The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฐิติยา รัตนายน, 2020-12-08 09:50:23

แผนการจัดการเรียนรู้

เฉลย อา้ งองิ จากหนังสือเรียนเทคโนโลยี(วทิ ยาการคำนวณ) ป.4 ของอจท. หนา้ 12

32

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ยด้วย Scratch เวลา 11 ช่ัวโมง

เรือ่ ง สำรวจโลกของ Scratch (การเข้าใช้งานโปรแกรม Scratch) เวลา 2 ช่ัวโมง

รายวชิ า วิทยาการคำนวณ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ชว่ั โมงท่ี 1 ทำการสอนวนั ท่ี......................เดอื น................................................... พ.ศ.........................

ชวั่ โมงท่ี 2 ทำการสอนวันท.ี่ .....................เดือน................................................... พ.ศ.........................

ครผู ู้สอน : นางสาวฐติ ิยา รัตนายน

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้ีวดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น

ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ
แก้ปัญหา
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ร้เู ท่าทันและมีจรยิ ธรรม

ตัวชี้วัด ป.4/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหา
ขอ้ ผิดพลาดและแก้ไข
2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถอธบิ ายลกั ษณะและข้ันตอนการเขา้ ใช้งานโปรแกรม Scratch ได้ (K)
2. นกั เรียนสามารถเข้าใช้งานโปรแกรม Scratch ทง้ั 2 วธิ ี ตามขั้นตอนที่กำหนดได้ (P)
3. นกั เรียนเหน็ ประโยชนข์ องการศกึ ษาโปรแกรม Scratch (A)
3. สาระสำคัญ

โปรแกรม Scratch เป็นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นบล็อคโปรแกรม (block)
นำมาตอ่ กนั เพ่อื สรา้ งรหัสคำสัง่ (Code) เพอื่ สง่ั ใหโ้ ปรแกรม Scratch ทำงานตามทไี่ ดเ้ ขยี นโปรแกรมไว้

โปรแกรม Scratch สามารถนำมาใช้พัฒนาซอฟต์แวร์เชิงสร้างสรรค์ เช่น การสร้างนิทานที่
โตต้ อบกบั ผ้อู า่ นได้ การสรา้ งเกม การสรา้ งหุ่นยนต์ เป็นตน้
4. สาระการเรียนรู้

- โปรแกรม Scratch
5. รูปแบบการสอน/วิธีการสอน

สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
6. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน

 ความสามารถในการสอ่ื สาร

32

 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ทักษะ 4 Cs  ซ่ือสัตย์ สุจริต
 ทักษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking)  ใฝ่เรยี นรู้
 ทกั ษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill)  มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
 ทักษะการสอ่ื สาร (Communication Skill)  มีจติ สาธารณะ
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

8. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
 รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์

 มวี นิ ัย

 อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง

 รกั ความเปน็ ไทย

9. การจัดกระบวนการเรยี นรู้

ชวั่ โมงที่ 1

ขน้ั นำ (10 นาท)ี
กระตุ้นความสนใจ (Engage)\
1. ครูต้ังคำถามว่า นกั เรยี นคิดวา่ คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างไร
(แนวตอบ : คอมพวิ เตอรส์ ามารถทำงานได้นั้น เกิดจากการทม่ี นษุ ยเ์ ขียนโปรแกรมขน้ึ มาสง่ั งานให้

คอมพิวเตอรท์ ำงานตามคำสัง่ )
2. ครูให้นักเรียนดูภาพจากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.4

หน้า 22 จากนั้นครูตัง้ คำถามวา่ เราจะสามารถเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้อย่างไร
(แนวตอบ : การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมีความรู้เก่ียวกับ

โปรแกรมทต่ี ้องการจะเขียน ซึ่งจะตอ้ งมีการวางแผนและลำดบั ขนั้ ตอนการสั่งการให้ชัดเจนก่อนเสมอ)
3. จากนน้ั ครกู ระตุ้นให้นกั เรียนเกดิ ความสนใจ โดยบอกว่าวันนีเ้ รามาฝึกเขยี นโปรแกรมกัน

ขน้ั สอน (50 นาที)
สำรวจค้นหา (Explore)

33

1. ครูให้นักเรียนเรียนรู้คำศัพท์ของหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายด้วย
Scratch จากภาพในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ป.4 หนา้ 22 โดยครนู ำ
อ่านและสะกดคำศพั ท์ดงั กล่าว

- Program (ชดุ คำส่งั )
- Programming (การเขียนโปรแกรม)
2. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม Scratch จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน
เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.4 หน้า 23 แล้วร่วมกันอภิปรายว่า โปรแกรม Scratch เป็นโปรแกรม
ภาษาคอมพวิ เตอรท์ ่ีใช้เขยี นขึ้นเพื่อสง่ั การให้คอมพวิ เตอรท์ ำงานได้
3. ครสู อบถามนักเรียนว่า นักเรียนเคยใช้งานโปรแกรม Scratch หรือไม่ ถ้ามีนักเรียนคนใดเคย
ใชง้ าน ใหน้ ักเรยี นออกมาเล่าใหเ้ พื่อนในช้ันฟงั วา่ ใชง้ านอย่างไร และใช้เพ่ือประโยชน์ดา้ นใด
4. ครูชี้แจงว่าโปรแกรม Scratch สามารถเข้าใช้งานได้ 2 วิธี คือ การเข้าใช้งานแบบออนไลน์
และการเข้าใช้งานแบบออฟไลน์
5. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาการเข้าใช้งานโปรแกรม Scratch แบบออนไลน์ จากหนงั สือเรียน รายวชิ า
พื้นฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.4 หน้า 24-28
6. ครูสาธิตและอธิบายวิธีการเข้าใช้งานโปรแกรม Scratch เพ่ือเป็นตัวอย่างให้นักเรียนปฏิบัติ
ตาม
7. ครใู หน้ กั เรยี นเขา้ ใช้งานโปรแกรม Scratch แบบออนไลน์ ซง่ึ มขี ้นั ตอนในการปฏบิ ัติ ดังน้ี
(1) เปิดเว็บเบราเซอร์โครม และป้อน https://scratch.mit.edu/ ที่ชอ่ งอยู่เว็บ กดแป้น
Enter จะปรากฏหน้าตา่ งโปรแกรม Scratch
(2) คลกิ เลอื ก Join Scratch
(3) ปอ้ นชือ่ ผู้ใชเ้ ปน็ ภาษาองั กฤษ โดยไมใ่ ช้ชื่อจริง
(4) ป้อนรหัสผ่านไม่น้อยกว่า 6 ตวั อักษร หรือตัวเลข และห้ามบอกรหัสผ่านแก่ผู้อ่ืน (ให้
นักเรยี นจดชอ่ื บัญชีและรหัสไว้เผ่อื ลมื )
(5) ปอ้ นรหัสผ่านอีกคร้ังในช่อง Confirm Password และคลกิ ถดั ไป (Next)
(6) ปอ้ น เดือนเกิด ปี ค.ศ. เกดิ เพศ และประเทศ
(7) ปอ้ นอีเมลของคุณครู และยืนยันอเี มล
(8) เม่อื ปรากฏหน้าต่างตอ้ นรับ ให้คลิกปุ่ม OK Lets Go!
(9) แจ้งคุณครูให้ยืนยันอีเมล โดยให้เข้าอีเมลและคลิก Comfirm my email address
เมอ่ื สมัครสมาชิกแล้วจะปรากฏหนา้ ตา่ งโปรแกรม ใหต้ รวจสอบชื่อผู้ใช้ที่มมุ ขวาบน
8. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายว่า การเขา้ ใชง้ านโปรแกรม Scratch แบบออนไลนม์ ีข้นั ตอนการ
ปฏิบตั อย่างไร เพื่อทบทวนและชแ้ี นะนักเรยี นทยี่ งั ไมเ่ ข้าใจและไมส่ ามารถเขา้ สู่โปรแกรม Scratch ได้

ชว่ั โมงท่ี 2

34

ข้ันสอน (50 นาท)ี
สำรวจค้นหา (Explore)
1. ครแู ละนักเรียนทบทวนความรเู้ ดิม โดยถามคำถามนักเรยี นว่า โปรแกรม Scratch สามารถเข้า

ใช้งานได้ 2 วธิ ีก่วี ิธอี ะไรบ้าง
(แนวคำตอบ : 2 วิธี คอื การเข้าใชง้ านแบบออนไลน์ และการเข้าใชง้ านแบบออฟไลน์)
2. จากน้ันครูสนทนากับนักเรียนว่า ช่ัวโมงที่แล้วนักเรียนเข้าใช้งานโปรแกรม Scratch แบบ

ออนไลน์ ชัว่ โมงน้ี นกั เรยี นจะไดศ้ กึ ษาการเข้าใช้งานโปรแกรม Scratch แบบออฟไลน์
3. ครูให้นักเรียนศึกษาการเข้าใชง้ านโปรแกรม Scratch แบบออฟไลน์ จากหนังสอื เรียน รายวชิ า

พน้ื ฐานเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.4 หน้า 29-32
4. ครูให้นักเรียนเข้าใช้งานโปรแกรม Scratch แบบออฟไลน์ ที่ได้ศึกษาจากหนังสือเรียน ซ่ึงมี

ขนั้ ตอนในการปฏบิ ัติ ดงั นี้
- เปิดเว็บเบราล์เซอร์โครม และป้อน https://scratch.mit.edu/download ท่ีช่องอยู่

เวบ็ กดแปน้ Enter จะปรากฏหน้าต่างโปรแกรม Scratch ให้ดาวน์โหลด

5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับโปรแกรม
Scratch จากอินเทอรเ์ น็ต นำข้อมูลทีศ่ ึกษาได้มาสรุปและวเิ คราะหร์ ่วมกัน จากน้ันจัดทำป้ายนิเทศติดหน้า
ชนั้ เรียน เพ่อื ให้นกั เรยี นคนอน่ื ๆ ไดศ้ กึ ษาความรเู้ กีย่ วกบั โปรแกรม Scratch

อธิบายความรู้ (Explain)

35

1. ครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายโปรแกรม Scratch จากท่ีนักเรียนได้ร่วมกันศึกษาในแต่ละกลุ่ม

เพ่ือแลกเปล่ียนความรู้กันภายในชั้นเรียน พร้อมท้ังให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยี

(วิทยาการคำนวณ) ป.4 หนา้ 17 เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียน

ขน้ั สรุป (10 นาท)ี

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)

1. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า เหตุผลที่เราต้องศึกษาโปรแกรม Scratch เน่ืองจากเป็นโปรแกรมภาษาท่ี

สามารถสร้างช้ินงานอย่างงา่ ยได้ เช่น นิทานทสี่ ามารถโต้ตอบกบั ผู้อ่านได้ ภาพเคลื่อนไหว เกม ดนตรี เป็น

ต้น และยังสามารถแสดงชิ้นงานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อ่ืนบนเว็บไซต์ได้ ทำให้ผู้ที่ศึกษาเรียนรู้

หลกั การพร้อมทัง้ คิดได้อยา่ งสรา้ งสรรค์

ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครูประเมินผลการทำกจิ กรรมกลุม่ การอภปิ รายรว่ มกันเก่ียวกบั โปรแกรม Scratch

2 .ครูประเมินพฤติกรรมการทำงานรายบุคคลโดยแบบฝึกหดั รายวชิ าพ้ืนฐานเทคโนโลยี (วิทยาการ

คำนวณ) ป.4 หนา้ 17

3. ครปู ระเมนิ ชิ้นงานป้ายนเิ ทศ เรอ่ื ง โปรแกรม Scratch

10. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้

1. หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐานเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

2. แบบฝึกหัด รายวิชาพน้ื ฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

3. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ

11. การวัดและการประเมินผล

จดุ ประสงค์ วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมือการ เกณฑก์ ารประเมิน

ประเมิน

1.นกั เรียนสามารถ ตรวจแบบฝึกหดั แบบฝึกหัด รายวิชา ทำแบบฝึกหัด รายวชิ า

อธิบายลกั ษณะและ รายวชิ าพืน้ ฐาน พื้นฐานเทคโนโลยี พ้ืนฐานเทคโนโลยี

ข้นั ตอนการเขา้ ใช้งาน เทคโนโลยี (วิทยาการ (วทิ ยาการคำนวณ) (วิทยาการคำนวณ) หนา้ 17

โปรแกรม Scratch ได้ คำนวณ) หน้า17 หนา้ 17 ถูกต้อง 4 ข้อขึ้นไปถือวา่

ผา่ น

2.นกั เรยี นสามารถเขา้ ใช้ เข้าใช้งานโปรแกรม แบบประเมิน สามารถเข้าใชง้ านโปรแกรม

งานโปรแกรม Scratch Scratch ทั้ง 2 วธิ ี Scratch ท้งั 2 วิธี ตาม

ท้ัง 2 วธิ ี ตามขั้นตอนท่ี ตามขนั้ ตอนที่กำหนด ขัน้ ตอนที่กำหนดได้ 80%

กำหนดได้ ได้ ขน้ึ ไปถือว่าผ่าน

36

3.นกั เรยี นเห็นประโยชน์ ยกตวั อยา่ งประโยชน์ 1.แบบประเมิน ยกตัวอย่างประโยชนข์ อง
การศึกษาโปรแกรม
ของการศึกษาโปรแกรม ของการศึกษา พฤติกรรม Scratch ได้

Scratch โปรแกรม Scratch

ประเดน็ การประเมิน แบบประเมิน
คำอธบิ ายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน

ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรบั ปรงุ (1 คะแนน)

1.โปรแกรม Scratch สามารถเข้าใช้งาน สามารถเขา้ ใชง้ าน สามารถเขา้ ใชง้ าน
โปรแกรม Scratch แบบ โปรแกรม Scratch แบบ
แบบออนไลน์ โปรแกรม Scratch แบบ ออนไลน์ ตามข้นั ตอนได้ ออนไลน์ ตามข้ันตอนได้
ถกู ต้องและสำเร็จ เปน็ ถกู ต้องเพยี งบางส่วน
ออนไลน์ ตามขัน้ ตอนได้ สว่ นใหญ่

ถกู ต้องและสำเรจ็

2.โปรแกรม Scratch สามารถเข้าใช้งาน สามารถเขา้ ใชง้ าน สามารถเขา้ ใช้งาน
โปรแกรม Scratch แบบ โปรแกรม Scratch แบบ
แบบออฟไลน์ โปรแกรม Scratch แบบ ออฟไลน์ ตามขนั้ ตอนได้ ออฟไลน์ ตามขั้นตอนได้
ถกู ต้องเปน็ สว่ นใหญ่ ถูกต้องเพียงบางส่วน
ออฟไลน์ ตามขั้นตอนได้

ถูกต้องและสำเร็จ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
5–6 3 หมายถึง ดี
3–4 2 หมายถงึ พอใช้
1–2 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียน

คำชแี้ จง : ครพู ิจารณาให้คะแนนนกั เรยี นรายบุคคลตามข้อคำถามท่ีกำหนดให้ในใบรายชอ่ื นกั เรยี น

โดยใชเ้ กณฑใ์ นการประเมิน ดังนี้

3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = นอ้ ย

พฤตกิ รรมท่ีสังเกต 3 ระดบั คะแนน 1
2
37

1. แสวงหาข้อมลู จากแหลง่ เรียนรูต้ า่ ง ๆ
2. ยกตวั อย่างประโยชน์ของการศกึ ษาโปรแกรม
Scratch
3. มีวนิ ัย และมุ่งมัน่ ในการทำงาน
4. เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้
5. แลกเปลีย่ นเรียนรู้

รวม (15)

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
13 – 15 4 หมายถงึ ดมี าก
10 - 12 3 หมายถงึ ดี
8–9 2 หมายถงึ พอใช้
1–7 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

38

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 การใช้งานอนิ เตอร์เน็ต เวลา 5 ช่ัวโมง

เร่ือง ความน่าเช่ือถอื ของขอ้ มลู เวลา 5 ช่ัวโมง

รายวิชา วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

ชั่วโมงที่ 1 ทำการสอนวนั ท.ี่ .....................เดือน................................................. พ.ศ...........................

ช่ัวโมงท่ี 2 ทำการสอนวันท่.ี .....................เดอื น................................................. พ.ศ...........................

ช่ัวโมงที่ 3 ทำการสอนวนั ที่......................เดอื น................................................. พ.ศ...........................

ชั่วโมงท่ี 4 ทำการสอนวันท่.ี .....................เดอื น................................................. พ.ศ...........................

ชั่วโมงที่ 5 ทำการสอนวนั ท่ี......................เดอื น................................................. พ.ศ...........................

ครผู ู้สอน : นางสาวฐติ ยิ า รัตนายน

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ดั
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น

ข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ
แก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม

ตัวชี้วดั ป.4/3 ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ และประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมูล
2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นกั เรยี นสามารถอธิบายความหมายของอนิ เทอรเ์ น็ต และประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลได้
(K)

2. นกั เรยี นสามารถใชง้ านอินเทอร์เนต็ ในการคน้ หาข้อมูลได้ (P)
3. นักเรยี นสามารถยกตัวอย่างการนำอนิ เทอรเ์ นต็ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ (A)
3. สาระสำคญั
อนิ เทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมต่อกันจำนวนมากและครอบคลุมไปทั่ว
โลก โดยเครือขา่ ยนี้จะเช่ือหากันภายใต้กฎเกณฑ์ท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล
และส่งผ่านข้อมูลระหว่างกนั ได้
ในปจั จบุ ันมฐี านขอ้ มูลท่ีเก็บไว้ในอนิ เทอรเ์ นต็ จำนวนมาก ดงั นน้ั การคน้ หาขอ้ มลู จากอินเทอร์เน็ต
จะต้องประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล โดยจะต้องศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการค้นหาข้อมูลจาก
อนิ เทอรเ์ นต็
4. สาระการเรียนรู้
- การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการค้นหาขอ้ มลู

62

5. รูปแบบการสอน/วิธีการสอน
- เกม
- วธิ ีการสอนแบบสมุ่
- วธิ กี ารสอนแบบกลุ่ม

6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน  ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ
 ความสามารถในการสอื่ สาร  ใฝเ่ รยี นรู้
 ความสามารถในการคดิ  มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
 ความสามารถในการแก้ปัญหา  มจี ิตสาธารณะ
 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. ทักษะ 4 Cs
 ทกั ษะการคิดวจิ ารณญาณ (Critical Thinking)
 ทกั ษะการทำงานรว่ มกนั (Collaboration Skill)
 ทักษะการส่ือสาร (Communication Skill)
 ทกั ษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

8. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
 รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 มีวนิ ัย

 อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
 รกั ความเป็นไทย
9. การจัดกระบวนการเรียนรู้

ชวั่ โมงท่ี 1
ขั้นนำ (10 นาที)
1. ครูสอบถามนกั เรียนวา่ รู้จกั อินเทอร์เนต็ หรือไม่ อินเทอรเ์ นต็ มีลักษณะเป็นอยา่ งไร

(แนวคำตอบ เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อกันจำนวนมากและครอบคลุมไปท่ัวโลก ทำให้
สามารถแลกเปลย่ี นข้อมลู และส่งผา่ นข้อมูลระหว่างกันได้)
ขัน้ สอน (40 นาที)
1. ครสู มุ่ นักเรียนมาทำกจิ กรรม 6 คนโดยแบ่งออกเปน็ 2 กลุ่ม คละความสามารถ
2. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ น่ังเกา้ อ้ี แล้วหันหลงั เขา้ หากนั โดยไม่ใหเ้ ห็นว่าอกี กลมุ่ ดา้ นหลังกำลังทำอะไรอยู่

63

3. ครอู ธิบายกติกาวา่ จะมีโจทย์ปัญหาให้แต่ละกลุ่มตอบปัญหาภายในเวลาท่ีกำหนด หากตอบได้จะ
ไดร้ ับ 1 คะแนน โดยการเขียนคำตอบลงบนกระดาษ A4 และชคู ำตอบข้ึน

4. ครูเร่ิมกิจกรรม รอบท่ี1 ใช้คำถามง่ายที่เป็นความรู้พ้ืนฐาน เช่น 1) ประเพณีบุญบ้ังไฟเป็น
ประเพณีโด่งดังจากภาดใด 2)ประเทศไทยมีก่ีจังหวัด 3)จังหวัดเหนือสุดเขตแดนไทยคือจังหวัด
อะไร 4) นายกคนปจั จุบันคือคนทเี่ ท่าไหร่ 5)แม่นำ้ ท่ียาวทส่ี ุดในโลกคือแมน่ ำ้ ใด

5. ก่อนเริ่มกิจกรรมรอบท่ี 2 ให้ครูนำหนังสือที่เตรียมไว้ 3-5 เล่มเกี่ยวหรือไม่เก่ียวกับเนื้อหาท่ีใช้ก็
ได้ไปวางให้กลุ่มหนึ่ง และให้ครูนำโน้ตบุ๊ก 1-2เครื่อง ไปวางให้กลุ่มสอง โดยห้ามทั้งสองกลุ่มเห็น
วา่ อกี กลุ่มได้รับอะไร

6. ในรอบที่ 2 ครูใช้คำถามยากขึ้น เช่น 1)สตั ว์ทม่ี ขี นาดใหญ่ท่สี ุดในโลกคือชนิดใด 2)แมน่ ำ้ ท่มี ขี นาด
กว้างท่ีสุดในโลกคือแม่น้ำใด 3)มหาสมุทรท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลกคือที่ใด 4) สงครามโลกครั้งท่ีสองกิน
ระยะเวลานานก่ีปี 5) ประเทศไทยมีพ้ืนที่ทั้งหมดเท่าใด 6) ทวปี ยุโรปมีประเทศท้ังหมดก่ีประเทศ
7) ใครคอื นักบินที่เหยียบดวงจันทร์เป็นคนแรก 8)หากเดนิ ทางจากไทยไปลาสเวกัสด้วยเครือ่ งบิน
ต้องใช้เวลาก่ีช่ัวโมง 9)ภูเขาไฟฟูจิสูงจากระดับน้ำทะเลเท่าใด 10)จงบอกชื่อเคร่ืองบินท่ีเร็วที่สุด
ในโลก
(คำถามท่ีเลอื กใช้ข้นึ อยูก่ ับความเหมาะสม และวจิ ารณญาณของครูผสู้ อน)

7. ครใู ห้นักเรยี นในห้องเรยี นชว่ ยกันสรุปคะแนนจากการตอบคำถามของทั้งสองกลมุ่
ขนั้ สรุป (10 นาที)
1. ครใู ห้นกั เรยี นหันดอู ุปกรณ์ทอี่ กี กลมุ่ ท่ีใช้
2. ครสู อบถามทง้ั สองกลมุ่ และให้วิเคราะหก์ ลุ่มตนเองวา่ ทำไมถงึ แพ้ หรอื ชนะ

ช่วั โมงท่ี 2
ขน้ั นำ (10 นาที)
1. ครูใหน้ กั เรยี นทบทวนกจิ กรรมท่ีทำจากสปั ดาห์ท่ผี า่ นมา
2. ครูต้ังคำถามว่าจากการที่เราเห็นความแตกต่างระหว่างการใช้ประโยชน์จากหนังสือ และ

อินเทอร์เนต็ นกั เรยี นสงั เกตเหน็ อะไรบา้ ง
(แนวตอบ ข้อมูลจากหนังสือไม่ครอบคลุมคำถามท่ีคุณครูถาม หาข้อมูลได้ช้า ข้อมูลบางอย่างไม่
อัพเดท ส่วนอินเทอร์เน็ตสะดวกในการค้นหาข้อมูล รวดเร็ว ข้อมูลมาจากหลายแหล่งและคลอบ
คลมุ ทกุ คำถาม)
ขน้ั สอน (40 นาที)
1. ครูถามคำถามกระตุ้นนักเรียนจากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
ป.4 หนา้ 61 วา่ อนิ เทอร์เน็ตจำเป็นต่อชวี ิตเราอย่างไร

64

(แนวตอบ ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตมีบทบาทและมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของคนเราเป็น
อย่างมาก เพราะทำให้วิถีชีวิตเราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยู่เสมอ อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่ง
สารสนเทศที่สำคัญเพราะสารถค้นหาส่ิงท่ีสนใจได้ในทันที โดยไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางไป
ศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งต่าง ๆ แม้แตก่ ารรบั รขู้ ่าวสารทวั่ โลกสามารถหาอา่ นไดจ้ ากอินเทอรเ์ นต็ )
2. ครูตั้งคำถามว่า นกั เรียนคิดว่าการคน้ หาขอ้ มลู ในอินเทอรเ์ นต็ ควรทำอย่างไร
(แนวตอบ เนื่องจากข้อมูลในอินเทอร์เน็ตมีมากมายหลากหลาย การค้นหาข้อมูลนั้นจะต้องใช้
คำค้นหาท่ีตรงประเด็น กระชับ จึงจะทำให้ได้ข้อมูล หรือผลลัพธ์ท่ีรวดเร็วและตรงตามความ
ตอ้ งการ)
3. ครูให้นักเรยี นจับคู่กัน จากนน้ั ให้นกั เรยี นคนทห่ี นึ่งกำหนดโจทย์ สิ่งที่ตอ้ งการทราบ หรอื คำถามที่
สงสัยอยากรู้คำตอบ ส่วนคนท่ีสองทำหน้าที่เป็นคนค้นหาข้อมูล ให้คนที่สองใช้คอมพิวเตอร์ หรือ
มือถือในการสืบค้นข้อมูลจากระบบอินเทอร์เน็ตเพ่ือให้คำตอบคนท่ี 1 ภายในเวลา 2 นาที
จากนน้ั สลับหนา้ ท่ีกนั
4. ครใู หแ้ ต่ละคู่ร่วมกนั สรา้ งคำถาม หรือต้ังโจทยท์ ่ีตอ้ งการทราบคำตอบร่วมกนั อยา่ งอสิ ระ
5. ครูให้แต่ละคู่สลับโจทย์ของกลุ่มตนเองกับกลุ่มข้าง ๆ หรือกลุ่มที่ใกล้ท่ีสุด จากน้ันให้แลกกันหา
คำตอบท่ไี ด้รับ
ข้ันสรุป (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนทุกกลมุ่ รว่ มกันอภปิ รายสรปุ ส่งิ ที่ได้จากการทำกจิ กรรม
2. ครสู รปุ ลกั ษณะและวิธีการใชค้ ำ การใชง้ าน Search Engine เพอื่ ใชใ้ นการค้นหาทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ

ชัว่ โมงที่ 3
ขั้นสอนตอ่ (45 นาที)
1. ครตู ้งั คำถามวา่ จากการทำกจิ กรรมท่ผี า่ นมานักเรยี นใช้เคร่ืองมืออะไรในการสืบค้นบ้าง

(แนวคำตอบ Google chrome ,Firefox ,Yahoo ,Internet Explorer)
2. ครถู ามว่าแตล่ ะเครื่องมือแตกต่างกนั อย่างไร
3. ครูสุ่มนักเรียนประมาณ 4-5 คน ให้เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตว่า นักเรียน

ใช้งานอินเทอร์เนต็ รปู แบบใดบ้าง อย่างไร
4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-5 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นเก่ียวกับรูปแบบการ

ให้บริการอินเทอร์เน็ตว่ามีอะไรบ้าง สรุปใส่ลงสมุด โดยให้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ตโฟน
ในการสบื ค้น หรือหนงั สอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.4 หนา้ 63-67
ขนั้ สรปุ (15 นาที)
1. ครูสรุปรูปแบบการค้นหาขอ้ มลู จากอินเทอรเ์ นต็ มี 2 รปู แบบ คือ
1) การค้นหาในรูปแบบ Index Directory เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการคลิกเลือกข้อมูลที่
ต้องการดูในเว็บบราวเซอร์ จากนัน้ หน้าจอกจ็ ะแสดงรายละเอียดของหวั ข้อปลีกย่อยมาใหเ้ ลือก

65

2) การค้นหาในรูปแบบ Search Engine เป็นการค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต โดยใช้
ซอฟตแ์ วร์ค้นผา่ นเว็บ

ช่วั โมงที่ 4
ข้ันสอนต่อ (45 นาท)ี
1. ครูและนกั เรียนรว่ มกันทบทวนจากชั่วโมงทแี่ ลว้
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การใช้งาน Search Engine น้ันจะต้องพิมพ์คำหรือข้อความซ่ึงเป็นการ

อธิบายถึงข้อมูลที่ต้องการจะค้นหา จากนั้น Search Engine จะแสดงข้อมลู และเว็บไซต์ต่าง ๆ ท่ี
เกี่ยวข้อง โดยการค้นหาข้อมูล เช่น ภาพ ข้อความ คลิปวิดีโอ จะต้องใช้คำที่ตรงประเด็นซ่ึงเรา
เรยี กคำท่ใี ชใ้ นการคน้ หาขอ้ มลู นว้ี ่า คำค้น (Keyword)
3. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบฝึกหดั รายวิชาวิทยาการคำนวณ เรอ่ื ง การใชง้ านอินเทอร์เนต็ หน้า29-32
ขน้ั สรปุ (15 นาที)
1. ครใู ห้นักเรียรว่ มกันอภิปรายสรปุ ความรู้ รปู แบบการคน้ ขอ้ มูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต

ช่ัวโมงที่ 5
ขน้ั สอนตอ่ (45 นาท)ี
1. ครูเปิดภาพข่าวจากเฟสบุคให้นักเรียนดู พร้อมเล่าเน้ือหาจากข่าวและชวนนักเรียนคุยเก่ียวกับ

ขา่ ว
(ข่าวข้ึนอยู่กับความเหมาะสม และดุลยพินจิ ของครผู ู้สอน)
2. ครูต้ังคำถามว่านักเรียนคิดว่าข่าวท่ีครูเอามาให้ดูเป็นเร่ืองจริงหรือไม่ และทำไมคิดอย่างน้ันให้
นกั เรยี นบอกเหตผุ ล
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4-5 คน คละความสามารถ จากนั้นให้แต่ละกลุ่มช่วยกันหาวิธีการ
แยกแยะความน่าเช่ือถือของข่าวและข้อมูล ให้นักเรียนเปิดหนังสือวิชาวิทยาการคำนวณ ช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่4 หน้า73 (การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล) ภายในเวลา 5-10 นาที
4. ครูสุ่มกลุ่มนักเรียนมานำเสนอการประเมินความน่าเช่ือถือของข่าวและข้อมูล พร้อมให้นักเรียน
ตรวจสอบสงิ่ ทแี่ ต่ละกลมุ่ นำเสนอ
5. จากนัน้ ครูแนะแนวทางการประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมลู เพิ่มเติม

ข้นั สรปุ (15 นาที)
1. ครใู ห้นักเรียนร่วมกันบอกวธิ กี ารประเมินความน่าเชอ่ื ถอื ของข้อมูล
2. ครถู ามคำถามนกั เรยี นวา่ เราสามารถนำอนิ เทอร์เนต็ ไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั อยา่ งไร

(แนวคำตอบขนึ้ อยกู่ ับดลุ ยพนิ ิจของครผู สู้ อน)

66

10. สือ่ แหลง่ การเรยี นรู้
1. หนังสอื เรยี น วชิ า วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที4่
2. แบบฝกึ หดั เร่ือง การใชง้ านอินเทอรเ์ นต็

11. การวัดและการประเมนิ ผล

จุดประสงค์ วธิ กี ารประเมนิ เครอื่ งมอื การประเมิน เกณฑก์ ารประเมิน
1.แบบฝึกหดั รายวิชา 1.สามารถตอบคำถาม
1. นกั เรียนสามารถ 1.ตรวจแบบฝึกหดั วิทยาการคำนวณ เรื่อง ในแบบฝกึ หดั ได้ถูกตอ้ ง
การใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ต ตามหลกั การ 60% ขน้ึ
อธิบายความหมายของ รายวชิ าวทิ ยาการ หน้า29-32
2.แบบประเมินการ ไป
อินเทอรเ์ น็ต และ คำนวณ เรอ่ื ง การใช้ นำเสนอ
2. มกี ารนำเสนอที่
ประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือ งานอินเทอรเ์ นต็ หน้า 1.แบบฝกึ หดั รายวิชา น่าสนใจ และข้อมลู
วิทยาการคำนวณ เรื่อง ถูกต้องนา่ เช่ือถือ
ของข้อมูลได้ (K) 29-32 การใชง้ านอินเทอร์เน็ต
หนา้ 29-32 1.สามารถตอบคำถาม
2.การนำเสนอวิธีการ 1.แบบประเมิน ในแบบฝึกหัดได้ถูกต้อง
พฤติกรรม ตามหลักการ 60% ขน้ึ
แยกแยะความนา่ เช่ือถือ
ไป
ของขา่ วและข้อมูล
1.นักเรยี นสามารถ
2.นักเรียนสามารถใช้ 1.แบบฝึกหดั รายวิชา ยกตัวอย่างการนำ
อนิ เทอร์เน็ตไปใช้
งานอนิ เทอร์เนต็ ในการ วทิ ยาการคำนวณ เรื่อง ประโยชนใ์ น
ชวี ติ ประจำวนั ได้
คน้ หาขอ้ มูลได้ (P) การใชง้ านอินเทอรเ์ น็ต

หน้า29-32

3.นักเรียนสามารถ 1.ยกตัวอย่างการนำ

ยกตวั อยา่ งการนำ อินเทอร์เน็ตไปใช้

อนิ เทอร์เนต็ ไปใช้ ประโยชน์ใน

ประโยชน์ใน ชีวิตประจำวัน

ชวี ิตประจำวันได้ (A)

ประเด็นการประเมิน แบบประเมนิ การนำเสนอ
ชิ้นงาน คำอธบิ ายระดับคุณภาพ / ระดบั คะแนน

ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรงุ (1 คะแนน)

1.ความถูกต้องของ เนอื้ หาถูกตอ้ งครบถว้ น เน้ือหาถูกตอ้ งค่อนขา้ ง มีเนือ้ หาไม่ครบถ้วนแต่

67

ประเด็นการประเมิน คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน
ชนิ้ งาน
ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน)

เนอ้ื หา สมบูรณ์ สามารถตอบ ครบถ้วน ตอบคำถามได้ ภาพรวมของเนอ้ื หา

คำถามได้ทุกข้อ เปน็ ส่วนใหญ่ ทงั้ หมดอยูใ่ นเกณฑ์พอใช้

2.ประเมนิ ความ สามารถแยกแยะ และ สามารถแยกแยะ และ สามารถแยกแยะ และ
น่าเช่อื ถอื ของข้อมูล
ไดแ้ ละขา่ วสารท่ี ประเมินความนา่ เช่ือถือ ประเมินความนา่ เชื่อถือ ประเมินความนา่ เชอื่ ถือ
ไดร้ ับ
ของข้อมลู ขา่ วสารท่ี ของขอ้ มลู ข่าวสารที่ ของขอ้ มลู ข่าวสารท่ีไดร้ ับ

ไดร้ ับจากอินเทอรเ์ น็ตได้ ไดร้ บั จากอนิ เทอร์เน็ตได้ จากอนิ เทอรเ์ น็ตไดเ้ พยี ง

ทั้งหมด เป็นส่วนใหญ่ บางสว่ น

3.วิธีการนำเสนอ รูปแบบการนำเสนอ รูปแบบการนำเสนอ รูปแบบการนำเสนอพอใช้

นา่ สนใจ ลำดบั เรอ่ื งราว น่าสนใจ ลำดับเรอื่ งราว ลำดับเร่ืองราวได้พอใช้

ไดด้ มี าก ไดด้ ี

4.ใช้ภาษาถูกต้อง ใช้ภาษาถูกต้อง ใชภ้ าษาถูกต้อง ใช้ภาษาถกู ต้องเหมาะสม
เหมาะสม เหมาะสม ออกเสียงได้ เหมาะสม ออกเสยี งได้ ออกเสยี งได้ถูกต้องพอใช้
ถกู ต้องดีมาก ลำดบั ถูกต้องดี ลำดับความได้ ลำดับความได้พอเข้าใจ
ความไดช้ ดั เจน เข้าใจ ดี พอใช้
ง่าย

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
10 – 12 ดี
6–9
1–5 พอใช้
ปรบั ปรงุ

68

แบบสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน

คำชี้แจง : ครพู จิ ารณาให้คะแนนนกั เรยี นรายบคุ คลตามข้อคำถามที่กำหนดให้ในใบรายชื่อนกั เรียนโดยใช้

เกณฑ์ในการประเมนิ ดังน้ี

3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = นอ้ ย

พฤติกรรมทีส่ ังเกต ระดับคะแนน
321
1. แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งเรียนร้ตู ่างๆ
2.ยกตวั อยา่ งการนำอนิ เทอรเ์ น็ตไปใชป้ ระโยชน์ใน
ชวี ิตประจำวัน
3.มวี นิ ยั และม่งุ มนั่ ในการทำงาน
4.เขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้
5.แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

รวม (15)

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
14 – 15 ดีมาก
11 – 13 ดี
8 – 10 พอใช้
1–7 ปรบั ปรุง

69

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 การนำเสนอขอ้ มูลด้วยซอฟตแ์ วร์ เวลา 10 ช่วั โมง

เร่อื ง ประวตั ิส่วนตวั ของฉัน เวลา 4 ชวั่ โมง

รายวิชา วิทยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4

ช่วั โมงที่ 1 ทำการสอนวันที่......................เดอื น................................................. พ.ศ...........................

ช่วั โมงที่ 2 ทำการสอนวนั ท.่ี .....................เดอื น................................................. พ.ศ...........................

ช่วั โมงที่ 3 ทำการสอนวันท.่ี .....................เดอื น................................................. พ.ศ...........................

ชั่วโมงที่ 4 ทำการสอนวันที.่ .....................เดือน................................................. พ.ศ...........................

ครผู ้สู อน : นางสาวฐติ ิยา รัตนายน

1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ
แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทันและมจี ริยธรรม

ตวั ชี้วัด ป.4/4 รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย
เพ่ือแก้ปญั หาในชีวิตประจำวัน
2.จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายอธบิ ายความหมายเกีย่ วกับซอฟต์แวร์ได้ (K)
2. นกั เรียนสามารถใชง้ านเคร่อื งมือพน้ื ฐานในโปรแกรมไมโครซอฟตเ์ วริ ์ดการพมิ พ์ข้อความได้ (P)
3. นักเรียนเหน็ ความสำคญั ในการใชโ้ ปรแกรมหรือซอฟตแ์ วรใ์ นชวี ติ ประจำวนั (A)
3.สาระสำคญั

ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคำสั่งที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ เช่น การ
นำเสนองาน การพมิ พง์ านเอกสาร รายงาน โปสเตอร์

โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word) ใช้ในการพิมพ์งานเอกสารท่ีเป็นข้อมูลลักษณะเป็น
ตัวอักษรและมีรูปภาพประกอบ เช่น รายงาน โปสเตอร์ ฯลฯ และยังสามารถใช้งานระบบอัตโนมัติต่าง ๆ
ไดด้ ว้ ย เช่น การค้นหาคำ ตรวจสอบไวยากรณ์ การสร้างตาราง ฯลฯ
4.สาระการเรียนรู้

การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวริ ด์ คอมพวิ เตอร์เพอื่ การจัดทำเอกสาร ขอ้ มูล สารสนเทศ
5.รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน

- การอภปิ ราย

69

6.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน  ซื่อสัตย์ สจุ รติ
 ความสามารถในการสอ่ื สาร  ใฝเ่ รยี นรู้
 ความสามารถในการคดิ  มุ่งม่ันในการทำงาน
 ความสามารถในการแก้ปัญหา  มีจิตสาธารณะ
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7.ทกั ษะ 4 Cs
 ทกั ษะการคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 ทกั ษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill)
 ทกั ษะการสื่อสาร (Communication Skill)
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

8.คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
 รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์

 มีวนิ ัย

 อยอู่ ย่างพอเพียง

 รกั ความเป็นไทย

9.การจดั กระบวนการเรยี นรู้
ชัว่ โมงที่ 1

ขนั้ นำ (10 นาที)
1. ครูนำตัวอย่างโปรไฟล์ในรูปแบบ Port folio ให้นักเรียนดู จากน้ันตั้งคำถามว่านักเรียนชอบการ
ออกแบบแบบไหน จากตัวอยา่ งท่ีดทู ้งั หมด (ครปู รนิ้ ใหน้ ักเรยี นด)ู
2. ครูถามนักเรียนว่าหากนักเรียนต้องการทำพอร์ทตามตัวอย่างต่าง ๆ ท่ีเห็นสักครู่ นักเรียนคิด
โปรแกรมอะไรสามารทำได้บา้ ง
3. ครูและนกั เรียนรว่ มกันบอกตัวอย่างโปรแกรมท่คี าดว่าจะใชส้ รา้ งพอร์ทได้

ขัน้ สอน (50 นาท)ี
1. ครูบอกนักเรยี นวา่ จะแนะนำโปรแกรมทใี่ ชใ้ นการสรา้ ง
2. แบบงา่ ยไมย่ งุ่ ยากใหก้ บั นักเรยี นแต่นกั เรียนต้องร้จู ัก
3. ก่อนวา่ โปรแกรม และซอฟตแ์ วรค์ อื อะไร
4. ครใู ห้นักเรยี นเปิดหนังสอื วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี4 หนา้ 83 จากน้ันครอู ธบิ ายเรือ่ ง
ซอฟต์แวร์ในหนา้ 83-85

ช่วั โมงที่ 2

70

ขน้ั สอนตอ่ (50 นาท)ี
1. ครทู บทวนความร้จู ากชวั่ โมงที่แล้วให้นกั เรยี นฟงั
2. ครใู ห้นักเรยี นเปดิ โปรแกรม Word จากนนั้ ครูแนะนำประโยชนข์ องโปรแกรม Word
3. ครสู อนวิธีใชง้ านโปรแกรมตามหนังสือวิทยาการคำนวณ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่4ี หน้า 86-92

ขั้นสรุป (10 นาท)ี
1. ครใู หน้ กั เรียนรว่ มกนั บอกเคร่ืองมือที่ไดเ้ รียนในชว่ั โมง และหน้าท่ขี องเครือ่ งมือ

ชั่วโมงท่ี 3
ขั้นสอนตอ่ (50 นาท)ี

1. ครใู หน้ ักเรยี นทบทวนเครอ่ื งมอื ทเี่ รียนในโปรแกรม Word จากชัว่ โมงทแี่ ล้ว
2. ครนู ำตัวอยา่ งประวัตสิ ่วนตัวทค่ี รทู ำจากโปรแกรม Word พร้อมตกแตง่ ดว้ ยเครื่องมือหลากหลาย

ชนดิ อย่างสวยงามใหน้ ักเรียนดู
3. ครูให้นกั เรยี นออกแบบประวัตสิ ว่ นตวั ของตนเองดว้ ยโปรแกรม Word จากเคร่ืองมือที่ครูสอนใช้

มาแล้วอยา่ งสวยงามทสี่ ุด

ชั่วโมงที่ 4
ขั้นสอนต่อ (50 นาที)

1. ครสู อบถามเร่อื งการทำประวัตสิ ว่ นตัวของนักเรยี น
2. ครูใหน้ กั เรียนทย่ี งทำไมเ่ สรจ็ ทำชน้ิ งานตอ่ จากช่ัวโมงทแ่ี ลว้
ขั้นสรปุ (10 นาที)
1. ครตู รวจชน้ิ งานนักเรยี นพร้อมใหค้ ะแนน
2. ครูใหน้ กั เรียนบอกประโยชน์ของการใช้โปรแกรมในชวี ติ ประจำวัน
3. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเร่ืองการนำเสนอข้อมูลโดยใชซ้ อฟต์แวร์ประยุกต์

10. ส่ือแหลง่ การเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี น วิชาวิทยาการคำนวณ

11. การวัดและการประเมนิ ผล

จุดประสงค์ วธิ กี ารประเมนิ เครือ่ งมอื การ เกณฑก์ ารประเมนิ
ประเมิน
1.นักเรยี นบอกลักษณะ 1.การตอบคำถามใน 1.สามารถตอบคำถามใน
ของซอฟแวรไ์ ด้ (K) แบบฝกึ หดั 1.แบบประเมิน แบบฝึกหัดได้ถูกต้อง
แบบฝกึ หัด 60 % ขึ้นไป

71

2.นักเรียนสามารถใช้งาน 2.ตรวจช้นิ งาน 2.แบบประเมนิ 2.นักเรยี นไดค้ ะแนน 60
ชนิ้ งาน % ข้นึ ไป
เครอื่ งมอื พน้ื ฐานในการ
3.แบบประเมนิ 3.ยกตัวอยา่ งไดอ้ ย่าง
พมิ พข์ ้อความได้ (P) พฤติกรรม น้อย 1 ตัวอยา่ ง

3.นกั เรียนเห็น 3.นกั เรียนยกตัวอย่างการ

ความสำคญั ในการใช้ ใชโ้ ปรแกรม Word ใน

โปรแกรมซอฟแวร์เวริ ์ด ชวี ติ ประจำวันได้

ในชีวติ ประจำวนั (A)

ประเด็นการประเมนิ แบบประเมนิ ชิน้ งาน
ชิน้ งาน คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน

ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน)

1.ความสอดคล้องของ 1.นักเรียนแสดงออก 1.นักเรียนแสดงออกถงึ 1.นกั เรียนแสดงออกถึง
เน้อื หา
ถงึ การวางแผน การ การวางแผน การนำเสนอ การวางแผน การนำเสนอ

นำเสนอข้อมูล อยา่ ง ขอ้ มูล ชดั เจน เข้าใจงา่ ย ข้อมูล ชดั เจน เข้าใจงา่ ย

ชัดเจน เข้าใจง่าย โดย เปน็ สว่ นใหญ่ โดยใช้ บางสว่ น โดยใช้

ใช้ซอฟต์แวรใ์ นการ ซอฟต์แวร์ในการสร้าง ซอฟต์แวร์ในการสรา้ ง

สรา้ งชิน้ งานสมั พันธ์ ชนิ้ งานสมั พันธ์กบั โจทย์ท่ี ชน้ิ งานสมั พนั ธก์ บั โจทยท์ ่ี

กับโจทยท์ ี่ได้รบั ไดร้ ับ ได้รับ

2.คุณภาพของผลงาน 2.นกั เรยี นสามารถใช้ 2.นกั เรยี นสามารถใช้ 2.นกั เรยี นสามารถใช้
และการนำเสนอข้อมูล โปรแกรม Word โปรแกรม Word โปรแกรม Word
ใน โปรแกรม Word ออกแบบประวตั ิ ออกแบบประวัตสิ ่วนตัว ออกแบบประวัตสิ ่วนตัว
สว่ นตวั ของตนเอง ของตนเอง และใช้งาน ของตนเอง และใช้งาน
และใชง้ านเคร่ืองมอื เคร่อื งมือพนื้ ฐานในการ เครอ่ื งมอื พ้นื ฐานในการ
พืน้ ฐานในการพมิ พ์ พิมพข์ ้อความได้เปน็ ส่วน พิมพ์ข้อความได้บาง

72

ข้อความได้อยา่ ง ใหญ่ ในการสรา้ งช้ินงาน เครือ่ งมอื ในการสรา้ ง
หลากหลาย ในการ ชิ้นงาน
สร้างชน้ิ งาน

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
5-6 ดี
3-4
1-2 พอใช้
ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี น

คำช้แี จง : ครูพจิ ารณาให้คะแนนนกั เรยี นรายบุคคลตามข้อคำถามท่ีกำหนดให้ในใบรายชื่อนกั เรยี น

โดยใชเ้ กณฑ์ในการประเมนิ ดังนี้

3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = นอ้ ย

พฤติกรรมท่ีสังเกต ระดบั คะแนน
321

1. แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ เรียนรู้

2. ยกตัวอยา่ งการใชโ้ ปรแกรม Word ในชีวติ ประจำวนั ได้

3. มีวนิ ยั และมุ่งม่นั ในการทำงาน

4. เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

5. แลกเปลยี่ นเรยี นรู้

รวม (15)

73

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ
ดมี าก
ช่วงคะแนน ดี
14 – 15 พอใช้
11 – 13 ปรับปรุง
8 – 10
1–7

74

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 การใช้เทคโนโลยอี ย่างปลอดภยั เวลา 4 ช่วั โมง

เรือ่ ง แชรไ์ ดไ้ หมนะ เวลา 4 ชัว่ โมง

รายวชิ า วิทยาการคำนวณ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

ช่วั โมงที่ 1 ทำการสอนวันที่......................เดือน....................................................... พ.ศ...........................

ชั่วโมงที่ 2 ทำการสอนวันที.่ .....................เดอื น....................................................... พ.ศ...........................

ชว่ั โมงที่ 3 ทำการสอนวันท่.ี .....................เดือน....................................................... พ.ศ...........................

ชั่วโมงท่ี 4 ทำการสอนวนั ท.ี่ .....................เดอื น....................................................... พ.ศ...........................

ครูผสู้ อน : นางสาวฐติ ิยา รัตนายน

1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม

ตัวช้ีวัด ป.4/4 รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพ่ือ
แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวัน

ป.4/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิ
ของผอู้ ื่น แจง้ ผ้เู กย่ี วขอ้ งเมอ่ื พบขอ้ มูลหรือบุคคลที่ไมเ่ หมาะสม
2.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ พลเมืองดิจิทอล และลักษณะ
พลเมอื งดิจิทลั ได้ (K)

2. นกั เรียนสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลที่สามารถเปดิ เผยได้อยา่ งปลอดภัย และป้องกันตนเองจากภัยคุกคาม
ต่าง ๆ ได้ (P)

3. นกั เรียนสามารถใชโ้ ปรแกรมไมโครซอฟต์นำเสนองานได้ (P)
4. นักเรียนเห็นคุณค่าของสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เก่ียวข้องเม่ือพบข้อมูล

หรอื บุคคลทไี่ มเ่ หมาะสม (A)
3.สาระสำคัญ

84

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คือ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์

โทรคมนาคม (เทคโนโลยี) เพ่ือจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และประมวลผลข้อมูล ซ่ึงข้อมูลที่ถูกประมวลผล

เรียบร้อยแล้วจะเรียกวา่ สารสนเทศ

พลเมืองดิจิทัล (Digital Citizen) คือ บุคคลท่ีมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี และสื่อดิจิทัล

เป็นประจำได้อยา่ งปลอดภัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ และมปี ระสทิ ธิภาพ

พลเมืองดิจิทัลจะต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ความรับผิดชอบต่อครอบครัวและเพื่อน และ

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ชุมชน เพื่อให้สงั คมมคี วามสงบเรียบร้อย

4.สาระการเรียนรู้

- ความหมายเกย่ี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ

- พลเมืองดจิ ทิ อล และลกั ษณะพลเมืองดจิ ิทลั

5.รปู แบบการสอน/วิธีการสอน

- การอภิปราย

- วธิ ีการสอนแบบกลมุ่

- การนำเสนองาน

6.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ความสามารถในการสื่อสาร

 ความสามารถในการคดิ

 ความสามารถในการแกป้ ัญหา

 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7.ทักษะ 4 Cs

 ทักษะการคิดวจิ ารณญาณ (Critical Thinking)

 ทักษะการทำงานรว่ มกัน (Collaboration Skill)

 ทักษะการสอื่ สาร (Communication Skill)

 ทกั ษะความคิดสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking)

8.คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

 รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์  ซอ่ื สตั ย์ สุจริต

 มวี นิ ัย  ใฝเ่ รยี นรู้

 อยู่อยา่ งพอเพียง  มุ่งมนั่ ในการทำงาน

 รักความเป็นไทย  มีจติ สาธารณะ

85

9.การจัดกระบวนการเรยี นรู้
ช่วั โมงท่ี 1

ขน้ั นำ (10 นาที)
1. ครสู อบถามนกั เรียนว่านกั เรียนรู้จักโปรแกรมอะไรบ้างที่สามารถใช้ในการสื่อสาร ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกัน
ยกตัวอยา่ ง (แนวคำตอบ เฟสบคุ๊ ไลน์ ทวิตเตอร์ )
2. ครูถามเร่ืองการใชง้ านส่ือเฟสบุ๊คท่นี กั เรยี นใช้ว่ามหี น้าทท่ี ำอะไร และช่วยอะไรในชีวติ ประจำวันบ้าง

ขน้ั สอน (50 นาที)
1. ครเู ปิดเฟสบุ๊คของครูและเลือ่ นหนา้ ข่าวสารให้นกั เรียนดู (สังเกตข่าวที่ถกู แชร์ในเฟสบุค๊ )
2. ครูถามนักเรยี นว่าเคยเหน็ ข่าวท่ีแชรใ์ นหนา้ เฟสบุ๊กของตนเองหรอื ไม่ (การหาข่าวในเฟซบุ๊ก ขึ้นอยู่กบั
ดุลยพนิ ิจของคร)ู จากนนั้ ถามต่อว่านกั เรียนคิดว่าขา่ วเหลา่ น้มี คี วามน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน
เหมาะสมหรือไม่ถ้าโพสลงพื้นทส่ี าธารณะ ถ้าขอ้ มูลทเ่ี ราแชรต์ อ่ ไปเรื่อย ๆ เป็นเทจ็ คนทีเ่ กีย่ วข้องจะ
เดอื นร้อนหรือไม่
3. ครถู ามนักเรยี นว่านกั เรยี นวา่ มีวธิ ีการคดั เลอื กขา่ วท่ีน่าเชื่อถอื และใชส้ อื่ โดยไม่ทำให้ผู้อ่ืนเดอื ดร้อนได้
อยา่ งไร
4. ครใู ห้นกั เรยี นเปิดหนังสือวชิ าวทิ ยาการคำนวณหนา้ 111-117 และอธบิ ายเนอ้ื หาการใช้สารสนเทศใน
ยคุ ดจิ ิทลั อยา่ งปลอดภยั
5. ครูใหน้ ักเรยี นแบบฝึกหัดวชิ าวทิ ยาการคำนวณหนา้ 53-54 เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจ

ชัว่ โมงท2ี่
ขนั้ สอนตอ่ (50 นาที)

1. ครูทบทวนกจิ กรรมจากช่ัวโมงที่แลว้ ให้นกั เรียนฟัง
2. ครใู หแ้ บง่ กลมุ่ ให้นกั เรยี น 3-5 คน จากนัน้ ให้แตล่ ะกลุม่ เขยี นขอ้ มูลส่วนตัวและเกีย่ วขอ้ งกบั นักเรยี น

เชน่ ช่ือ ท่ีอยู่ เบอร์โทรศัพท์ ช่ือสุนัข ชือ่ แมว เป็นตน้
3. จากน้นั ให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้มาวิเคราะห์ว่า ขอ้ มลู ไหนสามารถเปิดเผยได้ หรือ

ขอ้ มลู ไหนไมส่ ามารถเปิดเผยได้ โดยสร้างไฟลเ์ พื่อใชน้ ำเสนอข้อมลู ด้วยโปรแกรม Word , Excel หรือ
PowerPoint
4. ครใู ห้นกั เรยี นเตรยี มตวั นำเสนอข้อมูลโดยเลือกใช้ Word ,Excel หรือ PowerPoint

ชั่วโมงท่3ี

ข้ันสอนต่อ (50 นาที)

86

1. ครูทบทวนกจิ กรรมที่ทำในช่ัวโมงท่ีแลว้ ให้นกั เรยี นฟัง
2. ครใู ห้นกั เรยี นกลุ่มที่พร้อมนำเสนอข้นึ มานำเสนอหน้าชน้ั 2-4 กลมุ่

ชั่วโมงท4่ี
ข้ันสอนต่อ (30 นาที)

1. ครูให้นกั เรียนกลุ่มท่ียงั ไม่ได้นำเสนอขึ้นมานำเสนองานหน้าชนั้ เรยี น
ข้นั สรปุ (20 นาที)

1. ครูให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น และอภิปรายความสำคัญเกี่ยวกบั การใช้เทคโนโลยอี ย่าง
ปลอดภยั และเคารพในสทิ ธขิ องผ้อู ื่น ไม่ทำให้ผู้อนื่ เดือดร้อน

10.สื่อแหล่งการเรียนรู้
1. หนงั สือเรียน วิชาวิทยาการคำนวณ
2. แบบฝึกหดั วชิ าวิทยาการคำนวณ

11.การวัดและการประเมินผล

จดุ ประสงค์ วธิ กี ารประเมิน เครือ่ งมอื การ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน
1. นักเรียนสามารถ 1.ตรวจแบบฝกึ หัด 1.สามารถสรุปความรลู้ ง
อธิบายความหมาย 1.สมดุ แบบฝึกหัด สมุดแบบฝกึ หัดได้ถูกต้อง
เกีย่ วกบั เทคโนโลยี 60% ขึ้นไป
สารสนเทศ พลเมืองดิจิ
ทอล และลกั ษณะ 1.แบบประเมนิ การ 1.สามารถวิเคราะห์ข้อมูล
พลเมอื งดิจทิ ลั ได้(K) นำเสนอ ทีส่ ามารถเปิดเผยได้อยา่ ง
2. นกั เรียนสามารถ 1.การนำเสนองาน ปลอดภยั และป้องกัน
วิเคราะห์ข้อมลู ที่สามารถ ตนเองจากภัยคุกคามต่าง
เปิดเผยได้อย่างปลอดภยั ๆ ได้ และใช้โปรแกรม
และปอ้ งกันตนเองจากภัย ไมโครซอฟตน์ ำเสนองาน
คกุ คามต่าง ๆ ได้
3. นักเรยี นสามารถใช้

87

โปรแกรมไมโครซอฟต์ ได้ 60% ข้นึ ไป

นำเสนองานได้ )P( 1.การตอบคำถามและการ
ยกตัวอยา่ งผลดีทเี่ กิดจาก
4. นักเรยี นเห็นคุณค่าของ 1.การตอบคำถามและการ 1.แบบประเมิน การเคารพสิทธติ นเองและ
พฤติกรรม ผอู้ ่ืน รวมถงึ ผลกระทบท่ี
สิทธแิ ละหนา้ ที่ของตน ยกตวั อยา่ งผลดีทเ่ี กดิ จาก เกิดขึน้ จากการไมเ่ คารพ
สทิ ธิตนเองและผู้อื่นอยา่ ง
เคารพในสิทธขิ องผู้อ่ืน การเคารพสิทธิตนเองและ น้อย 1 ตวั อยา่ ง

แจง้ ผูเ้ กี่ยวข้องเม่ือพบ ผอู้ ่นื รวมถึงผลกระทบท่ี

ข้อมลู หรือบุคคลท่ีไม่ เกดิ ขนึ้ จากการไมเ่ คารพ

เหมาะสม) A( สิทธิตนเองและผู้อืน่

ประเดน็ การประเมนิ แบบประเมนิ การนำเสนองาน
ชิ้นงาน
คำอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน

ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรบั ปรงุ (1 คะแนน)

1.ความถกู ต้องของ 1.วิเคราะหเ์ นอื้ หาถูกต้อง 1.วเิ คราะหเ์ นื้อหาถูกตอ้ ง 1.วิเคราะหเ์ นอ้ื หาไมค่ รบถว้ น
เน้ือหา ครบถว้ นสมบรู ณ์ สามารถตอบ
คำถามไดท้ ุกขอ้ และตระหนัก ครบถว้ น ตอบคำถามไดเ้ ปน็ แต่ภาพรวมของเน้ือหา
ถึงความปลอดภยั รวมถึง
ป้องกันสทิ ธติ นเองและผอู้ ื่น สว่ นใหญ่ และตระหนักถึง ท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์พอใช้

ความปลอดภัย รวมถงึ ปอ้ งกัน ความปลอดภัยของการของ

สิทธิตนเองและผอู้ นื่ ขอ้ มลู ค่อนขา้ งนอ้ ย

2.การเลือกใช้โปรแกรม 2.เลอื กใชโ้ ปรแกรม 2.เลือกใชโ้ ปรแกรม 2.เลือกใชโ้ ปรแกรม

88

ไมโครซอฟต์นำเสนองาน ไมโครซอฟต์นำเสนองานได้ ไมโครซอฟต์นำเสนองานได้ ไมโครซอฟต์นำเสนองานค่อย
เหมาะสม จดั รปู แบบนำเสนอ เหมาะสม จดั รูปแบบนำเสนอ ข้างไมเ่ หมาะสม จัดรปู แบบ
งานเข้าใจงา่ ยและสวยงาม งานเขา้ ใจ ความสวยงาม นำเสนองานใช้ไดเ้ ปน็ บางส่วน
พอใช้

3.ใชภ้ าษาถกู ต้อง 3.ใช้ภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม 3.ใชภ้ าษาถูกต้องเหมาะสม 3.ใชภ้ าษาถกู ตอ้ งเหมาะสม
เหมาะสม ออกเสยี งไดถ้ กู ตอ้ งดีมาก ออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ งดี ลำดับ ออกเสยี งได้ถกู ตอ้ งพอใช้
ลำดับความได้ชัดเจน เข้าใจงา่ ย ความไดด้ ี พอใช้ ลำดับความไดพ้ อเข้าใจ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
8–9 ดี
5 –7
1 –4 พอใช้
ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียน

คำช้ีแจง : ครพู ิจารณาใหค้ ะแนนนักเรยี นรายบคุ คลตามข้อคำถามที่กำหนดให้ในใบรายชื่อนกั เรียน

โดยใช้เกณฑ์ในการประเมนิ ดงั น้ี

3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = นอ้ ย

89

พฤตกิ รรมท่ีสังเกต ระดบั คะแนน
321

1. แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ

2. เห็นคุณค่าของสิทธแิ ละหน้าทขี่ องตน เคารพในสิทธิ

ของผู้อน่ื แจง้ ผู้เกย่ี วข้องเม่ือพบข้อมลู หรอื บุคคลที่ไม่

เหมาะสม

3. มีวนิ ัยและมงุ่ มน่ั ในการทำงาน

4. เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้

5 .แจ้งผเู้ กีย่ วขอ้ งเมื่อพบข้อมูลหรอื บคุ คลที่ไม่

เหมาะสม

รวม 15

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
14 – 15 ดีมาก
11 – 13 ดี
8 – 10 พอใช้
1–7 ปรบั ปรงุ

90


Click to View FlipBook Version