The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tiyada Pochanukul, 2023-04-25 03:15:27

โครงการสอนพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

โครงการสอนพืชเศรษฐกิจ

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ท าไมต้องเรียนการงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถน าความรู้เกี่ยวกับ การด ารงชีวิต การอาชีพ มาใช้ประโยชน์ในการท างานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันใน สังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการท างาน และมีเจตคติที่ดีต่อการท างาน สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข เรียนรู้อะไรในการงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการท างาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระส าคัญ ดังนี้ การด ารงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการท างานในชีวิตประจ าวัน ช่วยเหลือ ตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ท าลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจริง จนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลส าเร็จของงาน เพื่อให้ค้นพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของตนเอง การอาชีพ เป็นสาระที่เกี่ยวข้องกับทักษะที่จ าเป็นต่ออาชีพ เห็นความส าคัญของ คุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การด ารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการท างาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการท างาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการท างานร่วมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการท างาน มีจิตส านึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการด ารงชีวิตและครอบครัว คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เข้าใจวิธีการท างานเพื่อการด ารงชีวิต สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ การท างานร่วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะการแสวงหาความรู้ ท างานอย่างมีคุณธรรม และมีจิตส านึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่ายั่งยืน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ การด ารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑. ๑ เข้าใจการท างาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการท างาน ทักษะการ จัดการทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการท างานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มี คุณธรรม และลักษณะนิสัยในการท างาน มีจิตส านึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อ การด ารงชีวิตและครอบครัว ๑


ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๔ - ๖ ๑. อธิบายวิธีการท างานเพื่อการด ารงชีวิต ๒. สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมีทักษะการท างานร่วมกัน๓. มีทักษะการจัดการในการท างาน ๔. มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการ ท างาน ๕. มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการ ด ารงชีวิต ๖. มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการท างาน ๗. ใช้พลังงาน ทรัพยากรในการท างานอย่าง คุ้มค่าและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วิธีการท างานเพื่อการด ารงชีวิต ความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการท างานร่วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการท างาน ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อการด ารงชีวิต คุณธรรมและลักษณะนิสัยในการท างาน การใช้พลังงาน ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน ๒


ค าอธิบายรายวิชา ง๓๐๒๘๕ พืชอุตสาหกรรมและพืชเศรษฐกิจแห่งประเทศไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน น้ าหนัก ๑.๐ หน่วยกิต การศึกษาเกี่ยวกับระบบการจัดการและนวัตกรรม ความส าคัญ ประเภทและชนิดของพืช เศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรม การปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการแปรรูป การตลาดและ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมของไทยให้นักเรียนมีความเข้าใจใน อุตสหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมทั้งระบบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเล็งเห็นถึงอนาคตของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมโดยเน้นความเชื่อมโยงระบบห่วงโซ่อุปทาน ทั้ง ๔ ระบบหลัก คือ การตลาดในประเทศและต่างประเทศ เทคโนโลยีการผลิตก่อน-หลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า และปัจจัยการผลิตที่ทันสมัย เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนสนใจพัฒนา อาชีพด้านการเกษตรเกี่ยวกับพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยใช้ทักษะการจัดการท างาน ทักษะการท างานร่วมกัน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการ ท างาน และทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการด ารงชีวิตเพื่อให้ผู้เรียนเห็นความส าคัญของการท างาน โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ ท างานอย่างปลอดภัย มีคุณธรรมและมีลักษณะนิสัยที่ดีในการท างานร่วมกัน ปลูกจิตส านึกในการใช้พลังงานและ ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ่มค่า มีความพอเพียง สร้างเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพสุจริต และ น าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความส าคัญของพืชที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศได้ ๒. บอกประเภทและชนิดของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๓. อธิบายลักษณะการเจริญเติบโต และระยะพัฒนาการของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๔. อธิบายวิธีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕. สามารถวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการตลาดของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๖. สามารถอธิบายวิธีการแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗. สามารถบอกชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมได้ ๘. สามารถบอกประโยชน์ของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้ ๓


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตร ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการท างาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน มีดังนี้๑. มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้ว ยตนเอง ๒. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ๓. มีทักษะการคิดชั้นสูง ๔. มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ๕. มีความใฝ่เรียนรู้ ใฝ่ดี อยู่อย่างพอเพียง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของกลุ่มสาระ มีดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการท างาน ๗. รักความเป็นไทย ๔


โครงสร้างรายวิชา รายวิชา พืชอุตสาหกรรมและพืชเศรษฐกิจแห่งประเทศไทย ง๓๐๒๘๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จ านวน ๔๐ ชั่วโมง จ านวน ๑.๐ หน่วยกิต หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้/สาระส าคัญ สาระการ เรียนรู้ท้องถิ่น จ านวน เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน K P A รวม ปฐมนิเทศ - ค าอธิบายรายวิชา/ ผลการเรียนรู้ และภาพรวมของวิชา การน ามาใช้ ในชีวิต ประจ าวัน ๒ - - - - ๑ พืชเศรษฐกิจ และ พืช อุตสาหกรรม ๑.อธิบายความส าคัญของพืช ที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ ได้ ๒.บอกประเภทและชนิดของ พืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๑. ความส าคัญของพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรม ๒. ชนิดของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรม การน ามาใช้ ในชีวิต ประจ าวัน ๒ ๕ ๕ ๕ ๑๕ ๒. ข้าว ๓.อธิบายลักษณะการ เจริญเติบโต และระยะ พัฒนาการของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและ การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปของพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์ สถานการณ์การผลิตและ การตลาดของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการแปร รูปของพืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของ พืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๑.ข้าวและความส าคัญ ๒. ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ ๓. การปลูกและการเก็บ เกี่ยว ๔. สถานการณ์การผลิตและ การตลาด ๕. ผลิตภัณฑ์จากการแปร รูป การน ามาใช้ ในชีวิต ประจ าวัน ๘ ๕ ๕ ๕ ๑๕ ๕


หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้/สาระส าคัญ สาระการ เรียนรู้ท้องถิ่น จ านวน เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน K P A รวม ๓. ยางพารา ๓.อธิบายลักษณะ การเจริญเติบโต และระยะ พัฒนาการของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและ การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปของพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์ สถานการณ์การผลิตและ การตลาดของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการ แปรรูปของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของ พืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๑. ยางพาราและ ความส าคัญ ๒. ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ ๓. การปลูกและการกรีดยาง ๔. สถานการณ์การผลิตและ การตลาด ๕. ผลิตภัณฑ์จากการแปร รูป การน ามาใช้ ในชีวิต ประจ าวัน ๖ ๕ ๕ - ๑๐ สอบกลางภาค ๒ ๑๐ - - ๑๐ ๔. มันส าปะหลัง ๓.อธิบายลักษณะการ เจริญเติบโต และระยะ พัฒนาการของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและ การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปของพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์ สถานการณ์การผลิตและ การตลาดของพืชเศรษฐกิจ ๑.มันส าปะหลังและ ความส าคัญ ๒. ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ ๓. การปลูกและการเก็บ เกี่ยว ๔. สถานการณ์การผลิตและ การตลาด ๕. ผลิตภัณฑ์จากการ แปรรูป การน ามาใช้ ในชีวิต ประจ าวัน ๖ ๕ ๕ - ๑๐ ๖


หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้/สาระส าคัญ สาระการ เรียนรู้ท้องถิ่น จ านวน เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน K P A รวม และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการ แปรรูปของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของ พืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕. ปาล์มน้ ามัน ๓.อธิบายลักษณะ การเจริญเติบโต และระยะ พัฒนาการของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและ การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปของพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์ สถานการณ์การผลิตและ การตลาดของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการ แปรรูปของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของ พืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๑. ปาล์มน้ ามันและ ความส าคัญ ๒. ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ ๓. วิธีการปลูก การเก็บเกี่ยว ๔. สถานการณ์การผลิตและ การตลาด ๕. ผลิตภัณฑ์จากการ แปรรูป การน ามาใช้ ในชีวิต ประจ าวัน ๘ ๕ ๕ - ๑๐ ๗


หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้/สาระส าคัญ สาระการ เรียนรู้ท้องถิ่น จ านวน เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน K P A รวม ๖. พืชตระกูลถั่ว ๓.อธิบายลักษณะการ เจริญเติบโต และระยะ พัฒนาการของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและ การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการแปรรูปของพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์ สถานการณ์การผลิตและ การตลาดของพืชเศรษฐกิจ และพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญ ได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการ แปรรูปของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืช เศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของ พืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๑. พืชตระกูลถั่วและ ความส าคัญ ๒. ถั่วเหลือง ๓. ถั่วเขียว ๔. ถั่วลิสง การน ามาใช้ ในชีวิต ประจ าวัน ๔ ๕ ๕ - ๑๐ สอบปลายภาค ๒ ๒๐ - - ๒๐ รวมตลอดภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ ๒๐ ๖๐ ๓๐ ๑๐ ๑๐๐ ๘


ตัวชี้วัดรายวิชา รายวิชา พืชอุตสาหกรรมและพืชเศรษฐกิจแห่งประเทศไทย ง๓๐๒๘๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖ จ านวน ๔๐ ชั่วโมง จ านวน ๑.๐ หน่วยกิต ชื่อหน่วย ข้อที่ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ เวลาเรียน คะแนน ปฐมนิเทศ ๒ - พืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรม ๑-๒ ๑.อธิบายความส าคัญของพืชที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศได้ ๒.บอกประเภทและชนิดของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรม ที่ส าคัญได้ ๒ ๑๕ ข้าว ๓-๘ ๓.อธิบายลักษณะการเจริญเติบโต และระยะพัฒนาการของพืช เศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการ แปรรูปของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการตลาดของพืช เศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชเศรษฐกิจและพืช อุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๘ ๑๕ ยางพารา ๓-๘ ๖ ๑๐ สอบกลางภาค ๒ ๑๐ มันส าปะหลัง ๓-๘ ๓.อธิบายลักษณะการเจริญเติบโต และระยะพัฒนาการของ พืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและ การแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการตลาดของ พืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๖ ๑๐ ปาล์มน้ ามัน ๓-๘ ๘ ๑๐ พืชตระกูลถั่ว ๓-๘ ๔ ๑๐ สอบปลายภาค ๒ ๒๐ รวมตลอดภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ ๔๐ ๑๐๐ ๙


การวัดผลประเมินผล อัตราส่วนคะแนน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค (๘๐:๒๐) ที่ การวัดผลประเมินผล คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ก าหนดส่ง ครึ่งภาคแรก ครึ่งภาคหลัง ๑. คะแนนระหว่างภาค ๘๐ คะแนน ๕๐ ๓๐ ๑.๑ คะแนนระหว่างเรียน คะแนน - คะแนน K ๑๕ ๑๕ - คะแนน P ๑๕ ๑๕ - คะแนน A (จิตพิสัย) ๑๐ คะแนน ๑๐ ๑.๒ คะแนนอื่นๆ - - - - - - ๑.๓ คะแนนสอบกลางภาค ๑๐ คะแนน ๑๐ - ๒. คะแนนสอบปลายภาค ๒๐ คะแนน - ๒๐ รวม ๕๐ ๕๐ รวมตลอดภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ ๑๐๐ ๑๐


ข้อตกลงในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล รายวิชา พืชอุตสาหกรรมและพืชเศรษฐกิจแห่งประเทศไทย ง๓๐๒๘๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖ ของ คุณครู ฐิญาดา โภชนุกูล ข้อ ๑ ๑.๑ การส่งผลงานที่ได้รับมอบหมาย ๖๐ คะแนน - สมุดจด, ใบงาน, ชิ้นงาน ๒๐ คะแนน - ชิ้นงานเดี่ยว ๑๐ คะแนน - ชิ้นงานกลุ่ม ๑๐ คะแนน - ทดสอบประจ าหน่วยเรียน ๒๐ คะแนน ๑.๒ พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม ๑๐ คะแนน ๑.๓ การทดสอบ ๓๐ คะแนน - กลางภาค ๑๐ คะแนน - ปลายภาค ๒๐ คะแนน ข้อ ๒ เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้ต้อง ๒.๑ ต้องเข้าเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒.๒ ได้คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ข้อ ๓. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน ๓.๑ พิจารณาตามเกณฑ์ ผ่านรายวิชาตามข้อ ๒ ผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ ตามข้อ ๒ จะได้รับคะแนน ๐ ๓.๒ ผู้ที่สอบผ่านเกณฑ์ข้อ ๒ จะได้รับคะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้ - คะแนนร้อยละ ๘๐ขึ้นไป ได้ระดับคะแนน ๔.๐ - คะแนนร้อยละ ๗๕-๗๙ ได้ระดับคะแนน ๓.๕ - คะแนนร้อยละ ๗๐-๗๔ ได้ระดับคะแนน ๓.๐ - คะแนนร้อยละ ๖๕-๖๙ ได้ระดับคะแนน ๒.๕ - คะแนนร้อยละ ๖๐-๖๔ ได้ระดับคะแนน ๒.๐ - คะแนนร้อยละ ๕๕-๕๙ ได้ระดับคะแนน ๑.๕ - คะแนนร้อยละ ๕๐-๕๔ ได้ระดับคะแนน ๑.๐ - คะแนนต่ ากว่าร้อยละ ๕๐ ได้ระดับคะแนน ๐ ๑๑


ข้อตกลงในชั้นเรียน รายวิชา พืชอุตสาหกรรมและพืชเศรษฐกิจแห่งประเทศไทย ง๓๐๒๘๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖ ของ คุณครู ฐิญาดา โภชนุกูล ๑. เข้าห้องเรียนตรงเวลา ๒. ตั้งใจเรียน และท าตามที่ครูแนะน า ๓. เตรียมสมุด หนังสือ อุปกรณ์การเรียนให้พร้อมก่อนครูเข้าสอน ๔. ไม่ส่งเสียงรบกวนหรือคุยกันในขณะเรียน ๕. แสดงกริยามารยาทที่ดีต่อคุณครู และทุกคน ๖. พูดจาด้วยค าพูดที่ไพเราะ เช่น ขอบคุณ ขอโทษ ๗. ช่วยกันดูแลรักษาความสะอาดของห้องเรียน ประหยัดไฟ ๘. รักษาโต๊ะเก้าอี้ให้สะอาดไม่ขีดเขียนลงบนโต๊ะเก้าอี้ ๙. สามัคคี มีน้ าใจ ดูแลช่วยเหลือกัน ๑๐. ปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อบังคับของห้องเรียน และโรงเรียน ๑๒


การก าหนดภาระงานของนักเรียน ความคิดส าคัญ (Big Ideas) รายวิชา พืชอุตสาหกรรมและพืชเศรษฐกิจแห่งประเทศไทย ง๓๐๒๘๕ หน่วยการเรียนรู้ที่ ชื่อหน่วย ภาระงาน/ชิ้นงาน คะแนน ๑ พืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรม ใบงาน ๑๕ ๒ ข้าว ใบงาน, ชิ้นงาน, การปฏิบัติ ๑๕ ๓ ยางพารา ใบงาน, ชิ้นงาน, การปฏิบัติ ๑๐ สอบกลางภาค ๑๐ ๔ มันส าปะหลัง ใบงาน, ชิ้นงาน, การปฏิบัติ ๑๐ ๕ ปาล์มน้ ามัน ใบงาน, ชิ้นงาน, การปฏิบัติ ๑๐ ๖ พืชตระกูลถั่ว ใบงาน, ชิ้นงาน, การปฏิบัติ ๑๐ สอบปลายภาค ๒๐ รวม ๑๐๐ ๑๓


ก าหนดการสอน การก าหนดการสอน รายวิชา พืชอุตสาหกรรมและพืชเศรษฐกิจแห่งประเทศไทย ง๓๐๒๘๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ หน่วย ที่ ชั่วโมง ที่ สาระการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการสอน ภาระงาน/เครื่องมือวัดผล ๑-๒ ปฐมนิเทศ - แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้ - หน่วยการเรียนรู้ - ก าหนดการวัดผล ประเมินผล -หลักสูตรสถานศึกษา - โครงการสอน - แผนการจัดการเรียนรู้ ๑ ๓-๔ ๑.อธิบายความส าคัญของพืชที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศได้ ๒.บอกประเภทและชนิดของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ ส าคัญได้ - ท าแบบทดสอบก่อนเรียน - การสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง - กระบวนการกลุ่ม - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - การถาม-ตอบ - การปฏิบัติ - ท าใบงาน - ท าแบบทดสอบหลังเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบงาน - สมุดจด - ฝึกปฏิบัติ - แบบทดสอบหลังเรียน ๒ ๕-๑๒ ๓.อธิบายลักษณะการเจริญเติบโต และระยะพัฒนาการของ พืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและ การแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการตลาดของ พืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบงาน - ชิ้นงาน - แบบทดสอบหลังเรียน ๓ ๑๓-๑๘ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบงาน - การปฏิบัติ - แบบสังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบหลังเรียน ๑๙-๒๐ สอบกลางภาค แบบวัดประเมินผล ๔ ๒๑-๒๖ ๓.อธิบายลักษณะการเจริญเติบโต และระยะพัฒนาการของ พืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๔.อธิบายวิธีการปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและ การแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๕.สามารถวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตและการตลาดของ พืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๖.สามารถอธิบายวิธีการแปรรูปของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ ๗.สามารถบอกชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมได้ ๘.สามารถบอกประโยชน์ของพืชเศรษฐกิจและ พืชอุตสาหกรรมที่ส าคัญได้ - ท าแบบทดสอบก่อนเรียน - การสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง - กระบวนการกลุ่ม - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - การถาม-ตอบ - การปฏิบัติ - ท าใบงาน - ท าแบบทดสอบหลังเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบงาน - สมุดจด - ฝึกปฏิบัติ - แบบทดสอบหลังเรียน ๕ ๒๗-๓๔ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบงาน - ชิ้นงาน - แบบทดสอบหลังเรียน ๖ ๓๕-๓๘ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบงาน - การปฏิบัติ - แบบสังเกตพฤติกรรม - แบบทดสอบหลังเรียน ๓๙-๔๐ สอบปลายภาค แบบวัดประเมินผล ๑๔


ภาคผนวก


เอกสารอ้างอิง ดรุณี พวงบุตร. (๒๕๖๐). เอกสารประกอบการสอนพืชไร่เศรษฐกิจ. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี. มลฤดี จันทรัตน์. (๒๕๖๕). เอกสารประกอบการสอนพืชเศรษฐกิจและพืชอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.


แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้ส าหรับผู้เรียน ชื่อ-นามสกุล...................................... เลขที่ ............................................ ชั้น .................................. วันที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. ..................... ค าชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้นี้ ผลงานที่นักเรียนชอบและต้องการ คัดเลือกเป็นผลงานดีเด่นจากหน่วย การเรียนรู้นี้คือผลงานใดบ้าง เพราะอะไรบ้าง .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร หลังจาก ที่เรียนหน่วยการเรียนรู้นี้แล้ว .................................................... .................................................... .................................................... .................. นักเรียนยังไม่เข้าใจเรื่องใด อีกบ้างที่เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้นี้ ซึ่งต้องการให้ครูอธิบายเพิ่มเติม .................................................. .................................................. .................................................. นักเรียนได้รับความรู้เรื่องใดบ้าง จากหน่วยการเรียนรู้นี้ ............................................... ............................................... ............................................... ............... นักเรียนจะสามารถน าความรู้ ความเข้าใจจากหน่วยการเรียนรู้นี้ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันได้ อย่างไรบ้าง .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. .................................................. นักเรียนได้ท ากิจกรรมอะไรบ้างใน หน่วยการเรียนรู้นี้ ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... หน่วยการเรียนรู้ที่ ............................. .............................


แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ค าชี้แจง ผู้สอนสังเกตการท างานของผู้เรียน โดยท าเครื่องหมายถูกลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง พฤติกรรม ความสนใจ ในการเรียน การมีส่วน ร่วมแสดง ความคิด เห็นในการ อภิปราย การรับฟัง ความคิด เห็นของ ผู้อื่น การตอบ ค าถาม ความรับผิด ชอบต่อ งานที่ได้รับ มอบหมาย รวม คะแนน ชื่อ-สกุล ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๑๐ เกณฑ์การประเมิน ให้คะแนน ๐-๔ ถ้าการท างานนั้นอยู่ในระดับต้องปรับปรุง ให้คะแนน ๕-๗ ถ้าการท างานนั้นอยู่ในระดับพอใช้ ให้คะแนน ๘-๑๐ ถ้าการท างานนั้นอยู่ในระดับดี ลงชื่อ…………………………………………………… (นางสาวฐิญาดา โภชนุกูล) ผู้ประเมิน


แบบประเมินพฤติกรรมการท างานกลุ่ม กลุ่ม .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม ๑. ...................................................................... ๒. ...................................................................... ๓. ...................................................................... ๔. ...................................................................... ๕. ...................................................................... ๖. ...................................................................... ค าชี้แจง: ให้นักเรียนท าเครื่องหมาย ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ๒. มีความกระตือรือร้นในการท างาน ๓. รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ๔. มีขั้นตอนในการท างานอย่างเป็นระบบ ๕. ใช้เวลาในการท างานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ท าเป็นประจ า ให้ ๓ คะแนน พฤติกรรมที่ท าเป็นบางครั้ง ให้ ๒ คะแนน พฤติกรรมที่ท าน้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๓-๑๕ ดี ๘-๑๒ ปานกลาง ๕-๗ ปรับปรุง


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ด้าน ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่อง ที่ตรงกับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน ตัวชี้วัด / พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคุณภาพ ๓ ๒ ๑ ๐ ๑.รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑.๑ มีความรักและความภูมิใจในความเป็นชาติ ๑.๒ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ๑.๓ แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๒.๑ ประพฤติตามระเบียบการสอนและไม่ลอกการบ้าน ๒.๒ ประพฤติปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง ๒.๓ ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อผู้อื่น ๓. มีวินัย ๓.๑ เข้าเรียนตรงเวลา ๓.๒ แต่งกายเรียบร้อยและเหมาะสมกับกาลเทศะ ๓.๓ ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้ที่ได้อย่างมีเหตุผล ๔.๓ สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล ๕. เป็นอยู่พอเพียง ๕.๑ ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด ๕.๒ ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า ๕.๓ ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน ๖.มุ่งมั่นในการท างาน ๖.๑ มีความตั้งใจและพยายามท างานที่ได้รับมอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไม่ท้อต่ออุปสรรคเพื่อให้งานส าเร็จ ๗. รักความเป็นไทย ๗.๑ มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ๗.๒ เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๘.๑ รู้จักการให้เพื่อส่วนรวมและเพื่อผู้อื่น ๘.๒ แสดงออกถึงการมีน้ าใจหรือการให้ความช่วยเหลือผู้อื่น ๘.๓ เข้าร่วมกิจกรรมบ าเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมเมื่อมีโอกาส ลงชื่อ……………………………………………………………. ผู้ประเมิน ............../............../................ เกณฑ์การให้คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ าเสมอ ให้ ๓ คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน - พฤติกรรมที่ไม่ปรากฏ ให้ ๐ คะแนน


Click to View FlipBook Version