The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่ม ID Plan ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jantip Jiandon, 2022-09-15 21:20:24

รูปเล่ม ID Plan ปีการศึกษา 2565

รูปเล่ม ID Plan ปีการศึกษา 2565

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

คำนำ
ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ สพฐ. ได้มุ่งเน้นให้ข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษาพัฒนาตนเองโดยยึดหลักการประเมินสมรรถนะ ( Competency-Based Approach)
ซึ่งจะทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถรู้จุดเด่น จุดด้อย และความสามารถในการปฏิบัติงานของตนเอง
ตลอดทั้งสามารถพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของหน่วยงานและของตนเอง
อย่างแท้จริง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านคลองเตย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๓ จึงมีการวางแผนการพัฒนาตนเองในการจัดห้องเรียนที่มีคุณภาพ
(Individual Development Plan: ID Plan) เพื่อเป็นการพัฒนาตนเองที่สนองต่อความต้องการและความ
สนใจของแต่ละบุคคล ซึ่งจะส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพ สามารถนามาใช้เป็น
เครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามแนวทาง
การพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ัลสาหรับขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ีสานกั งาน ก.ค.ศ. กาหนด

โรงเรียนบ้านคลองเตย

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

สำรบญั หน้ำ

คำนำ ข
สำรบญั ๑
ผลกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำย

๑. กำรจดั ทำแผนพัฒนำตนเองรำยบคุ คล (Individual Development Plan: ๑
ID Plan) ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๕

๒. กำรดำเนินงำนตำมนโยบำยกำรพัฒนำครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
๒.๑ จานวนและรอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ผ่านการพัฒนาครู ๒

ผ่านระบบ Digital Technology ๓
๒.๒ ครทู ่ีผา่ นการพัฒนาครู ผา่ นระบบ Digital Technology นาผลการพัฒนา

มาใชใ้ นการเรยี นการสอน ๖
๒.๓ ครทู ่ีผ่านการพฒั นาตามกระบวนการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC)

นาผลการพัฒนามาปรบั การเรียนการสอน
๒.๔ ครูที่ผ่านการพัฒนาตามหลักสูตรภาษาอังกฤษ นาผลการพัฒนา ๗

มาใชใ้ นการเรยี นการสอน ดงั น้ี ๑๐
๒.๕ หลักสูตรการพัฒนาครูท่ีเป็นจุดเน้นของโรงเรียน ๑๐
๑๐
๓. ควำมโดดเดน่ /จุดแขง็ /นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอยำ่ งที่ดีในกำรดำเนนิ งำน ๑๐
ตำมนโยบำย ๑๐

๓.๑ ความโดดเด่น จุดแข็ง นวัตกรรมในการดาเนินงานตามนโยบายมปี ระโยชน์
หรือเกิดผลดีตอ่ ผเู้ รียน

๓.๒ รายชอื่ หน่วยงาน/สถานศึกษาที่เป็นตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งที่ดี
ในการดาเนนิ งานตามนโยบาย

๔. ปัญหำอปุ สรรคในกำรดำเนินงำนตำมนโยบำย
๕. ข้อเสนอแนะ

๕.๑ ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นา
๕.๒ ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ
ภาคผนวก

แบบรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕



แบบรำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำยกำรพฒั นำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ

ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๖๕

โรงเรยี นบำ้ นคลองเตย

สงั กดั สำนักงำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำนครรำชสีมำ เขต ๓

*********************

ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ สพฐ. ได้มุ่งเน้นให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาพัฒนาตนเองโดยยึดหลักการประเมินสมรรถนะ (Competency-Based Approach) ซึ่งจะทาให้

ผู้ปฏิบัติงานสามารถรู้จุดเด่น จุดด้อย และความสามารถในการปฏิบัติงานของตนเอง ตลอดทั้งสามารถ

พัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการจ าเป็นของ หน่วยงานและของตนเองอย่างแท้จริง

ดังนั้น ครูจึงมีการวางแผนการพัฒนาตนเองในการจัดห้องเรียนที่มีคุณภาพ (Individual Development

Plan: ID Plan) เพ่อื เปน็ การพัฒนาตนเองท่สี นองต่อความต้องการและความสนใจของแต่ละบุคคล ซ่งึ จะส่งผล

ตอ่ สมรรถนะในการปฏิบัตหิ น้าท่ที ่ีมปี ระสิทธิภาพ สามารถนามาใช้เปน็ เคร่ืองมอื ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ใหแ้ กผ่ เู้ รียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพและเป็นไปตามแนวทางการพฒั นาทักษะดา้ นดิจิทัล สาหรับข้าราชการครู

และบุคลากรทางการศึกษาที่สานักงาน ก.ค.ศ. กาหนด

ผลกำรดำเนินงำนตำมนโยบำย

๑ . ก ำ ร จ ั ด ท ำ แ ผ น พ ั ฒ น ำ ต น เ อ ง ร ำ ย บ ุ ค ค ล ( Individual Development Plan: ID Plan)

ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๕

จานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ทั้งหมดในสถานศึกษา ๑๔ คน

จานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ทจ่ี ัดทาแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) ๑๒ คน

จานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ทไ่ี ม่จัดทาแผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) ๒ คน

(ระบุสาเหตุที่ไม่จัดทา) เพราะ จานวนครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ไม่จัดทาแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan)

ดารงตาแหนง่ นอกเหนอื จากหมายเหตุในเอกสารแนบทา้ ย โดยมคี วามหมาย ดังน้ี

ครู หมายถึง ข้าราชการครู พนักงานราชการ อตั ราจา้ ง ที่ปฏบิ ตั หิ น้าท่สี อน

บคุ ลากรทางการศกึ ษา หมายถึง บุคลากรทีป่ ฏบิ ตั ิงานในสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษา

ยกเวน้ ผบู้ รหิ ารและครู

๒. กำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำยกำรพัฒนำครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำ

๒.๑ จำนวนและร้อยละของครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำที่ผำ่ นกำรพัฒนำครู ผ่ำนระบบ Digital

Technology และการพัฒนาครูตามหลักสูตรภาษาอังกฤษ ได้น าผลการพัฒนามาใช้ในการเรียน

การสอน และครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ผ่านการอบรมพฒั นาตามกระบวนการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้

(PLC) ไดน้ าผลการพฒั นามาปรับการเรียนการสอน ดังนี้

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕



กำรพัฒนำครู ผ่ำนระบบ Digital กำรพัฒนำครู กำรพฒั นำครู

Technology ตำมกระบวนกำร PLC ตำมหลกั สตู รภำษำอังกฤษ

ครูทผี่ า่ น

ครทู ผี่ า่ นการ การพฒั นา ครทู ผ่ี า่ น
การพฒั นาครู
ครทู ี่ผา่ น พัฒนาครู ครูท่ผี ่าน ตาม ตามหลักสูตร
การพฒั นาครู ภาษาอังกฤษ
ผ่านระบบ ผ่านระบบ การพัฒนา กระบวนการ ครูท่ีผ่าน นำผลกำร
การพฒั นาครู พฒั นำมำใช้ใน
Digital Digital คดิ ตาม สร้างชมุ ชน คดิ ตามหลกั สตู ร คิด
Technology ภาษาอังกฤษ กำรเรียน เปน็
Technology เป็น กระบวนการ แหง่ การเรียนรู้ เป็น กำรสอน (คน) ร้อยละ
(คน) (คน)
นำผลกำร รอ้ ยละ สรา้ งชุมชน (PLC) รอ้ ยละ

พฒั นำมำใชใ้ น แห่งการเรยี นรู้ นำผลกำร

กำรเรียน (PLC) (คน) พฒั นำมำปรับ

กำรสอน (คน) กำรเรียน

กำรสอน (คน)

๑๑ ๑๑ ๑๐๐ ๑๑ ๑๑ ๑๐๐ ๔ ๔ ๑๐๐

๒.๒ ครูที่ผ่ำนกำรพัฒนำครู ผ่ำนระบบ Digital Technology น ำผลกำรพัฒนำมำใช้

ในกำรเรียนกำรสอน ดังนี้

ครูผู้สอนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลต่าง ๆ เป็นเครื่องมือสนับสนุน

การเรียนรู้โดยไม่มีข้อกาหนดว่าจะต้องใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอะไรและไม่มีข้อกาหนดว่าจะต้องใช้เทคโนโลยี

ดิจิทัลในทุกกิจกรรมการเรียนรู้แต่จะต้องใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของการจัดการเรียนรู้ เช่น ธรรมชาติ

ของผู้เรียน เนอ้ื หาสาระ ทรัพยากรท่ีมอี ยจู่ ริง โดยครูนามาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี

๑. สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้เรียน แนะนาให้ผู้เรียน

เห็นความสาคัญและคุณค่าที่แท้จริงของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ไม่ใช่เพื่อคว ามสนุกสนาน

เพลิดเพลิน

๒. เปิดพื้นที่ให้ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลตามความคิดของผู้เรียน

หากผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลไม่เหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์จึงช้ีแนะให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรูห้ ลักการเลือกใช้

เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทเ่ี หมาะสมและตอบสนองวัตถุประสงค์

๓. กระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาเครื่องมอื ดิจทิ ัลใหม่ ๆ ที่ตอบสนองความต้องการในการใช้งาน

ได้ดีกว่าเครื่องมือดจิ ิทัลแบบเดิม ๆ และผู้สอนควรชี้แนะให้ผู้เรียนเห็นว่าเครื่องมือดิจิทัลมีความหลากหลาย

ควรเลอื กใช้ใหต้ อบสนองวัตถปุ ระสงค์

๔. ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เครือ่ งมือหรืออุปกรณ์ดิจิทัลในการทางาน

เพื่อเป็นการเปดิ โลกทัศน์ของการเรยี นรู้แบบดจิ ทิ ัลของผ้เู รียนให้กว้างขวางมากย่งิ ขนึ้

๕. เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ดิจิทัลเชิงบูรณาการ

หมายความว่า ผู้สอนควรสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการใช้งานดิจิทัลเข้าไปในกระบวนการเรียนรู้

หรือการปฏบิ ัติกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเน้นให้ผู้เรยี นตระหนักในคุณธรรม จริยธรรม ความซ่ือสัตย์

แบบรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕



การให้เกยี รติบุคคลอ่ืน การไม่ละเมดิ ลิขสิทธิห์ รือทรัพย์สินทางปัญญาของบคุ คลอื่น ส่ิงเหล่าน้ีนับเป็นพืน้ ฐาน
ที่สาคัญ

๒.๓ ครูที่ผ่ำนกำรพัฒนำตำมกระบวนกำรสร้ำงชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ (PLC) นำผลกำรพัฒนำ
มำปรบั กำรเรยี นกำรสอน ดังนี้

ครูผู้สอนรวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง ร่วมทาและร่วมเรียนรู้บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธ์
แบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมายและภารกิจร่วมกัน โดยทางานร่วมกันแบบทีม เรียนรู้
การเป็นผู้นาร่วมกัน พัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเองสู่คุณภาพการจัดการเรียนรูท้ ี่เน้นความสาเร็จ
หรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสาคัญและความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้
ลดความรู้สึกโดดเดี่ยวงานสอน เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากข้ึน
โดยเพิ่มความกระตอื รือรน้ ที่จะปฏิบัติให้บรรลพุ ันธกิจอย่างแขง็ ขัน จนเกิดความรู้สึกวา่ ต้องการร่วมกันเรียนรู้
และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียนถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติการสอน
ในชั้นเรียนให้มีผลดียิ่งขึ้น กล่าวคือ มีการค้นพบความรู้และความเชื่อที่เกี่ยวกับวิธีการสอนและตัวผู้เรียน
ซึ่งที่เกิดจากการคอยสังเกตอย่างสนใจ รวมถึงเข้าใจในด้านเนื้อหาสาระที่ต้องจดั การเรียนรูไ้ ด้แตกฉานย่งิ ขึ้น
จนตระหนกั ถึงบทบาทและพฤติกรรมการสอนท่ีจะชว่ ยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีที่สดุ อีกท้ังการรับทราบ
ข้อมูลสาระสนเทศตา่ ง ๆ ท่จี าเป็นตอ่ วิชาชีพได้อย่างกวา้ งขวางและรวดเรว็ ขน้ึ สง่ ผลดีต่อการปรับปรุงพัฒนา
งานวิชาชีพได้ตลอดเวลาเป็นผลให้เกิดแรงบันดาลใจที่จะพัฒนาและอุทิศตนทางวิชาชีพเพื่อศิษย์ ซึ่งเป็นท้ัง
คุณค่าและขวัญกาลังใจต่อการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น ที่สาคัญคือยังสามารถลดอัตราการลาหยุดงานน้อยลง
เมื่อเปรียบเทียบกับโรงเรียนแบบเก่ายังพบว่ามีความก้าวหน้าในการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้
ให้สอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะผู้เรยี นไดอ้ ย่างเดน่ ชัดและรวดเร็วกว่าท่ีพบในโรงเรยี นแบบเก่า มคี วามผกู พันท่จี ะสรา้ ง
การเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ ใหป้ รากฏอย่างเดน่ ชัดและย่ังยืน

ครูผู้สอนที่ผ่านการพัฒนาตามกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) นาผลการ
พัฒนามาปรบั การเรียนการสอนส่งผลต่อผู้เรียน คือ สามารถลดอัตราการตกซ้าชัน้ และจานวนชั้นเรียนที่ตอ้ ง
เลื่อนหรือชะลอการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ในวิชาวทิ ยาศาสตร์ประวัติศาสตรแ์ ละวิชาการอ่านท่ีสงู ขนึ้ อย่างเดน่ ชัด เมื่อเทยี บกับโรงเรียนแบบเก่าสุดท้าย
คอื มคี วามแตกต่างด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระหว่างกลุม่ นักเรียนที่มีภูมิหลังไมเ่ หมอื นกันและลดลงชัดเจน
มุ่งเน้นให้องค์กรมีการปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเริ่มพัฒนา
จากแนวคิดองคก์ รแหง่ การเรียนรู้และปรับประยุกต์ใหม้ ีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและการเรียนรู้
ร่วมกันในทางวิชาชีพที่มีความสาคัญ คือ ความรับผิดชอบการเรียนรู้ของผู้เรียนและมุ่งเน้นพัฒนาการ
ของผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

แบบรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕



๒.๔ ครูที่ผ่ำนกำรพัฒนำตำมหลักสูตรภำษำอังกฤษ นำผลกำรพัฒนำมำใช้ในกำรเรียน
กำรสอน ดงั นี้

เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนโดยเฉพาะทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้เพื่อการพัฒนาตน
ซง่ึ นาไปสูข่ ดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ การจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษโดยเน้นให้ผู้เรียน
เปน็ ศูนย์กลางของการเรยี นการสอน เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรยี นมากข้ึน และใชก้ ิจกรรมต่าง ๆ
หลากหลายชนิดเข้ามาช่วยในการดาเนินการสอน โดยครูผู้สอนต้องคานึงถึงความสามารถ ความถูกต้อง
เหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูแ้ ละมีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนในการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ
ผู้สอนต้องปรับเปลี่ยนและประยุกต์วิธีการสอนของตนเพื่อสามารถเลือกวิธีสอนกิจกรรมการเรียนการสอน
ตลอดจนสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนและจุดมุ่งหมายของการเรียนภาษา อังกฤษในแต่ละระดับชั้น
ซึ่งทาให้การเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนจึงมีกลวิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

ทักษะกำรฟงั
การฟังเป็นทักษะที่ตอ้ งฝึกเช่นเดียวกับการพูด การอ่าน และการเขียน ผู้เรียนบางคนคิดวา่
การฟังนั้นเป็นทักษะที่ง่ายไม่จาเป็นต้องฝึกฝนก็สามารถฟังได้ การฟังจะมีประโยชน์อย่างยิ่งก็ต่อเมื่อผู้ฟัง
รู้จักฟัง สิ่งสาคัญที่สุดสาหรับการฟัง คือ ผู้ฟังต้องมีความตั้งใจเพื่อจะฟังให้เข้าใจและสามารถโต้ตอบ
กับสิ่งที่ฟังได้ ผู้สอนสอนทักษะการฟังให้แก่ผู้เรียนอย่างสม่าเสมอและเน้นการฟังอย่างหลากหลาย
โดยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกฟังเสียงของเจ้าของภาษาและสอนเสียงที่เป็นปัญหา รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ไดฝ้ ึกการฟงั ท้งั ทเี่ ปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการครูผูส้ อนอธิบายเหตุผลหรอื วตั ถปุ ระสงคใ์ นการฟงั ใหแ้ กผ่ ู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฟังอย่างตั้งใจและประสบความสาเร็จในการฟัง สิ่งสาคัญเพื่อการฟังนั้นบรรลุ
วัตถุประสงค์ ไม่เน้นการทดสอบ แต่ควรประเมินความสามารถในการฟังของผู้เรียนในแง่ของการประสบ
ความส าเร็จในการสื่อสารในการสอนทักษะการฟังนี้โสตทัศนูปกรณ์ต่าง ๆ (Audio Visual-Aids)
เช่น เครอ่ื งบนั ทึกเสียง รูปภาพเป็นสิ่งทม่ี คี วามสาคญั และจาเป็นมากซ่งึ จะชว่ ยใหก้ ารเรยี นมีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น ผู้สอนให้ผู้เรียนฟังคา วลีประโยค หรือบทสนทนาง่าย ๆ สั้น ๆ ในห้องปฏิบัติการทางภาษา
(Language Laboratory) หรือเรื่องราวที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ฟังเสียงเพลงภาษาอังกฤษทั้งทางวิทยุ
และโทรทัศน์ การสอนทักษะการฟังเป็นการพัฒนาความสามารถการฟังที่ต้องอาศัยระยะเวลาการฝึกฝน
ที่ต่อเนื่องไม่ใช่เป็นทักษะที่จะเกิดขึ้นได้เองโดยอัตโนมัติ หน้าที่สา คัญอันหนึ่งของครูผู้สอน คือ
การนาเอาวิธีการหรือเทคนิคที่จะฝึกการฟังมาสอนผู้เรียน เพื่อให้นักเรียนได้เกิดประโยชน์ในการเรียน
ภาษาอังกฤษมากทสี่ ุด โดยมีลาดบั ขั้นตอนจากง่ายไปหายาก
๑. เริม่ ตน้ ดว้ ยการฟังคาเดย่ี ว ฟังวลแี ละประโยค ซึง่ ผสู้ อนสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนแสดงออก
ในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น การปฏิบัติตามคาสั่ง วาดรูป เล่นเกม บอกทิศทางตามแผนที่ ทั้งนี้ให้สังเกต
การเน้นหนักเบาในคาและระดบั เสยี งสงู ตา่ ในประโยค

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕



๒. การฟังโดยพยายามเชื่อมโยงคาต่าง ๆ ที่ได้ยินเป็นกลุม่ ท่ีมีความหมายเพื่อให้จาง่าย เช่น
พยายามสร้างจินตนาการจากคาเป็นภาพอาจจะเป็นภาพที่สวยงามหรือตลกเพื่อให้จา สิ่งที่ฟังได้นานข้ึน
และเกิดความสนใจทจ่ี ะฟงั ตอ่ ไป

๓. การฟงั เร่ืองสั้น ๆ ซ่งึ อาจมีคาศพั ท์และโครงสร้างที่ผูเ้ รยี นมีความรู้เดิม โดยท่ีผูส้ อนให้สรุป
เหตุการณ์ว่าใครทาอะไร ทีไ่ หน อย่างไร

๔. การฟังบทสนทนาหรือข้อความต่าง ๆ ควรเป็นบทสนทนาหรือข้อความที่ใช้ใน
ชวี ติ ประจาวันและเป็นธรรมชาติเพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนคนุ้ เคยกับภาษาท่ีใชอ้ ยู่จรงิ

ทกั ษะกำรพูด
การพูดเป็นการถ่ายทอดความคิด ความเข้าใจ และความรู้สึกให้ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจ
จุดมุ่งหมายของผู้พูด การพูดเป็นองค์ประกอบสาคัญมากในการเรียน เนื่องจากการพูดทาให้ทราบว่า
ผู้พูดใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ หรือไม่ การสอนทักษะการพูดในปัจจุบันจึงมุ่งเน้น
ให้นักเรียนใช้ทักษะการพูดเพื่อการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องสถานการณ์จริงในการจัดการเรียน
การสอน ทักษะการพูดเพื่อการสื่อสารนั้นผู้เรียนจะต้องสื่อความหมายให้ผู้ฟังเข้าใจวัตถุประสงค์ของตนเอง
ท่ีจะพดู และผู้สอนสง่ เสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออกทางภาษาโดยใช้สถานการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงคานึงถึงความสามารถ
ในการสื่อความหมายให้ผู้ฟังเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทักษะการพูดไม่ได้ยึดความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
เพียงอย่างเดียว การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทักษะการพูดเพื่อการสื่อสาร ผู้สอนต้องจัดบรรยากาศ
การเรียนการสอนให้เอื้อต่อการเรียนรู้เน้นกระบวนการสอนมากกว่ารูปแบบของการสอน สอนจากสิ่งที่ง่าย
ไปสู่สิ่งที่ยาก เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ จัดกิจกรรมและใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย
และใหก้ าลังใจโดยการชมเชย เพอื่ เป็นการกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเกิดความมน่ั ใจและมเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ การเรียน
ทักษะกำรอำ่ น
ทักษะการอ่านที่สาคัญในการศึกษาทุกระดับ เนื่องจากการเรียนวิชาต่าง ๆ ทั้งในและนอก
ห้องเรียนต้องใช้การอ่านเป็นสื่อในการเรียนรู้ โดยเฉพาะในการเรียนภาษาเพราะผู้เรียนมีโอกาสใช้ทักษะ
ฟัง พูด และเขียนน้อยกว่าทักษะการอ่าน ดังนั้นการอ่านจึงเป็นเครื่องมือสาคัญในการนาไปสู่การแสวงหา
ความรู้ทั้งปวงกระบวนการอ่านเป็นกระบวนการที่มีความซับซ้อนที่เกี่ยวข้องกับหลาย ๆ ด้าน ครูผู้สอน
ต้องหากลวิธีการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนด้านการอ่าน โดยตระหนักถึงกลวิธีการเรียนรู้
และจัดประสบการณด์ า้ นการฝกึ อย่างทักษะการอา่ นอยา่ งเปน็ ระบบ การสรา้ งแรงจูงใจในการอ่านให้แก่ผ้เู รียน
ตลอดจนควบคุมและกากับตนเองในด้านการใช้กลวิธกี ารเรยี นให้แก่ผเู้ รยี น ดงั น้ี
๑. กิจกรรมก่อนการอ่าน (Pre-reading Activities) ผู้สอนต้องหาวิธีสร้างแรงจูงใจ
ในการอ่านให้แก่ผู้เรียนซึ่งจะมีกิจกรรม เช่น การคาดคะเนเรื่องที่อ่าน การเดาความหมายของคา ศัพท์
จากบรบิ ท โดยดูจากประโยคขา้ งเคียงหรอื รปู ภาพ เปน็ ตน้
๒. กิจกรรมระหว่างการอ่าน (While-reading Activities) ผู้เรียนต้องทาความเข้าใจ
โครงสร้างและเนื้อหาในเรื่องที่อ่าน กิจกรรมในขั้นนี้ เช่น การลาดับเรื่องจากการตัดเรื่องออกเป็นส่วน ๆ

แบบรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕



(Strip Story) การเขียนแผนผังความสัมพันธ์ในเรื่อง (Semantic Mapping) การเติมข้อความลงในแผนผัง
(Graphic Organizer) และการเล่าเรื่องโดยสรปุ

๓. กิจกรรมหลังการอ่าน (Post-reading Activities) เป็นการตรวจสอบความเข้าใจ
ของผู้เรียน กิจกรรมอาจโยงไปสู่ทักษะอื่น เช่น การแสดงบทบาทสมมติเขียนเรื่องหรือโต้ตอบจากจดหมาย
พูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านการอ่านไม่ใช่การสื่อความหมายจากตัวอักษรที่ปรากฏเท่านั้น
แต่เป็นกระบวนการท่ีเกิดจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้อ่านและผู้เขยี น หากผู้อ่านมีความรู้หรือประสบการณ์
เดิมในเรื่องที่อ่าน จะช่วยในการแปลความหมายได้ชัดเจนมากยิ่งขึน้ หากเรื่องที่อ่านนัน้ ผู้อ่านไมเ่ คยพบเห็น
มากอ่ น ผู้อ่านก็ยงิ่ ต้องใช้ความพยายามในการหาความหมายจากสงิ่ ท่ีอ่านมากข้ึนเท่าน้นั อาจจะใช้วิธีการเดา
จากบริบทหรือสงิ่ ช้นี าที่ปรากฏในขอ้ ความซึ่งถ้าผ้อู ่านรู้จกั นากลวธิ ีต่างๆ มาใชใ้ นการอ่านได้อย่างถูกวิธีผู้อ่าน
กจ็ ะเขา้ ใจข้อความได้ดียง่ิ ขึ้น และทาใหบ้ รรลจุ ดุ ประสงค์ในการอ่าน

ทกั ษะกำรเขียน
การเขียนเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับข้อความทีป่ รากฏตามตัวอักษร คาศัพท์ไวยากรณ์
ที่ได้รับการเรียบเรียงไว้อย่างถูกต้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผู้เขียนที่จะสื่อสารไปยังผู้อ่าน
กล่าวสรุปได้ว่า การเขียนเป็นกระบวนการของการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนออกมา
โดยใช้สัญลักษณ์ตัวอักษรซึ่งผู้เขียนจะต้องเรียบเรียงความคิดอย่างเป็ นระบบและถูกต้องตามโครงสร้าง
และไวยากรณ์ของการเขียน เพื่อสื่อความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจในการสอนทักษะเขียนเพื่อการสื่อสารน้ัน
ครูผู้สอนจึงจาเป็นต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้ออกคาสั่ง อธิบายอ่านให้ฟัง บอกให้จด เปลี่ยนมาเป็นชี้แนะ
แนวทางให้ผู้เรียน อานวยความสะดวก จัดกิจกรรมการเรียนให้แก่ผู้เรียนโดยใช้กิจกรรมที่หลากหลายแบบ
มาประกอบการสอน เพอ่ื ให้เกิดความสนุกสนานและความกระตอื รือร้นในการเรียนรู้
สรปุ
การพัฒนาทักษะของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ นั้น มีความจาเป็นอย่างย่ิง โดยเฉพาะการจัดการ
เรียนการสอนภาษาอังกฤษซึ่งมีหลายแนวคิดและกลวิธีที่จะช่วยสร้างความคิดที่เป็นระบบให้แก่ครูผู้ สอน
และพัฒนามโนทัศน์เกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อช่วยให้ครูผู้สอนตัดสินใจในการวางแผน
การจัดการเรยี นการสอน การเลอื กกจิ กรรมประกอบการเรยี นการสอน การเลือกส่อื การเรียนรเู้ พอื่ ให้เหมาะสม
และสอดคลอ้ งกับผ้เู รยี นซึ่งจะส่งผลให้การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้ึน
๒.๕ หลักสูตรกำรพฒั นำครทู ี่เปน็ จดุ เน้นของโรงเรียน
วิสยั ทศั น์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียนบ้านคลองเตย
วสิ ัยทศั น์ (VISION)
นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองเตยทุกคนเป็นคนดีมีคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาบุคลากรได้รับการพัฒนา บริหารการศึกษาโดยให้ทุกฝ่าย
มสี ว่ นร่วม

แบบรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕



พนั ธกจิ (MISSION)
๑. สง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนเปน็ คนดีมีคุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรคู้ วามสามารถตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษา
๓. สนับสนนุ พัฒนาบุคลากรในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเปน็ สาคญั
๔. ส่งเสรมิ พัฒนาบริหารการศกึ ษาโดยให้ทกุ ฝ่ายท่ีเก่ียวขอ้ งมีส่วนรว่ ม

เป้ำประสงค์ (GOALS)
๑. นักเรยี นทกุ คนเปน็ คนดีมีคุณธรรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒. นกั เรยี นทกุ คนมีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษา
๓. บุคลากรไดร้ ับการพฒั นาใหม้ คี ุณวฒุ ิมคี วามรคู้ วามสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ
๔. บริหารจดั การศึกษาโดยให้ทกุ ฝ่ายทเี่ กี่ยวขอ้ งมีส่วนรว่ ม
หลักสูตรการพัฒนาครูที่เป็นจุดเน้นของโรงเรียน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

โรงเรียนบา้ นคลองเตยผา่ นการอบรมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาทักษะการจดั การเรียนรูร้ ูปแบบออนไลน์สาหรบั ครู
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละ ๑๐๐ หน่วยงานที่จัด สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ระหว่างวนั ท่ี ๑๔-๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๔ จัดเปน็ นวัตกรรมทางการศกึ ษาในอกี รปู แบบหน่ึง
สามารถเปลี่ ยนแปลงวิธ ีเร ียน ในร ูปแบบเดิ มให้ เป็นก าร เรี ยนใหม ่ที่ ใช้ เทคโนโ ลย ีเข้ าม าช่ว ย ท าก าร สอ น
เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่บวกเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สร้างการศึกษาที่มีปฏิสัมพันธ์คุณภาพสูง
โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางเกิดความสะดวกและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ทุกสถานที่ทุกเวลาและเป็นการสร้าง
การศกึ ษาตลอดชีวิต
๓. ควำมโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรอื แบบอย่ำงท่ดี ใี นกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำย

๓.๑ ควำมโดดเด่น จุดแข็ง นวัตกรรมในกำรด ำเนินงำนตำมนโยบำยมีประโยชน์
หรอื เกดิ ผลดตี อ่ ผเู้ รียนอยำ่ งไรบำ้ ง

ความโดดเด่น จุดแข็ง นวัตกรรม คือ โครงการเศรษฐกิจพอเพียง Klongtoey Model
ทม่ี ำและควำมสำคัญ

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน
ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ
ใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหก้ ้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพยี ง
หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะตอ้ งมีระบบภูมคิ ุ้มกนั ในตวั ท่ีดีพอสมควร
ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้
ความรอบคอบและความระมัดระวงั อยา่ งยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ
ทกุ ข้นั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสรมิ สรา้ งพนื้ ฐานจิตใจของคนในชาตใิ หม้ ีสานกึ ในคุณธรรม ความซ่อื สตั ย์
สุจริตและใหม้ ีความรอบรทู้ ่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพยี ร มีสตปิ ัญญา และความรอบคอบ

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕



เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถของ
ชุมชน เมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาคหนึ่ง ๆ ในการผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้น ๆ
ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งพึ่งพาปัจจยั ต่าง ๆ ทเี่ ราไม่ไดเ้ ปน็ เจ้าของเศรษฐกิจพอเพยี งในระดบั บุคคลน้นั คือ ความสามารถ
ในการดารงชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน ตามฐานะ ตามอัตภาพ และที่สาคัญ
ไม่หลงใหลไปตามกระแสของวัตถุนิยม มีอิสรภาพ เสรีภาพ ไม่พันธนาการอยู่กับสิ่งใด หากกล่าวโดยสรุป
คือ หันกลับมายึดเส้นทางสายกลาง ในการดารงชีวิต กล่าวโดยสรุป ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เปน็ หลักคดิ และหลักปฏบิ ัติในการดาเนินชีวติ เพ่ือนาไปส่คู วามพอเพียง เปน็ ปรชั ญาทชี่ ี้ถงึ แนวทางการดารงอยู่
และปฏิบัติตนของคนไทย สังคมไทย เพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าไปพร้อมกับ
ความสมดุลและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ ด้านสังคม
ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านวัฒนธรรม ถ้าใช้หลักความพอเพียงเป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติในการดาเนินชีวิต
ก็จะสามารถอยู่ได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ปรับตัวและพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงได้
โรงเรียนเป็นสถานที่ในการผลิตพลเมืองที่มีคุณภาพของชาติ เป็นแหล่งการเรียนรู้ พัฒนาด้านสติปัญญา
ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์ และด้านสงั คม ในสังคมปจั จบุ นั มคี วามเจริญและพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีมากมาย
การพัฒนาด้านจิตใจ คุณธรรมและจริยธรรมยังมีน้อย ดังนั้น โรงเรียนจึงได้จัดทาโครงการนักเรียนหลักสูตร
ต้านทุจริตส่งเสริมเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยใช้ช่ือวา่ Klongtoey Model เพื่อเป็นการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
ให้เกิดกับนักเรียน นักเรียนสามารถเรียนรู้ในโรงเรียนได้อย่างมีความสุข เมื่อนักเรียนมีคุณธรรม
ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงแล้วจะทาให้ผลการเรียนดีขึ้น และบรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษา
แห่งชาติที่ว่า นักเรียนเป็นผู้ที่ดีเก่ง มีสุข และดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ
ของประเทศชาติตอ่ ไป

หลกั กำรหรือแนวคิด
โรงเรียนบ้านคลองเตยมีพื้นที่กว้างขวาง จึงเหมาะแก่การดาเนินโครงการตามหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งทางโรงเรยี นได้ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ปี ด้วยเหตุผลดังกล่าวทางโรงเรยี น
จึงดาเนินโครงการนักเรียนหลักสูตรต้านทุจริต โดยใช้ชื่อว่า Klongtoey Model มีความหมายว่า โรงเรียน
บา้ นคลองเตยจดั การเรยี นรโู้ ดยยึดหลกั ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองเตยทกุ คนมีเป้าหมาย
ในการพัฒนาตนเอง เพิม่ ทกั ษะการเรียนรูไ้ ม่มีที่ส้ินสุด ควา้ โอกาสในการเรียนรอู้ ย่างรอบด้านด้วยความมุ่งม่ัน
ตั้งใจ สามารถปฏิเสธสิ่งที่ไม่ถูกต้องด้วยความภาคภูมิใจ ก่อให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม และความเมตตา
โดยคานึงถึงเกียรตยิ ศ ชื่อเสียงของโรงเรียน และดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ทางโรงเรยี น
จงึ นาพยญั ชนะภาษาอังกฤษของช่ือโรงเรียนบ้านคลองเตยจัดใหม้ ีความสัมพนั ธ์และสอดคล้องกับชื่อโครงการ
นกั เรียนหลกั สูตรตา้ นทุจริต Klongtoey Model โดยมคี าจากัดความ ดงั น้ี
K Kindness คือ ความเมตตา
L Learningskills คอื ทักษะการเรียนรู้, ไม่มีท่ีสิน้ สุด

แบบรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕



O Objective คือ เป้าหมายในการพัฒนา
N No Say no! คอื ปฏิเสธส่ิงท่ไี มถ่ กู ต้อง ไม่เหมาะสม
G Glory คือ เกียรตยิ ศ ช่ือเสยี ง ความภาคภูมใิ จ
T Thriftiness and Sufficiency economy คือ ความมัธยัสถ์และแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง
O Opportunity คอื โอกาสในการเข้าถึงการเรยี นรู้
E Earnestness คือ ความม่งุ มั่นตง้ั ใจ
Y (Student-Centricity) คือ แนวคิดการจดั การเรยี นรู้ โดยยดึ หลกั ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง

โครงกำรเศรษฐกิจพอเพียง Klongtoey Model มีทัง้ หมด ๗ กิจกรรม ดังนี้
๑. กจิ กรรมปลูกต้นยคู าลปิ ตสั
๒. กจิ กรรมทานาขา้ ว
๓. กิจกรรมปลูกพชื ผักสวนครวั
๔. กิจกรรมเพาะเห็ด
๕. กิจกรรมขุดบ่อเล้ยี งปลา
๖. กิจกรรมธนาคารขยะ
๗. กจิ กรรมสหกรณ์รา้ นคา้ โรงเรยี น

ประโยชน์หรือผลดีตอ่ ผูเ้ รียน
๑. ฝกึ ให้นักเรยี นไดเ้ รียนรแู้ ละลงมอื ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง
๒. เปน็ การนาพ้ืนทขี่ องโรงเรียนที่มีบริเวณกว้างมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด
๓. สามารถสรา้ งรายไดใ้ หแ้ ก่นักเรยี นและชมุ ชน
๔. สามารถนาผลผลิตมาใช้ในการอปุ โภคและบริโภคได้ตามความเหมาะสม
๕. ชุมชนสามารถเรียนรู้ ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ และเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรม

กับทางโรงเรียน
ประโยชนแ์ ละแนวทำงกำรนำไปประยกุ ตใ์ ช้
๑. นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม

มีสมาธิปัญญาตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
๒. กิจกรรมการเรียนการสอนบรรลตุ ามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร
๓. นกั เรียนเรียนรู้อยา่ งมคี วามสขุ จากการลงมอื ปฏิบัติจรงิ
๔. ชุมชนเข้ามามสี ว่ นร่วมและให้การยอมรับสนับสนนุ โรงเรียนมากข้นึ
๕. นักเรียนสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในโรงเรียน ครอบครัว

และชุมชน

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๐

๓.๒ รำยชื่อหน่วยงำน/สถำนศึกษำที่เป็นต้นแบบหรือแบบอย่ำงที่ดีในกำรดำเนินงำน

ตำมนโยบำย ดงั นี้

รำยช่อื หนว่ ยงำน/สถำนศกึ ษำ ท่ตี ัง้ หนว่ ยงำน/สถำนศึกษำ รำยกำรและรำยละเอียด
ตน้ แบบหรือแบบอย่ำงท่ีดี ของควำมโดดเดน่ /จุดแข็ง/

นวัตกรรม

โครงการสาธิตทฤษฎีใหม่ หมูท่ ่ี ๑๔ ตาบลธงชัยเหนือ เพ่ือให้เกษตรกรที่มพี ้ืนท่ที ากนิ

อนั เนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอปักธงชยั จังหวดั น้อย สามารถยกระดับผลผลติ

(ปกั ธงชยั ) จังหวัดนครราชสีมา นครราชสมี า ๓๐๑๕๐ ไร่นาของตนให้พอเพยี ง

และสามารถเล้ียงตนเองได้

ในระดบั หนงึ่ บนพ้นื ฐาน

ของความประหยดั และสามัคคี

ในทอ้ งถ่นิ ช่วยพัฒนาคุณภาพ

ชวี ติ ให้ดีข้ึน สามารถดารงชีพ

อย่ใู นสังคมอย่างยัง่ ยืน โดยไม่ได้

รบั ผลกระทบจากสภาพเศรษฐกจิ

การคา้ และเพ่อื ลดการเคล่อื นยา้ ย

แรงงาน

๔. ปญั หำอปุ สรรคในกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำย

ปัญหาอุปสรรคด้านงบประมาณ

๕. ข้อเสนอแนะ

๕.๑ ขอ้ เสนอแนะในกำรปรับปรงุ /พฒั นำ

๑) ต้องการงบประมาณท่เี พียงพอในการบริหารจัดการทรัพยากรใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

๒) ต้องการงบประมาณที่เพียงพอในการบริหารจัดการเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา

ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นเรียนรอู้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้

๕.๒ ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ

-

(ลงชอื่ ).............................................
(นายวะราวฒุ ิ สวุ รรณปะเถาว)์
ผู้อานวยการโรงเรยี นบ้านคลองเตย

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕

๑๑

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๒

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๓

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๔

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๕

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๖

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๗

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๘

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๑๙

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๐

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๑

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๒

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๓

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๔

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๕

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๖

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๗

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๘

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๒๙

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๓๐

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๓๑

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๓๒

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕

๓๓

แบบรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version