คู่มือ / แนวปฏิบัติ
การบริหารจัดการสถานการณ์โรค COVID-19
หรือโรคอุบัติใหม่ในพื้นที่ชายแดน
โครงการวิจัย การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID -19
ในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย
โดย ศูนย์ความเป็นเลิศการวิจัยสุขภาพชนชาติพันธุ์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
บ ท นำ
ก
ส า ร บั ญ
ข
ข้อเสนอแนะสำหรับแนวทางปฏิบัติ
หน่วยงานด้านสาธารณสุข
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ระบบบริหารจัดการ
จัดตั้งหอผู้ป่วยติดเชื้อ แยกกักผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่จะมีอาการรุนแรงในสถานที่ต่างๆใน
ชุมชน (เช่น สนามกีฬา โรงยิม โรงแรม) ที่สามารถขอรับคำแนะนำทางแพทย์ได้อย่างรวดเร็ว
การกักตัวเองที่บ้าน และส่งผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลอย่างรวดเร็วเมื่อมีอาการแทรกซ้อน
จัดอบรมเกี่ยวกับแผนรับมือและแนวปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ในระดับจังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น
และชุมชน
กำหนดกลไกการกำกับดูแลอย่างไม่ซับซ้อน
ดำเนินการเก็บรวมรวมข้อมูลและทำการประเมินผลการดำเนินการอย่างเป็นระบบ
พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS)
ควบคุม กำกับให้การดำเนินงานเกี่ยวกับบริการสุขภาพหลักที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ดำเนินงาน
อย่างต่อเนื่อง
จัดทำประกาศหรือคำสั่งแจ้งเวียนหน่วยงาน
จัดทำยุทธศาสตร์และแนวทางการปฏิบัติเพื่อควบคุมโรค
จำกัดและป้องกันการแพร่ระบาด
จัดทำแนวทางปฏิบัติในกรณีพบผู้ติดเชื้อ เพื่อสอบสวนโรคสำหรับหน่วยงาน
กำหนดแผนในการเตรียมในกรณีที่เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้าง และจัดลำดับความสำคัญ
ภารกิจจำเป็นต้องดำเนินการ
ติดตามและประเมินสถานการณ์การระบาดชายแดนอย่างใกล้ชิด
ประเมินผลและธรรมาภิบาล
ติดตามการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์การควบคุมโรคของจังหวัดและกระทรวงสาธารณสุข
ติดตามและประเมินสถานการณ์การระบาดบริเวณชายแดนอย่างใกล้ชิดพร้อมรายงานผลต่อกรมควบคุมโรค
ควบคุมกำกับให้การดำเนินงานบริการสุขภาพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ชายแดนดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดชะงัก
ปฏิบัติหน้าที่การทำงานควบคุมโรคกับประชาชนอย่างทั่วถึง ไม่ตีตราและเลือกปฏิบัติ
ให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกระจายหน้าที่การทำงานของเจ้าหน้าที่ให้ทั่วถึงและมีการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม
ในการแสดงความคิดเห็นในการทำงานอย่างอิสระ
1
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ต่อ) ระบบข้อมูลข่าวสาร
กำลังคน กำหนดช่องทางในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
ประชาสัมพันธ์สถิติการแพร่ระบาดของโรคเป็นรายวัน
กระจายกำลังเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานควบคุม (จำนวนผู้ป่วย และผู้เสียชีวิต พร้อมไทม์ไลน์) พร้อม
ป้องกัน และรักษาโรค ประสานงานขอกำลังเจ้าหน้าที่ กระจายข่าวสารไปยังหน่วยงานระดับอำเภอและชุมชน
จากหน่วยงานอื่ นภายในจังหวัด จัดช่องทางการประสานงานเกี่ยวกับโรคโควิด-19
จัดกิจกรรมการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้เชิงทฤษฎีและ ภายในหน่วยงานให้ติดต่อกันอย่างรวดเร็วและทัน
ทักษะเชิงปฏิบัติการในการรับมือโรคระบาด เหตุการณ์มากที่สุด
จัดการประเมินสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเจ้าหน้าที่
จัดสรรวัคซีนให้แก่เจ้าหน้าที่ให้ได้ฉีดครบ 4 เข็ม ตามที่ วัสดุอุปกรณ์
กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
เสริมสร้างความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่แก่บุคลากร เพิ่มปริมาณเวชภัณฑ์ในสต็อกที่มีระเบียบการใช้ที่
กำหนดแผนการปฏิบัติงานของบุคลากรในช่วงการ กำหนดไว้อย่างละเอียด
ระบาด พร้อมซักซ้อมการปฏิบัติงานโดยการใช้ จัดสรรอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ที่ขาดแคลนให้ครบถ้วน
เทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงานที่บ้าน ต่อบุคลากรในหน่วยงานและปรับการใช้
ดำเนินงานตามแผนจัดการในภาวะฉุกเฉิน
งบประมาณและค่าใช้จ่าย ตรวจเช็คอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ให้มีความพร้อมและ
เพียงพอสำหรับการใช้งานอยู่เสมอ
จัดสรรงบประมาณที่ดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรค จัดทำแผน สรรหา สำรองวัสดุเวชภัณฑ์การแพทย์
โควิด-19 ในจังหวัด (เป็นค่าอุปกรณ์ เวชภัณฑ์ และค่า อุปกรณ์การแพทย์ เสบียง อุปกรณ์ยังชีพ และยาน
เสี่ยงภัย) พาหนะ
กระจายงบประมาณไปยังระดับอำเภอและชุมชน จัดทำแผนกระจาย ดูแลกำกับ และจัดส่งเวชภัณฑ์
ทางการแพทย์ เสบียง อุปกรณ์ยังชีพ และยานพาหนะ
จัดทำแผนสรรหา จัดตั้งสถานที่และสิ่งอำนวยความ
สะดวกสำหรับทีมปฏิบัติการและศูนย์พักพิงสำหรับ
ผู้ประสบภัย
2
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
ระบบบริหารจัดการ
จัดเตรียมพื้นที่รักษาพยาบาลเฉพาะสำหรับผู้ป่วยในพื้นที่ เช่น สนามกีฬา โรงยิม
ที่สามารถขอรับบริการทางการแพทย์ได้อย่างรวดเร็ว
เพิ่มพื้นที่รักษาพยาบาลและพื้นที่สำหรับกักตัว เพื่อเพิ่มอัตราการรองรับผู้ป่วย
จัดการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่อำเภอที่รับผิดชอบ
ใช้แนวปฏิบัติฉุกเฉินสำหรับเจ้าหน้าที่ในสังกัดหน่วยงาน
ประสานงานความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่และประชาชนในเขตอำเภอ สำหรับการ
จัดมาตรการควบคุมและป้องกันโรค
วางแผนการสอบสวน ควบคุม เฝ้าระวัง และส่งต่อผู้ป่วยโควิด-19 ภายในอำเภอ
จัดการซักซ้อมแผนงานเผื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน
กำลังคน วัสดุอุปกรณ์
กระจายกำลังเจ้าหน้าที่จากการจัดสรรของหน่วยงาน จัดซื้อและกระจายอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
สาธารณสุขจังหวัดให้ทั่วถึง ให้เพียงพอ เพื่อป้องกันภาวะขาดแคลนในกรณี
อบรมเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะเชิงปฏิบัติการในการรับมือ ฉุกเฉิน และวางแผนปรับการใช้งาน
โรคระบาด พร้อมสร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงาน ตรวจเช็คอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ให้พร้อมใช้งานอยู่
จัดการประเมินสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเจ้าหน้าที่ เสมอ
จัดสรรวัคซีนให้แก่เจ้าหน้าที่ให้ได้ฉีดครบจำนวนเข็มตามที่ กระจายวัสดุอุปกรณ์ให้รพ.สต.และเจ้าหน้าที่ฝ่าย
กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ปกครองในชุมชน
งบประมาณและค่าใช้จ่าย ประเมินผลและธรรมาภิบาล
จัดสรรงบประมาณที่ได้รับจากสสจ.เพื่อใช้ในการจัดการ ติดตามการทำงานให้บรรลุจุดประสงค์การควบคุมโรค
โรคโควิด-19 ในชายแดน ของจังหวัด
กระจายงบประมาณไปยังชุมชน ติดตามและประเมินสถานการณ์การระบาดชายแดน
อย่างใกล้ชิด
ระบบข้อมูลข่าวสาร ให้หัวหน้าสาธารณสุขอำเภอและผู้ช่วยฯกระจายงานให้
กับเจ้าหน้าที่ อย่างเป็นธรรม รวมทั้งร่วมกันประเมินการ
ประชาสัมพันธ์สถิติการแพร่ระบาดของโรคเป็นรายวัน ทำงานอย่างเคร่งครัดและสม่ำเสมอ
โดยรับข้อมูลจากทางรพ.สต.และเผยแพร่ต่อประชาชน มีการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความ
ผ่านทางโซเชียลมีเดียต่างๆ คิดเห็นอย่างอิสระ
อัพเดตอาการ การเกิดสายพันธุ์ใหม่ของโรค และการ รายงานผลการระบาดต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ป้องกันตนเองแก่ประชาชนในเขตพื้นที่ ควบคุมบริการหลักทางด้านสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะ
จัดช่องทางการประสานงานเกี่ยวกับโรคโควิด-19 กับบริบทของพื้นที่ชายแดนให้คงอยู่
ภายในหน่วยงานให้ติดต่อกันอย่างรวดเร็วและทัน
เหตุการณ์มากที่สุด 3
โรงพยาบาลศูนย์ประจำจังหวัด
มาตรการของโรงพยาบาล
ใช้ระเบียบการคัดกรองและคัดแยกผู้ป่วยด้วยอาการ PUI ณ ทุกจุดรับผู้ป่วย
เปลี่ยนแผนการให้บริการ พิจารณาลดการรักษาที่ผู้ป่วยเลือกได้แต่ไม่เร่งด่วน
ใช้นโยบายจำกัดผู้มาเยี่ยม
เพิ่มเตียงผู้ป่วยโควิด-19 เพิ่มขึ้น 3-5 เท่า หรือหากมีการระบาดหนักขึ้น ขยายเพิ่มเป็น 5-8 เท่า
กำหนดรถส่งตัวและรถพยาบาลเฉพาะกิจสำหรับผู้ป่วยยืนยันและสงสัยติดเชื้อโควิด-19
ควบคุมให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามมาตรการระหว่างการรับและส่งผู้ป่วยและดูแลให้มีการฆ่าเชื้อในยานพาหนะ
อย่างถูกต้อง
จัดประชุมชี้แจงมาตรการและบทบาทหน้าที่บุคลากรเพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน
-จัดตั้งหอผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 ภายในโรงพยาบาลโดยเฉพาะ
-ประสานความร่วมมือกับศูนย์ผู้ป่วยในชุมชนชายแดน กรณีผู้ป่วยบางรายต้องการไปรักษาต่อในชุมชน
งบประมาณและค่าใช้จ่าย
จัดสรรงบประมาณที่ดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคโควิด-19 โดยเฉพาะ
วัสดุอุปกรณ์
เตรียมอุปกรณ์และเวชภัณฑ์สำหรับการรักษาผู้ป่วยและอุปกรณ์ป้องกันของเจ้าหน้าที่
ให้เพียงพอและพร้อมใช้งานมากที่สุด
เตรียมห้องปฏิบัติงานให้เพียงพอ เช่น ห้องแยกผู้ป่วยติดเชื้อ ฯลฯ
กระจายอุปกรณ์ให้แก่โรงพยาบาลชุมชน ในกรณีที่เกิดการขาดแคลน
ระบบข้อมูลข่าวสาร
สื่อสารรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่กำหนดสำหรับ
การรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ไปยังทุกจุดบริการภายใน
โรงพยาบาล เพื่อให้ดำเนินการ
คัดกรองและแยกผู้ป่วยตามความเหมาะสม
รับข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข พร้อมมีฝ่ายคัด
กรองข้อมูลข่าวสารก่อนทำการเผยแพร่สู่ผู้มารับ
บริการ โดยนำเสนอแต่ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์
และไม่เผยแพร่ข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ
จัดช่องทางการประสานงานเกี่ยวกับโรคโควิด-19
ภายในหน่วยงานให้ติดต่อกันอย่างรวดเร็วและทัน
เหตุการณ์มากที่สุด
4
โรงพยาบาลศูนย์ประจำจังหวัด (ต่อ)
กำลังคน
กำหนดให้มีเจ้าหน้าที่คอยให้ความรู้และสื่อสารกับประชาชนผู้มารับบริการที่โรงพยาบาล
กระจายเจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลในการปฏิบัติงาน ปรับให้มีการสลับหน้าที่ที่สามารถ
ทดแทนกันได้ หรือขอกำลังเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลอื่น
คำนึงถึงอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่
จัดกิจกรรมการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ เพิ่มศักยภาพเชิงปฏิบัติการ
และทักษะในการดูแล และป้องกันตนเองจากโรคอุบัติใหม่แก่เจ้าหน้าที่
จัดการประเมินสุขภาพทางกายและสุขภาพจิตสำหรับเจ้าหน้าที่
จัดสรรวัคซีนให้แก่เจ้าหน้าที่ให้ได้ฉีดครบจำนวนเข็มตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ใช้มาตรการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ เพื่อป้องกันเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และ
ควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ประเมินผลและธรรมาภิบาล
ติดตามการทำงานให้บรรลุจุดประสงค์การควบคุมโรคของจังหวัด
ติดตามและประเมินสถานการณ์การระบาดชายแดนอย่างใกล้ชิด
มีการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ รายงาน
ความคืบหน้าในการทำงานจากสถานการณ์ที่พบเจอโดยแท้จริงตามที่ได้รับมอบหมาย
และนำปัญหามาร่วมพิจารณาหาทางออกร่วมกัน เพื่อให้ได้ระบบการควบคุมโรคที่ดี
และเหมาะสมกับโรงพยาบาลมากที่สุด
ประเมินระบบการเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในสภาวะฉุกเฉิน
ควบคุมบริการหลักทางด้านสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะกับบริบทของพื้นที่ชายแดนให้
คงอยู่
5
โรงพยาบาลชุมชน ระบบข้อมูลข่าวสาร
สื่อสารรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่กำหนดสำหรับการรักษา
ผู้ป่วยโควิด-19 ไปยังทุกจุดบริการภายในโรงพยาบาล เพื่อ
ให้ดำเนินการคัดกรองและแยกผู้ป่วยตามความเหมาะสม
รับข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข พร้อมมีฝ่ายคัดกรอง
ข้อมูลข่าวสารก่อนทำการเผยแพร่สู่ผู้มารับบริการ โดย
นำเสนอแต่ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์และไม่เผยแพร่ข้อมูลที่
ไม่น่าเชื่อถือ
จัดให้มีเจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่สื่อสารกับผู้มารับบริการ และทำสื่อ
ให้ความรู้ เพิ่มความตระหนัก
จัดช่องทางการประสานงานเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ภายใน
หน่วยงานให้ติดต่อกันอย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์มากที่สุด
มาตรการของโรงพยาบาล
-ช้ระเบียบการคัดกรองและคัดแยกผู้ป่วยด้วยอาการ PUI ณ ทุกจุดรับผู้ป่วย
เปลี่ยนแพลตฟอร์มการให้บริการ พิจารณาลดการรักษาที่ผู้ป่วยเลือกได้แต่ไม่เร่งด่วนรวมทั้งการผ่าตัด
ใช้นโยบายจำกัดผู้มาเยี่ยม
ปรับเปลี่ยนตึกผู้ป่วยเพื่อรองรับผู้ป่วยหนัก ขยายพื้นที่รักษาผู้ป่วยโควิด-19 เพิ่มขึ้น 2 เท่า
กำหนดรถส่งตัวและรถพยาบาลเฉพาะกิจสำหรับผู้ป่วยยืนยันและสงสัยติดเชื้อโควิด-19
ควบคุมให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามมาตรการระหว่างการรับและส่งผู้ป่วยและดูแลให้มีการฆ่าเชื้อในยานพาหนะอย่างถูกต้อง
จัดระบบการส่งตัวกรณีมีผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงไปยังโรงพยาบาลศูนย์
จัดตั้งหอผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 โดยเฉพาะ
จัดเตรียมเจ้าหน้าที่สำหรับหมุนเวียนไปดูแลผู้ป่วยในหอผู้ป่วย
ประสานความร่วมมือกับโรงพยาบาลศูนย์ และศูนย์ผู้ป่วยชุมชนชายแดน กรณีผู้ป่วยบางรายต้องการไปรักษาต่อใน
ชุมชน
พิจารณากำหนดให้มีการขยายการคัดกรองและกระบวนการส่งตัวที่เหมาะสม
เร่งค้นหาผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยอย่างละเอียดและต่อเนื่อง
ระบบการเงินและงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์
จัดสรรงบประมาณในกรณีฉุกเฉิน เตรียมอุปกรณ์และเวชภัณฑ์สำหรับการรักษาผู้ป่วย ให้เพียง
หรือกรณีการเกิดโรคระบาดไว้ พอและพร้อมใช้งานมากที่สุด
โดยเฉพาะสำหรับโรงพยาบาล เตรียมอุปกรณ์สำหรับปฏิบัติงานของบุคลากรให้เพียงพอ
และพร้อมใช้งานมากที่สุด
6 เตรียมห้องปฏิบัติงานให้เพียงพอ เช่น ห้องแยกผู้ป่วยติด
เชื้อ ฯลฯ
กระจายยารักษาโรคให้แก่รพ.สต.
โรงพยาบาลชุมชน
(ต่อ)
กำลังคน ประเมินผล
และธรรรมาภิบาล
กระจายเจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลในการปฏิบัติ
งาน ปรับให้มีการสลับหน้าที่ที่สามารถทดแทนกันได้ ติดตามการทำงานให้บรรลุจุดประสงค์การควบคุม
หรือขอกำลังเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลอื่ น โรคของจังหวัด
คำนึงถึงอาชีวอนามัยความปลอดภัยและความ ติดตามและประเมินสถานการณ์การระบาดชายแดน
มั่นคงของเจ้าหน้าที่ อย่างใกล้ชิด
จัดกิจกรรมการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ เพิ่มศักยภาพ มีการเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดง
เชิงปฏิบัติการ ความคิดเห็นอย่างอิสระ รายงานความคืบหน้าใน
และทักษะในการดูแล และป้องกันตนเองจากโรค การทำงานจากสถานการณ์ที่พบเจอโดยแท้จริงตาม
อุบัติใหม่ พร้อมสร้างความมั่นใจแก่เจ้าหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายและนำปัญหามาร่วมพิจารณาหา
จัดการประเมินสุขภาพทางกายและสุขภาพจิต ทางออกร่วมกัน เพื่อให้ได้ระบบการควบคุมโรคที่ดี
สำหรับเจ้าหน้าที่ และ เหมาะสมกับโรงพยาบาลมากที่สุด
ใช้มาตรการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ประเมินระบบการเข้าเยี่ยมผู้ป่วยในสภาวะการเกิด
เพื่อป้องกันเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และควบคุม โรคระบาด
การติดเชื้อในโรงพยาบาล ควบคุมบริการหลักทางด้านสุขภาพที่จำเป็นและ
จัดสรรวัคซีนให้แก่เจ้าหน้าที่ให้ได้ฉีดครบจำนวนเข็ม เหมาะกับบริบทของพื้นที่ชายแดนให้คงอยู่
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ปฏิบัติหน้าที่การทำงานควบคุมโรคกับประชาชน
อย่างทั่วถึง ไม่ตีตราและเลือกปฏิบัติ
7
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
มาตรการประจำ รพสต.
ใช้ระเบียบการคัดกรองและคัดแยกผู้ป่วยที่มารับบริการโดยการสังเกตผู้ที่มี
อาการของโรคตามที่ประกาศกระทรวงฯตั้งแต่ทางเข้ารพ.สต.
พิจารณาลดการรักษาผู้ป่วยที่ไม่ได้มีอาการรุนแรงมาก และแนะนำให้เดินทาง
ไปรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนหรือโรงพยาบาลศูนย์ (ตามที่ผู้ป่วยสะดวก)
กำหนดรถพยาบาลฉุกเฉินเฉพาะกิจสำหรับส่งตัวผู้ที่สงสัยติดเชื้อโควิด-19
เพื่อพิจารณานำไปส่งตรวจ PCR ที่โรงพยาบาล
ควบคุมให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามมาตรการระหว่างการรับและส่งผู้ป่วยและดูแล
ให้มีการฆ่าเชื้อในยานพาหนะอย่างถูกต้อง
จัดประชุมชี้แจงมาตรการและบทบาทหน้าที่บุคลากร เพื่อรับมือกับ
สถานการณ์ฉุกเฉิน
จัดประชุมเพื่อหามาตรการการควบคุมป้องกันโรคร่วมกับผู้นำชุมชน
จัดหาแหล่งกักตัวและรักษาผู้ป่วยภายในชุมชน
มาตรการในชุมชน 8
ประสานงานกับฝ่ายปกครองและผู้นำชุมชนเพื่อจัดตั้งสถานที่รองรับผู้ป่วย
ติดเชื้อโควิด-19 โดยเฉพาะ เช่น หอประชุมหมู่บ้าน ศาลา-อเนกประสงค์ประจำ
หมู่บ้าน
จัดเตรียมเจ้าหน้าที่สำหรับหมุนเวียนไปดูแลผู้ป่วย
ประสานความร่วมมือกับโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลชุมชน กรณีการรับ
ผู้ป่วยบางรายที่ต้องการมารักษาที่ชุมชน
พิจารณากำหนดให้มีการขยายการคัดกรองโรคตามบริบทของชุมชนหรือตาม
ที่ร่วมกันกำหนดในชุมชน
เร่งค้นหาผู้สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยอย่างละเอียดและต่อเนื่อง
ใช้มาตรการคัดกรองผู้มีอาการตามมาตรการของชุมชน เพื่อค้นหาผู้ป่วย
เพิ่มเติม
ควบคุมการเดินทางของประเทศเพื่อนบ้าน ปิดการเข้า-ออกตามด่านชายแดน
ระบบข้อมูลข่าวสาร/การประชาสัมพันธ์
สื่อสารรายละเอียดเกี่ยวกับโรค และมาตรการในการดูแลป้องกันอย่างเข้าใจง่ายที่สุดแก่ผู้นำชุมชน
รับข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข พร้อมมีฝ่ายคัดกรองข้อมูลข่าวสารก่อนทำการเผยแพร่สู่ชุมชน
โดยนำเสนอแต่ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์และไม่เผยแพร่ข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ
สร้างความมั่นใจที่ดีแก่ชาวบ้าน ไม่ให้ชาวบ้านรู้สึกถึงความน่ากลัวหรือเกิดความวิตกกังวล
จัดช่องทางการประสานงานเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ภายในหน่วยงานให้ติดต่อกันอย่างรวดเร็วและทัน
เหตุการณ์มากที่สุด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (ต่อ) อุปกรณ์และเวชภัณฑ์
การเงินและงบประมาณ เตรียมอุปกรณ์และเวชภัณฑ์สำหรับการรักษาผู้ป่วย
ให้เพียงพอและพร้อมใช้งานมากที่สุด
จัดสรรงบประมาณสำหรับโรคระบาดไว้โดยเฉพาะ เตรียมอุปกรณ์สำหรับปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
และเผื่อกรณีฉุกเฉิน ให้เพียงพอและพร้อมใช้งานมากที่สุด
เตรียมห้องปฏิบัติงานพิเศษในรพสต.สำหรับปฏิบัติ
กำลังคน การงานควบคุมโรคระบาด
จัดสรรจำนวนเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อการดำเนิน เช่น
ตำบลที่มีการแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง ขอกำลังเจ้าหน้าที่
จากตำบลอื่ นที่มีการระบาดน้อยกว่า
คำนึงถึงอาชีวอนามัยความปลอดภัยและความมั่นคง
ของเจ้าหน้าที่
จัดกิจกรรมการอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ เพิ่มศักยภาพ
เชิงปฏิบัติการและทักษะในการดูแล และป้องกันตนเอง
จากโรคอุบัติใหม่แก่เจ้าหน้าที่
ใช้มาตรการป้องกันและควบคุมโรคที่ร่วมกันกำหนดแก่
เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
จัดการประเมินสุขภาพทางกายและสุขภาพจิตสำหรับ
บุคลากร
จัดสรรวัคซีนให้แก่เจ้าหน้าที่ให้ได้ฉีดครบจำนวนเข็ม
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
ประเมินผลและธรรมภิบาล
ติดตามการทำงานให้เป็นไปตามมาตรการและจุดประสงค์ของชุมชน
ติดตามสถานการณ์การระบาดชายแดนอย่างใกล้ชิด
ประเมินระบบการทำงานควบคุมป้องกันโรคโควิด-19 ของชุมชนอย่างเคร่งครัด
รายงานผลการระบาดต่อสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
ติดตามผู้ป่วยที่รักษาในชุมชนให้หายป่วย และรายงานผล
ปรับการดูแลงานให้เข้ากับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงภายในพื้นที่
ติดตามผู้ป่วยชาวต่างด้าวที่เข้ามาอาศัยอยู่ในชุมชน
9
หน่วยงานด้านปกครอง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรการประจำชุมชน
เตรียมพร้อมสำหรับการระบาด ใช้แนวปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ในองค์กรที่อ้างอิง
จากทางสสอ.หรือรพ.สต. โดยร่วมประชุมกับผู้นำและกรรมการชุมชน รวมถึง
ตัวแทนประชาชน ปรับเปลี่ยนการปฏิบัติต่างๆให้เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
และชี้แจงเจ้าหน้าที่ให้รับทราบบทบาทหน้าที่
ประสานความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่และประชาชนในพื้นที่
สนับสนุนการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในพื้นที่ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ประสานงานการจัดตั้งหอผู้ป่วยร่วมกับหน่วยงานด้านสาธารณสุข
อำนวยความสะดวกในการเตรียมพื้นที่รักษาพยาบาลเฉพาะสำหรับผู้ป่วยในพื้นที่ เช่น
สนามกีฬา โรงยิม รวมถึงพื้นที่สำหรับกักตัว
การเงินและงบประมาณ
จัดสรรเงินกรณีการเกิดโรคระบาดภายในหน่วยงาน (เป็นค่าอุปกรณ์ป้องกันโรค
อุปกรณ์ตั้งเต็นท์คัดกรองผู้ป่วย ค่าเสี่ยงภัยของเจ้าหน้าที่ ฯลฯ)
วัสดุอุปกรณ์
ดำเนินการจัดซื้อและกระจายอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลที่ได้รับจัดสรรจากหน่วยงาน
ด้านสาธารณสุขให้ครบถ้วนต่อบุคลากรในหน่วยงาน เช่น หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ
แอลกอฮอล์ เครื่องวัดอุณหภูมิ ฯลฯ
ตรวจเช็คอุปกรณ์ให้มีความเพียงพอและพร้อมใช้งานมากที่สุด
กระจายอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ป้องกันโรคแก่เหล่าผู้นำหมู่บ้านและอสม.
กำลังคน
กระจายเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน ขอกำลังเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานอปท.ตำบลหรือ
อำเภออื่ นๆ
ประสานงานกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขเพื่อเตรียมมาตรการป้องกัน
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สร้างความมั่นคงแก่เจ้าหน้าที่ และการประเมินสุขภาพ
กายสุขภาพจิต
ประสานงานกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขเพื่อจัดอบรมเชิงความรู้ และเชิงปฏิบัติการ
เบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่หน่วยงาน รวมถึงการนำไปเผยแพร่ต่อแก่ประชาชน
จัดสรรวัคซีนให้แก่เจ้าหน้าที่
การประสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ประเมินผลและธรรมาภิบาล
กระจายเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงาน กำหนดให้ผู้บริหารอปท.ได้กระจายงานให้กับเจ้าหน้าที่
ประสานงานกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขเพื่อเตรียม
มาตรการป้องกัน ในหน่วยงานอย่างเป็นธรรม รวมทั้งประเมินผลการ
สร้างความมั่นคงแก่เจ้าหน้าที่และจัดการประเมินสุขภาพ
กายสุขภาพจิต ทำงานอย่างเคร่งครัด
ประสานงานกับหน่วยงานด้านสาธารณสุขเพื่อจัดอบรม
เชิงความรู้ และเชิงปฏิบัติการเบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่หน่วย ติดตามการระบาดในพื้นที่อย่างใกล้ชิด เพื่อแจ้ง
งาน รวมถึงการนำไปเผยแพร่ต่อแก่ประชาชน
จัดสรรวัคซีนให้แก่เจ้าหน้าที่ สถานการณ์ของโรคแก่หน่วยงานสาธารณสุข
สร้างความมั่นใจในการควบคุมดูแลป้องกันโรคของ
หน่วยงานด้านสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพให้แก่เจ้าหน้าที่
และประชาชน 10
ผู้นำและอาสาสมัครสาธารณสุข
กำนัน/ ผู้ใหญ่บ้าน
และคณะกรรมการหมู่บ้าน
การเงินและงบประมาณ
มาตรการประจำชุมชน จัดสรรงบประมาณที่ได้รับจากหน่วยงาน
ต่างๆของรัฐทั้งฝ่ายปกครองและฝ่าย
จัดการประชุมแผนการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโควิด-19 ร่วมกับ สาธารณสุข เพื่อใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน
เจ้าหน้าที่รพ.สต. ของชุมชน
จัดวางมาตรการการเฉพาะปฏิบัติภายในชุมชนร่วมกับอสม. ระดมทุนหางบประมาณเป็นค่าวัสดุอุปกรณ์
หลังได้รับมอบหมายจากรพสต. เช่น การเปิดร้านค้า ตลาด ค่าอาหารและเครื่องดื่ม และค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ประสานงานฝ่ายปกครองและสาธารณสุขกับประชาชน ในการดำเนินงานป้องกันโรค
มอบหมายงานแก่อสม.และอปพร. กระจายกำลังผู้ปฏิบัติ
งานให้มีความเหมาะสมกับจำนวนประชากร วัสดุอุปกรณ์
อำนวยความสะดวกในการช่วยเตรียมพื้นที่รักษาพยาบาล
และพื้นที่กักตัวเฉพาะสำหรับผู้ป่วย จัดสรรอุปกรณ์ที่ได้รับจากฝ่ายสาธารณสุขและ
อำนวยความสะดวกในการจัดกำลังคณะกรรมการหมู่บ้าน ฝ่ายปกครองเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานให้
เพื่อติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่รพ.สต.หรือสสอ. เพียงพอและมีความพร้อมสำหรับการใช้งาน เช่น
อำนวยความสะดวกในการช่วยจัดซุ้มหรือสถานที่ในการคัด เต็นท์ โต๊ะ ฯลฯ เพื่อตั้งด่านคัดกรองโรค
กรองโรคจากผู้ที่เดินทางมาจากพื้ นที่อื่ นนอกหมู่บ้าน เตรียมอุปกรณ์เพื่อป้องกันโรคให้กับผู้ปฏิบัติงาน
ในชุมชนให้ครบถ้วน เช่น เจลล้างมือแอลกอฮอล์
ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ หน้ากากอนามัย เครื่องวัดอุณหภูมิ ฯลฯ
ตรวจเช็คอุปกรณ์ให้ความพร้อมต่อการใช้งาน
รับข่าวสารความรู้โรคระบาดและการป้องกันตัวจาก มากที่สุด
รพสต.นำไปส่งต่อแก่ประชาชน โดยมีฝ่ายคัดกรองข้อมูล
ข่าวสารก่อนทำการเผยแพร่และหมั่นอัพเดตอาการหรือ กำลังคน
ข้อมูลเกี่ยวกับสายพันธุ์ใหม่ของโรคอย่างสม่ำเสมอ
รายงานข่าวสารของโรคผ่านหอประชุมกระจายข่าวก่อนการ กระจายหน้าที่งานให้กับคณะกรรมการในหมู่บ้าน
ประกาศข่าวสารอื่ นๆให้ประชาชนในหมู่บ้านรับรู้อย่างทั่วถึง อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว พร้อมระบุหน้าที่
จัดให้ประชาชนสามารถเข้ามาขอคำปรึกษาหรือความรู้ด้าน ความรับผิดชอบให้ชัดเจน
สุขภาพเบื้องต้น โดยเลือกบุคลากรที่มีความแม่นยำและมี ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ทางสาธารณสุขเพื่อ
ทัศนคติที่เป็นกลางต่อโรคระบาด จัดอบรมเชิงความรู้และเชิงปฏิบัติการแก่ทั้งทาง
จัดการติดต่อสื่อสารประสานงานกันระหว่างผู้นำฯและคณะ ผู้นำและคณะกรรมการหมู่บ้าน
กรรมการหมู่บ้านผ่านช่องทางที่สะดวกรวดเร็ว จัดสรรวัคซีนให้แก่ผู้นำฯและคณะกรรมการ
หมู่บ้านอย่างครบถ้วนตามที่กระทรวง
สาธารณสุขกำหนด
ประเมินผลและธรรมาภิบาล
ติดตามผลการดำเนินงานการควบคุมและป้องกันโรค
มอบหมายให้ผู้นำชุมชนได้กระจายงานให้กับคณะกรรมการหมู่บ้านอย่างเป็นธรรม
ติดตามการระบาดในพื้นที่อย่างใกล้ชิด เพื่อลดความเสี่ยงต่อการกระจายของโรคและรายงานข้อมูล
แก่สาธารณสุขอำเภอหรือรพ.สต.
11 ปฏิบัติงานต่อประชาชนในชุมชนด้วยความเท่าเทียม ไม่ทำพฤติกรรมที่สร้างความรังเกียจหรือตีตราผู้อื่น
เป็นตัวอย่างการปฏิบัติตนรับมือการระบาดของโรคและสร้างความมั่นใจให้แก่ประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุข
ประเมินผลและธรรมาภิบาล
จัดตารางผู้เข้าเวรด่านคัดกรองโรคประจำหมู่บ้าน
เข้าร่วมประชุมวางแผนมาตรการการปฏิบัติภายในชุมชนร่วมกับเหล่าผู้นำ
ชุมชนและคณะกรรมการหมู่บ้าน หลังจากได้รับมอบหมายการปฏิบัติจาก
รพสต. เช่น การเปิดร้านค้า ตลาดสด ฯลฯ ว่าจะมีการเว้นระยะห่าง จัดการ
ป้องกันโรคแบบต่างๆ หรือจะสั่งปิดบางสถานที่ทันที
เป็นหนึ่งในผู้ประสานงานหลัก ระหว่างประชาชนกับเจ้าหน้าที่รพ.สต.
ติดตามผลการดำเนินงานควบคุมโรคจากทางรพ.สต.อยู่เสมอ
เป็นกำลังหลักในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์การระบาดเพื่อให้ประชาชน
ปฏิบัติตามได้
การเงินและงบประมาณ
ได้รับค่าตอบแทน/ค่าเสี่ยงภัยการปฏิบัติงานคัดกรองโรคโควิด-19
ได้รับเงินสำหรับซื้อวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อคัดกรองและป้องกันโรค กรณี
ฉุกเฉิน เช่น ขาดอุปกรณ์ที่ได้รับจัดสรรมาและต้องการซื้อเพิ่ม
ได้รับค่าคุ้มครองชีวิตหรือค่าเสี่ยงภัยจากการปฏิบัติหน้าที่
การประชาสัมพันธ์
จัดช่องทางการสื่อสารที่ทำให้ประชาชนรับรู้ได้สะดวกที่สุด โดยมีฝ่ายคัดกรองข้อมูลข่าวสาร
ที่ได้รับจากหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุขก่อนทำการเผยแพร่สู่ชุมชน
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรคในเบื้องต้นตามที่ได้เข้าร่วมประชุมหรืออบรมจากสาธารณสุขอำเภอ
หรือรพสต. เพื่อเผยแพร่ให้แก่ประชาชนทั่วไปได้อย่างถูกต้อง
จัดการติดต่อสื่อสารประสานงานกันภายในกลุ่มอสม.และประสานงานกับทางผู้นำฯหรือ
รพสต.ผ่านช่องทางที่สะดวกรวดเร็ว เช่น ไลน์กลุ่ม ผ่านทางโทรศัพท์ ฯลฯ
กำลังคน
เข้ารับการอบรมเชิงความรู้และเชิงปฏิบัติการจากเจ้าหน้าที่รพ.สต.ในการคัดกรองผู้ติดเชื้อ
ร่วมกันสร้างความมั่นใจในการปฏิบัติงานและการส่งต่อเผยแพร่สู่ชุมชน
เข้ารับการตรวจเช็คสุขภาพกายและสุขภาพจิตจากเจ้าหน้าที่รพ.สต.
เข้ารับการฉีดวัคซีนจากรพ.สต.หรือโรงพยาบาลชุมชนให้ครบจำนวนเข็ม
ตรวจเช็คร่างกาย หมั่นสังเกตตนเอง ตรวจหาเชื้อด้วยเครื่องมือ ATK เมื่อสัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย
และทำร่างกายให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ
จัดกำลังคนให้ความช่วยเหลือหน่วยงานด้านสาธารณสุขในหอผู้ป่วยของชุมชน
วัสดุอุปกรณ์
ได้รับจัดสรรอุปกรณ์ทางการแพทย์สำหรับการจัดด่านคัดกรองโรคและการลงพื้นที่ค้นหาผู้ป่วยที่มีมากเพียงพอ
และพร้อมที่สุดสำหรับการใช้งาน จากสาธารณสุขอำเภอหรือรพ.สต.
ได้รับจัดสรรอุปกรณ์สำหรับการปฏิบัติงานคัดกรองโรคจากหน่วยงานด้านปกครอง เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เต็นท์ ฯลฯ
12
การติดต่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย 053-910-300
ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ สสจ.เชียงราย 053-910-320-21
งานระบาดวิทยา สสจ.เชียงราย 053-910-343-4
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเวียงชัย 053-769-209
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเชียงของ 053-791-330
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเทิง 053-795-192, 053-795-514
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอพาน 053-721-458
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอป่าแดด 053-761-046, 053-654-355
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่จัน 053-771-876
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเชียงแสน 053-777-093
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่สาย 053-731-503, 053-733-603
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่สรวย 053-786-096
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเวียงป่าเป้า 053-781-312
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอพญาเม็งราย 053-799-078
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเวียงแก่น 053-608-173-4
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอขุนตาล 053-657-249
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่ฟ้าหลวง 053-767-152
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแม่ลาว 053-778-005
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเวียงเชียงรุ้ง 053-953-086
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอดอยหลวง 053-790-064
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 053-711-300
โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 053-914-000
โรงพยาบาลเทิง 053-795-259
โรงพยาบาลพาน 053-721-345-6
โรงพยาบาลป่าแดด 053-654-479-80
โรงพยาบาลแม่จัน 053-771-056
โรงพยาบาลเชียงแสน 053-777-035, 053-777-017
โรงพยาบาลแม่สาย 053-731-300-1
โรงพยาบาลแม่สรวย 053-786-017, 053-786-063
โรงพยาบาลเวียงป่าเป้า 053-781-342-3
โรงพยาบาลพญาเม็งราย 053-799-033
โรงพยาบาลเวียงแก่น 053-608-146, 053-608-153
โรงพยาบาลขุนตาล 053-606-221-2
โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง 053-730-357-8
โรงพยาบาลแม่ลาว 053-729-585
โรงพยาบาลเวียงเชียงรุ้ง 053-953-137-8
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเชียงของ 053-655-712-4
โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร 053-603-123
โรงพยาบาลดอยหลวง 053-790-056
โรงพยาบาลค่ายเม็งรายมหาราช 053-717650-51