2.5(๑0๐)
พ ๒๓๑๐๒ พลศกึ ษา ๐.๕ (๒๐) พ ๒๓๑๐๔ พลศึกษา ๑ (๔๐)
๑ (๔๐)
ศ ๒๓๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๓ ทศั นศลิ ป์ 0.5 (2๐)

ศ ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๐.๕ (๒๐) ศ ๒๓๑๐๔ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๖๐
๑ (๔๐) ๒๐
ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพและ ๑.๕ (๖๐) ง ๒๓๑๐๒ การงานอาชีพและ ๒๐
เทคโนโลยี เทคโนโลยี ๑5
5
อ ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ อ ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖0๐ ชม.

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 2.5(๑0๐) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ

ง ๒๓๒๐1 การนาเสนอสื่อผสม1 ๑ (๔๐) ง ๒๓๒๐2 การนาเสนอส่ือผสม๒

ง ๒๓๒๐3 งานชา่ ง๑ ๑ (๔๐) ง ๒๓๒๐4 งานชา่ ง๒

ง ๒๓๒๐5 โครงงานเพิม่ เติม๑ 0.5 (2๐) ง ๒๓๒๐6 โครงงานเพม่ิ เติม๒

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

แนะแนว ๒๐ แนะแนว

ลกู เสอื /เนตรนารี ๒๐ ลกู เสือ/เนตรนารี

ชุมนุม ๑5 ชมุ นมุ

เพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 5 เพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา ๖0๐ ชม. รวมเวลา

รวมเวลาเรยี นทงั้ สนิ้ 1,200 ชวั่ โมง/ปี

๓๙

4. สรปุ ข้อมลู ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา

1) ระดับการศึกษาปฐมวยั

ผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562

พัฒนาการ จานวนเดก็ จานวน/รอ้ ยละของเด็กตามระดบั คุณภาพ
ท่ีประเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

1. ดา้ นร่างกาย 23 22 95.65 1 4.35 - -

2. ดา้ นอารมณ-์ จติ ใจ 23 22 95.65 1 4.35 - -

3. ดา้ นสังคม 23 21 91.30 2 8.70 - -

4. ดา้ นสติปญั ญา 23 20 86.96 3 13.04 - -

ผลการประเมินพฒั นาการเด็ก ชนั้ อนุบาลปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562

พฒั นาการ จานวนเดก็ จานวน/ร้อยละของเด็กตามระดับคุณภาพ
ทป่ี ระเมนิ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

1. ด้านรา่ งกาย 23 23 100 - - - -

2. ดา้ นอารมณ-์ จิตใจ 23 23 100 - - - -

3. ดา้ นสงั คม 23 22 95.65 1 4.35 - -

4. ดา้ นสตปิ ัญญา 23 21 91.30 2 8.70 - -

2) ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๔๐
2.1) ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดบั 3 ขึน้ ไป ป.6
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 ปกี ารศึกษา 2562

จานวนนักเรยี นทเี่ ข้าสอบ / จานวนนกั เรยี นที่ไดร้ ะดบั 3 ขึ้นไป / ร้อยละ

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5
กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้
เ ้ขาสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ้ึขนไป
ร้อยละ
เ ้ขาสอบ
ได้ระดับ 3 ึ้ขนไป
ร้อยละ
เ ้ขาสอบ
ไ ้ดระ ัดบ 3 ้ึขนไป
ร้อยละ
เ ้ขาสอบ
ได้ระ ัดบ 3 ้ึขนไป
ร้อยละ
เ ้ขาสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ึ้ขนไป
ร้อยละ
เ ้ขาสอบ
ได้ระดับ 3 ้ึขนไป
ร้อยละ

ภาษาไทย

26 22 84.61 27 24 88.89 18 18 100 26 22 84.61 14 14 100 23 13 56.52
11 47.82
คณิตศาสตร์ 26 18 69.23 27 23 85.18 18 14 77.78 26 21 80.76 14 10 71.42 23 18 78.26

วิทยาศาสตร์ 26 24 92.30 27 16 59.25 18 10 55.56 26 25 96.15 14 12 85.71 23 14 60.86
8 34.78
สงั คมศกึ ษา
19 82.60
ศาสนาและ 18 78.26

วัฒนธรรม 26 19 73.07 27 22 81.48 18 16 88.89 26 15 57.69 14 14 100 23 15 65.21
5 21.73
ประวัตศิ าสตร์ 26 24 92.30 27 26 96.29 18 18 100 26 17 65.38 14 8 57.14 23

สขุ ศกึ ษาและ

พลศกึ ษา 26 23 88.46 27 26 96.29 18 18 100 26 25 96.15 14 14 100 23

ศิลปะ 26 26 100 27 27 100 18 18 100 26 26 100 14 13 92.85 23

การงานอาชพี และ

เทคโนโลยี 26 21 80.76 27 22 81.48 18 17 94.44 26 23 88.46 14 14 100 23

ภาษาองั กฤษ 26 6 23.07 27 16 59.25 18 8 44.44 26 13 50 14 11 78.57 23

๔๑

2.2) รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมีเกรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดับ 3 ขึ้นไป ระดบั ชน้ั
มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ปกี ารศึกษา 2562

กลมุ่ สาระ ภาคเรยี นท่ี 1
การเรียนรู้ จานวนนักเรยี นท่ีเขา้ สอบ / จานวนนกั เรียนทไี่ ดร้ ะดับ 3 ข้ึนไป / รอ้ ยละ

ม.1 ม.2 ม.3

เ ้ขาสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ึ้ขนไป
ร้อยละ
เ ้ขาสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ึ้ขนไป
ร้อยละ
เ ้ขาสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ้ึขนไป
ร้อยละ

ภาษาไทย 13 10 76.92 20 14 70 11 9 81.81
คณติ ศาสตร์ 13 8 61.53 20 7 35 11 7 63.63
วทิ ยาศาสตร์ 13 10 76.92 20 9 45 11 4 30.76
สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 13 9 69.23 20 16 80 11 9 81.81
ประวตั ิศาสตร์ 13 7 53.84 20 14 70 11 6 54.54
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 13 13 100 20 20 100 11 11 100
ศลิ ปะ 13 11 84.61 20 17 85 11 6 54.54
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 13 12 92.30 20 18 90 11 10 90.90
ภาษาอังกฤษ 13 9 69.23 20 8 40 11 8 72.72

กลุ่มสาระ ภาคเรียนที่2
การเรยี นรู้ จานวนนักเรยี นทเ่ี ข้าสอบ / จานวนนกั เรียนท่ไี ดร้ ะดับ 3 ข้ึนไป / รอ้ ยละ

ม.1 ม.2 ม.3

เข้าสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ขึ้นไป
้รอยละ
เข้าสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ้ขึนไป
ร้อยละ
เข้าสอบ
ไ ้ดระดับ 3 ้ึขนไป
้รอยละ

ภาษาไทย 12 9 75 18 16 88.89 11 10 90.90
คณิตศาสตร์ 12 7 58.33 18 10 55.56 11 8 72.72
วทิ ยาศาสตร์ 12 8 66.67 18 11 61.11 11 6 54.54
สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 12 9 75 18 15 83.33 11 9 81.81
ประวตั ิศาสตร์ 12 9 75 18 13 72.22 11 10 90.90
สุขศึกษาและพลศึกษา 12 12 100 18 18 100 11 10 90.90
ศิลปะ 12 9 75 18 18 100 11 6 54.54
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 12 8 66.67 18 18 100 11 11 100
ภาษาองั กฤษ 12 8 66.67 18 11 61.11 11 6 54.54

๔๒

5. สรปุ ขอ้ มลู ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นภาษาไทย

1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test)

ของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 โดยสานกั ทดสอบทางการศึกษา ปีการศกึ ษา 2562

ระดบั คุณภาพ

สมรรถนะและองค์ประกอบ คะแนนร้อยละ (ใส่เคร่ืองหมาย )

ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก

สมรรถนะการอ่านออกเสยี ง 25.02 

1. การอ่านคา 29.80 

2. การอ่านประโยค 22.50

3. การอา่ นข้อความ 25.24 

สมรรถนะการอา่ นรูเ้ ร่ือง 31.92 

1. การอ่านคา 29.03 

2. การอา่ นประโยค 35.00 

3. การอ่านข้อความ 31.53 

รวม 2 สมรรถนะ 28.49 

2) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถและทักษะดา้ นการอา่ น ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6

โดยสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ปีการศึกษา 2562

(ให้ใช้ขอ้ มลู จากระบบ e-MES)

จานวนนักเรียนปกติ จานวนนกั เรยี นปกติ

จานวนนักเรียน จาแนกตามผลประเมนิ จาแนกตามผลประเมนิ
ชั้น การอา่ นออกเสยี ง ป.1-3 การอา่ นรู้เรอ่ื ง ป.1-6
การอา่ นตามหลกั การใช้ภาษา ป.4-6

ปกติ+ บกพร่อง ปกติ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง
บกพรอ่ ง

ป.1 26 - 26 15 8 2 0 8 11 7 0

ป.2 27 - 27 20 6 2 0 6 11 8 3

ป.3 18 - 18 15 3 0 0 0 11 5 2

ป.4 26 - 26 8 16 2 0 0 7 17 2

ป.5 14 - 14 14 0 0 0 0 1 11 2

ป.6 23 - 23 19 1 3 0 3 9 9 2

๔๓

3) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถและทักษะดา้ นการเขยี น ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6

โดยสานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ปกี ารศึกษา 2562 (ให้ใช้ข้อมูลจากระบบ e-MES)

จานวนนักเรยี นปกติ จานวนนกั เรียนปกติ

จาแนกตามผลประเมนิ จาแนกตามผลประเมนิ

จานวนนักเรยี น การเขยี นคา ป.1-3 การเขียนเรอ่ื ง ป.1-3
ชั้น การเขียนสรุปใจความสาคญั ป.4 การเขียนเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ ป.4-5

การเขียนย่อความ ป.5-6 การเขยี นเรียงความ ป.6

ปกติ+ บกพรอ่ ง ปกติ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
บกพร่อง

ป.1 26 - 26 3 10 12 1 13 8 5 0

ป.2 27 - 27 6 12 8 2 4 15 8 1

ป.3 18 - 18 6 6 3 3 7 10 1 0

ป.4 26 - 26 10 6 8 2 4 20 2 0

ป.5 14 - 14 5 5 2 2 8 5 1 0

ป.6 23 - 23 6 6 8 3 4 15 4 0

4) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถในการรเู้ ร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) แนว PISA

ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โดยสานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

ปีการศึกษา 2562 (ให้ใช้ข้อมูลจากระบบ e-MES)

จานวนนักเรียนปกติ

จานวนนกั เรยี น จาแนกตามผลประเมนิ ความสามารถในการรูเ้ ร่ืองการอ่าน

ชนั้ (Reading Literacy) แนว PISA

ปกติ+ บกพร่อง ปกติ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
บกพรอ่ ง

ม.1 12 - 12 4 4 2 2

ม.2 18 - 18 5 6 5 2

ม.3 11 - 11 3 5 2 1

๔๔

6. สรปุ ขอ้ มลู ผลการประเมนิ ทักษะการใชภ้ าษาองั กฤษในการสอ่ื สาร

ผลการประเมินทกั ษะการใชภ้ าษาองั กฤษในการส่ือสาร ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1

ถึงชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 โดยใชแ้ บบทดสอบของสถานศกึ ษา

ชัน้ จานวนนักเรยี น จานวนนักเรยี น (นับเฉพาะนกั เรยี นปกติ)

การฟัง การพดู การอา่ น การเขยี น

ทง้ั ชั้น ปกติ บกพรอ่ ง ผ่าน ร้อยละ ผา่ น ร้อยละ ผา่ น รอ้ ยละ ผ่าน รอ้ ยละ

ป.1 26 25 1 25 96.15 24 92.30 20 76.92 24 92.30

ป.2 27 27 2 25 92.59 25 92.59 26 92.29 26 92.29

ป.3 18 16 2 17 94.44 17 94.44 16 88.88 16 88.88

ป.4 26 23 3 25 96.15 23 88.46 23 88.46 23 88.46

ป.5 14 13 1 13 92.85 12 85.71 12 85.71 13 92.85

ป.6 23 23 - 20 86.95 18 78.26 18 78.26 23 100

ม.1 12 12 - 9 75 9 75 9 75 9 75

ม.2 18 18 - 15 83.33 17 94.44 16 88.88 18 100

ม.3 11 11 - 11 100 9 81.81 11 100 11 100

รวม 175 166 9 160 90.82 154 87 151 86.04 163 92.19

7. สรปุ ข้อมลู ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET)

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

และ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2562

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คะแนนเฉลย่ี ระดบั โรงเรยี น
ป.6 ม.3

ภาษาไทย 41.11 50.50

คณติ ศาสตร์ 26.59 23.20

วิทยาศาสตร์ 30.09 25.70

ภาษาองั กฤษ 26.59 22.80

เฉล่ีย 31.09 30.55

๔๕

2) เปรยี บเทยี บคะแนนเฉลยี่ ของผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET)

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2562 ระหว่างระดับโรงเรียนกบั ระดบั จังหวัด ระดบั โรงเรยี นกับสังกัด

สพฐ.ทัง้ หมด และระดบั โรงเรยี นกบั ระดบั ประเทศ

คะแนนเฉลย่ี

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดบั ระดับ ผลตา่ ง ระดบั สังกดั สพฐ. ผลตา่ ง ระดบั ระดับ ผลตา่ ง
โรงเรยี น จังหวดั (+/-) โรงเรียน ท้งั หมด (+/-) โรงเรยี น ประเทศ (+/-)

ภาษาไทย 41.11 51.30 -10.19 41.11 47.95 -6.84 41.11 49.07 -7.96
26.59 35.13 -8.54 26.59 31.60 -5.01 26.59 32.90 -6.31
คณติ ศาสตร์ 30.09 37.74 -7.65 30.09 34.30 -4.21 30.09 35.55 -5.46
วทิ ยาศาสตร์
ภาษาองั กฤษ 26.59 37.78 -11.19 26.59 30.86 -4.27 26.59 34.42 -7.83
เฉลีย่ 31.09 40.48 -9.39 31.09 36.18 -5.09 31.09 37.98 -6.89

3) เปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ีย ของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 ระหว่างระดับโรงเรียนกับระดบั จังหวดั ระดับโรงเรยี นกับสังกัด

สพฐ.ทั้งหมด และระดับโรงเรียนกับระดับประเทศ

คะแนนเฉลยี่

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ระดบั ระดบั ผลตา่ ง ระดบั สงั กดั สพฐ. ผลตา่ ง ระดับ ระดบั ผลตา่ ง
โรงเรียน จงั หวัด (+/-) โรงเรียน ทงั้ หมด (+/-) โรงเรียน ประเทศ (+/-)

ภาษาไทย 50.50 57.08 -6.58 50.50 55.91 -5.41 50.50 55.14 -4.64
คณิตศาสตร์ 23.20 28.30 -5.10 23.20 26.98 -3.78 23.20 26.73 -3.53
วทิ ยาศาสตร์ 25.70 30.69 -4.99 25.70 30.22 -4.52 25.70 30.07 -4.37
ภาษาอังกฤษ
22.80 35.47 -12.67 22.80 32.98 -10.18 22.80 33.25 -10.45
เฉลย่ี 30.55 37.88 -7.33 30.55 38.52 -9.97 30.55 36.29 -5.74

๔๖

4) เปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ีย ของผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET)

ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างปกี ารศึกษา 2560 กับ 2561 และ ปีการศกึ ษา 2561 กบั 2562

กลมุ่ สาระ ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา คะแนนเฉลยี่ ปกี ารศกึ ษา ผลต่าง
การเรยี นรู้ 2560 2561 2562 (+/-)
ผลต่าง ปีการศกึ ษา
(+/-) 2561

ภาษาไทย 42.74 50.17 7.43 50.17 41.11 -9.06

คณติ ศาสตร์ 28.89 27.81 -1.08 27.81 26.59 -1.22

วิทยาศาสตร์ 38.56 37.16 -1.4 37.16 30.09 -7.07

ภาษาองั กฤษ 25.97 29.53 3.56 29.53 26.59 -2.94

เฉล่ีย 34.04 36.16 2.12 36.16 31.09 -5.07

5) เปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ยี ของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระหวา่ งปปี กี ารศกึ ษา 2560 กบั 2561 และ ปีการศกึ ษา 2561 กับ
2562

กลุม่ สาระ ปีการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา คะแนนเฉล่ยี ปกี ารศกึ ษา ผลต่าง
การเรียนรู้ 2560 2561 2562 (+/-)
ผลต่าง ปีการศึกษา 5.73
(+/-) 2561
-1.11
ภาษาไทย 44.77 -1.16 44.77 50.5
45.93 -9.99

คณิตศาสตร์ 20.86 24.31 3.45 24.31 23.2 1.11

วิทยาศาสตร์ 30.14 35.69 5.55 35.69 25.7 -1.06

ภาษาองั กฤษ 24.86 21.69 -3.17 21.69 22.8

เฉลี่ย 30.44 31.61 1.16 31.61 30.55

๔๗

9. รางวลั และความภาคภมู ิใจ
รางวลั วนั ครโู รงเรียนบา้ นหนองฆอ้

16 มกราคม 2563 ครัง้ ท่ี 64 ครูไทย รักศิษย์ คิดพฒั นา

ท่ี ชือ่ - สกลุ รางวลั จากหนว่ ยงาน

1 นางสาวสายน้าผงึ้ กับแฟง ครูผทู้ าคุณประโยชน์ให้แก่ สพป.ระยอง เขต 1
แผน่ ดนิ

2 นางสาวภัทรพสุ กุมพันธ์ ครูผู้อุทิศตนเพ่ือศิษย์ ชมรมขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา อาเภอบา้ นคา่ ย

3 นางสาวสุนิสา จนั ทรจ์ รงิ ครผู ู้มจี ิตอาสา/จติ สาธารณะ ชมรมข้าราชการครแู ละบุคลากร
ทางการศึกษา อาเภอบ้านคา่ ย

4 นางวัทนยี ์ จติ รีวรรณ์ ครดู มี นี วตั กรรมเดน่ กลมุ่ โรงเรยี นการศึกษาภาคบังคบั
ครผู ู้มนี วัตกรรมเด่น กลมุ่ โรงเรยี นคา่ ยพระเจา้ ตาก

5 นางรัตนาภรณ์ มมี านาน ครผู ู้อุทิศตนเพื่อศิษย์ กล่มุ โรงเรยี นการศึกษาภาคบังคบั
ครผู ู้อุทิศตนเพื่อศิษย์ กลุ่มโรงเรยี นค่ายพระเจ้าตาก

6 นางสาวสุพชั รี มาตวเิ ศษ ครผู ้อู ุทศิ ตนเพื่อศิษย์ กลมุ่ โรงเรียนค่ายพระเจา้ ตาก

7 นางสาวรัชนีกร วงศ์จิราษฎร์ ครผู อู้ ุทิศตนเพื่อศิษย์ กลมุ่ โรงเรียนค่ายพระเจ้าตาก

8 นายอนุชติ ปะนามะทัง ครูผอู้ ทุ ศิ ตนเพื่อศิษย์ กลุ่มโรงเรียนค่ายพระเจา้ ตาก

๔๘

10. รางวลั การแขง่ ขนั ระดบั ต่างๆ
สรปุ ผลกจิ กรรมแขง่ ขนั

งานศิลปะหตั กรรมนกั เรยี น ครงั้ ท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา 2562 ระดับเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาระยองเขต 1
ระหว่างวนั ท่ี 6 - 8 พฤศจกิ ายน 2562 ณ โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเองจังหวดั ระยอง 1 โรงเรียนนิคมสรา้ งตนเอง

จงั หวัดระยอง 5 โรงเรยี นวดั มาบข่า โรงเรยี นวัดบา้ นฉางและโรงเรยี นบา้ นมาบตาพดุ

ลาดบั หมวดหมู่ รายการ คะแนน เหรยี ญ อนั ดบั นกั เรยี น ครู
1 ภาษาไทย 38 เข้าร่วม 7 1. เด็กหญงิ สุธิดา หงสวสั ด์ิ 1. นางสาวนลิน อนิวัต
2 ภาษาไทย การแข่งขันวรรณกรรมพจิ ารณ์
ม.1-ม.3 92.4 ทอง รอง 1. เดก็ ชายกอ้ งภพ สมพงษ์ 1. นางสาวรัชนกี ร วงศ์จิ
3 วทิ ยาศาสตร์
การแข่งขันทอ่ งอาขยาน ชนะเลิศ ราษฎร์
ทานองเสนาะ ป.4-ป.6

อนั ดบั ท่ี ๑

การประกวดโครงงาน 70.75 เงนิ 6 1. เด็กหญงิ กชพรรณ จัน 1. นางสาวสุพัชรี มาตวเิ ศษ
วทิ ยาศาสตร์ ประเภททดลอง สงิ ขะ
ม.1-ม.3 2. เด็กหญงิ ภณดิ า มักสัน
3. เด็กชายเดชาธร ธนาพรชัย
กิจ

4 สงั คมศกึ ษา การประกวดภาพยนตรส์ ั้น ม. 90 ทอง ชนะเลศิ 1. เดก็ ชายกช เรญิ ไธสงค์ 1. นางสาวปารวี นิตริ ชั
ศาสนาและ 1-ม.3 2. เด็กหญิงขวญั พร ทรงศรี 2. นายสทิ ธิโชติ วเิ ชียนลา้
วฒั นธรรม 3. เด็กชายธรี พงศ์ พงษ์พรหม
4. เด็กหญงิ รงุ่ ทวิ า อยมู่ า
5 สังคมศึกษา 5. เดก็ หญงิ สพุ ตั รา จารสั แสง
ศาสนาและ
วฒั นธรรม การประกวดเล่านทิ าน 86.33 ทอง 8 1. เด็กหญงิ สิรยิ ากร แทนหาร 1. นางรตั นาภรณ์ มีมานาน
คณุ ธรรม ป.4-ป.6
6 ศิลปะ-ดนตรี
การแข่งขันขับรอ้ งเพลงไทยลกู 88 ทอง 5 1. เดก็ หญงิ นติ ยาพร นนั ทศรี 1. นางสาวภัทรพสุ กุมพันธ์
7 ศลิ ปะ-ดนตรี กรงุ ประเภทหญงิ ป.1-ป.6 81 ทอง
7 1. เด็กหญงิ อภิชญา โพธ์ิ 1. นางสาวศริ วิ รรณ พงษน์ พ
การแข่งขันขับรอ้ งเพลงไทยลกู ไพโรจน์ คณุ
กรงุ ประเภทหญิง ม.1-ม.3

8 ศิลปะ-ดนตรี การแข่งขันขับร้องเพลงสากล 84 ทอง 6 1. เด็กหญิงอภิชญา โพธิ์ 1. นางสาวศิริวรรณ พงษน์ พ
ประเภทหญิง ม.1-ม.3 ไพโรจน์ คุณ

9 กิจกรรมพฒั นา การแขง่ ขันกิจกรรมสภา -1 - 1. เดก็ หญงิ กญั ญาวี หสั ไหว 1. นายชลติ จติ รีวรรณ์
ผู้เรยี น นักเรียน ป.1-ม.3 2. เดก็ หญงิ กติ ลิ กั ษณ์ ศรสี ุโข 2. นางวทั นีย์ จิตรีวรรณ์
3. เด็กหญิงจริ าภรณ์ แก้วปา 3. นางสายน้าผง้ึ บัณฑติ
4. เดก็ หญงิ ณชิ าดา จนั่ ทอง ธรรม
5. นายพงษ์พพิ ัฒน์ สมพงษ์
6. เดก็ หญงิ พชั รินทร์ จน่ั ทอง
7. นายภานวุ ฒั น์ สีโสดา
8. เดก็ ชายรัฐวทิ ย์ เจรญิ
พิทยฐากลุ

๔๙

10 การงานอาชพี การแข่งขันจัดสวนถาดแบบ 80 ทอง 9. นายอนุชติ ถาวรพงษ์
แห้ง ป.4-ป.6 10. นายเพทาย กลนิ่ จนั ทร์

11 การงานอาชพี การแขง่ ขนั ทานา้ พริก ผกั สด 75 เงิน 9 1. เดก็ ชายณรงคศ์ กั ด์ิ งาม 1. นางรัตนาภรณ์ มมี านาน
เครือ่ งเคียง ม.1-ม.3 เสง่ยี ม 2. นางสาวจนั ทร์เพ็ญ ทรง
2. เด็กหญิงสิรามล ทุมนอก ฉาย
12 การงานอาชพี การแข่งขนั ทาอาหารคาวหวาน 84 ทอง 3. เด็กชายเอกภพ ฉมิ ใหม่
เพื่อสุขภาพ ม.1-ม.3
5 1. เดก็ หญงิ นฤภร นักร้อง 1. นางรัตนาภรณ์ มมี านาน
2. เดก็ หญิงพมิ พ์นภิ า มาดี 2. นางสาวจันทร์เพญ็ ทรง
3. เดก็ หญงิ วิไลวรรณ กระ ฉาย
โพธ์ิ

4 1. เดก็ หญิงพมิ พช์ นก มาดี 1. นางรตั นาภรณ์ มมี านาน
2. เดก็ หญิงวรัญญา หลวงศรี 2. นางสาวจันทร์เพญ็ ทรง
3. เด็กหญิงอนุธดิ า สขุ โพธิ์ ฉาย

สรปุ ผลกจิ กรรมแขง่ ขนั
งานศลิ ปะหัตกรรมนกั เรยี น ครั้งที่ 69 ปีการศกึ ษา 2562 ระดับชาติ
ภาคกลางและภาคตะวันออก สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
ณ จังหวดั สมุทรปราการ ระหวา่ ง วนั ที่ 7 - 9 เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2562

ลาดบั หมวดหมู่ รายการ คะแนน เหรยี ญ อนั ดบั นกั เรยี น ครู

1 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ การประกวดภาพยนตร์สนั้ ม.1- 91.8 ทอง 7 1. เดก็ ชายกช เรญิ ไธสงค์ 1. นางสาวปารวี นติ ิรัช
วัฒนธรรม ม.3 2. เด็กหญงิ รงุ่ ทิวา อยู่มา 2. นายสทิ ธโิ ชติ วิเชียน
3. เดก็ หญงิ สริ ิกร แทนหาร ล้า
4. เด็กหญงิ สพุ ัตรา จารสั แสง
5. เด็กหญงิ อภิชญา โพธิ์
ไพโรจน์

๕๐

11. คาสั่งแตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

คาสงั่ โรงเรยี นบา้ นหนองฆ้อ

ที่ 31 / 2562

เรอื่ ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และประกาศกฏ

กระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื งประกนั คุณภาพภายใน พ.ศ.๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ระบใุ หป้ ระกันคณุ ภาพการศกึ ษา

เปน็ สว่ นหน่งึ ของกระบวนการบรหิ ารการศึกษาท่กี าหนดให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานต้นสังกัดต้องดาเนินการอย่างต่อเนือ่ ง ท้งั

ระบบประกนั คณุ ภาพภายใน และระบบประกันคณุ ภาพภายนอก รวมท้งั แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ งให้ใช้

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน และระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ ฉบบั ลงวันท่ี ๖

สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๒

โรงเรียนบ้านหนองฆอ้ จงึ ดาเนนิ การจัดทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพื่อเปน็ แนวทางการพัฒนาคุณภาพ

การศกึ ษา โดยยดึ หลักการมีสว่ นรว่ มของชุมชนและหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทั้งภาครัฐและเอกชน จึงแตง่ ต้งั คณะกรรมการจดั ทา

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มีหน้าที่ในการรว่ มประชมุ ปรกึ ษาหารือและดาเนนิ การจดั ทามาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษาใหม้ ีความเหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาชาติ ดงั นี้

๑. นายชานาญ ท้วมพงษ์ ผอู้ านวยการโรงบ้านหนองฆ้อ ประธานกรรมการ

๒. นายชลิต จติ รีวรรณ์ ครชู านาญการพเิ ศษ รองประธานกรรมการ

๓. นางวัทนีย์ จติ รีวรรณ์ ครชู านาญการ กรรมการ

๔. นางสายนา้ ผ้งึ บัณฑิตธรรม ครู กรรมการ

๕. นางจนั ทนยี ์ วงษส์ วุ รรณ์ ครู กรรมการ

6. นางสาวรัชนกี ร วงศจ์ ริ าษฎร์ ครู กรรมการ

7. นางสาวสนุ สิ า จันทรจ์ ริง ครู กรรมการ

8. นางสาวสพุ ชั รี มาตวิเศษ ครู กรรมการ

9. นางสาวภัทรพสุ กมุ พนั ธ์ ครู กรรมการและเลขานุการ

10. นางสาวชลดา หงษ์ชตู า ครูผู้ช่วย ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

ขอให้คณะกรรมการทไ่ี ดร้ ับการแต่งต้งั ทุกคน ปฏบิ ัติหนา้ ที่ทไ่ี ด้รับมอบหมายให้บรรลตุ ามวัตถุประสงคข์ องการดาเนนิ งาน

เป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยและเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ทางราชการ

ท้ังนี้ตงั้ แต่วันท่ี 26 พฤษภาคม 2562 เปน็ ตน้ ไป

สั่ง ณ วนั ที่ 27 พฤษภาคม 2562

ลงชื่อ
(นายชานาญ ทว้ มพงษ์)

ผ้อู านวยการโรงเรยี นบ้านหนองฆอ้


Click to View FlipBook Version