สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
รายงานผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ในสังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ปกี ารศกึ ษา 2563
กลุ่มงานส่งเสรมิ พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการ
สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
สรุปผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-ก-
คำนำ
การจัดทำรายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา Self Assessment Report ( SAR ) นับว่ามี
ความสำคัญและจำเป็นที่โรงเรียนต้องดำเนินการ ซ่ึงเป็นไปตามความในหมวด 6 มาตรา 48 แห่ง
พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 และมาตรา 47
วรรคสองกำหนดให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกัน
คุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทำรายงาน
ประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยมีรายละเอียดของการ
พฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธกี ารประกนั คุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 ในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 และมีการนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม
135 ตอนท่ี 11 ก เมื่อวนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2561 ที่สถานศกึ ษาตอ้ งดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา มีภารกิจ ซ่ึงประกอบด้วย 1. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ 2.การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งตามมาตรฐาน
การศึกษา 3.การดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ 4. จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลคุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา เพอ่ื พัฒนาสถานศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา 5.จดั ส่งรายงานผลการประเมิน
ตนเองใหห้ นว่ ยงานตน้ สังกัด
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ได้ดำเนินการสังเคราะห์ผลรายงานการ
ประเมินตนเองของสถานศึกษา ในปีการศึกษา 2563 ที่สถานศึกษาได้ดำเนินการประกันคุณภาพภายในตาม
ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ขอขอบคุณสถานศึกษาทุกแห่งที่ได้จัดทำ
รายงานการประเมินตนเองในระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาพื้นฐานครบทุกแห่ง หวังเป็น
อย่างยิ่งว่ารายงานผลการประเมินฉบับนี้จะเป็นประโยชน์และมีคุณค่าต่อการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัด
การศึกษาของสถานศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 และหน่วยงานต้น
สังกัดให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น
สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
สรปุ ผลการสงั เคราะห์รายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-ข-
สารบัญ
เร่ือง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร ค
บทที่ 1 ความเปน็ มา 1
บทท่ี 2 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน 2
บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนินงาน 10
บทท่ี 4 ผลการสงั เคราะหร์ ายงานการประเมินตนเองระดับปฐมวัย และระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 11
บทท่ี 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 14
ภาคผนวก 21
คณะทำงาน 33
สรปุ ผลการสังเคราะห์รายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-ค-
บทสรปุ สำหรับผู้บรหิ าร
รายงานผลการสงั เคราะหร์ ายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
ปกี ารศึกษา 2563
ความเปน็ มา ;
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ได้ดำเนินการสังเคราะห์ผลรายงานการ
ประเมินตนเอง Self Assessment Report (SAR) ของสถานศึกษาตามนโยบายตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ
หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ซ่ึงเป็นไปตามความในหมวด 6 มาตรา 48
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ( ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ. 2545 และมาตรา
47 วรรคสองกำหนดให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกัน
คุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษาท่ีต้องดำเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทำรายงาน
ประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนำไปสู่การพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกและมีการนำไปประกาศในราช
กิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนท่ี 11 ก เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ที่สถานศึกษาต้องดำเนินงาน
ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ท่ีกำหนดว่าให้สถานศึกษาดำเนินการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา และจัดทำรายงานการประเมินตนเองเรียบร้อยแล้วเพื่อเป็นการสังเคราะห์
ข้อมลู และเรง่ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
เปา้ หมาย ;
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 สังเคราะห์รายงานการประเมินตนเอง
Self Assessment Report ( SAR ) ของสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่ง รวม 108 โรงเรียน และจัดทำรายงาน
ผลการสังเคราะหร์ ายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 107 แหง่ ในสงั กดั
การดำเนนิ การ ;
1. แจ้งปฏิทินการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาโดยโรงเรียนต้องดำเนินงานตาม
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 โดยกำหนดให้สถานศึกษาส่งรายงานการ
ประเมนิ ตนเองภายในวนั ที่ 15 พฤษภาคม 2563 เนอ่ื งจากรอการประกาศผล O-net , Nt
2. ติดตาม สอบถาม กำกบั โรงเรียนทไ่ี ม่ได้ส่งรายงานการประเมินตนเองตามกำหนด
3. ดำเนนิ การสังเคราะห์ และจดั ทำรายงานผลการสังเคราะหร์ ายงานการประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษาในสังกดั
สรุปผลการสังเคราะห์รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-ง-
ผลการดำเนินการ;
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ไดด้ ำเนินการเปน็ ไปตามเป้าหมาย
สรุปผลในภาพรวมสถานศึกษามกี ารดำเนินการตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดังน้ี
1. ระดับการศึกษาปฐมวัย โรงเรียนมีผลการประเมินในภาพรวมระดับดีเลิศ 51 โรงเรียน คิด
เป็นร้อยละ 50.49 เมื่อจำแนกผลการประเมินตามมาตรฐาน เรียงลำดับได้ดังนี้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ
บรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ และมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ
ของเดก็ 2. ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โรงเรยี นมผี ลการประเมนิ ในภาพรวม ระดับดี 62 โรงเรยี นคดิ
เปน็ รอ้ ยละ 57.94 เม่ือจำแนกผลการประเมนิ ตามมาตรฐาน เรยี งลำดับไดด้ ังนี้ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของ
นักเรียน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั และมาตรฐานที่ 2 กระบวนการ
บรหิ ารและการจดั การ
การต่อยอดการดำเนนิ การ;
สถานศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดที่มีส่วนเก่ียวข้องหากมีความสนใจนำผลข้อมูลการ
สังเคราะห์ดังกล่าวไปใช้ในการกำหนดแนวทางการพัฒนางานวิชาการ แนวทางการดำเนินงานการประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษา โดยปรับใหม้ ีความสอดคล้องกับบริบทการบริหารจดั การศกึ ษาทั้งระบบนำไปสู่การ
วิธกี ารหรือแนวทางในเร่อื งการพัฒนานวัตกรรมที่เป็นของโรงเรียนและใหเ้ กิดเปน็ รปู ธรรมซึ่งเป็นตัวบ่งช้ีให้เห็น
ในการพัฒนางานที่สามารถนำมาใช้ในการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาในครั้งต่อไปได้ตรง
ตามกรอบของมาตรฐานการศกึ ษาอยา่ งเต็มศกั ยภาพ และมีประสทิ ธภิ าพ
สรุปผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
บทที่ 1
ความเป็นมา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของคนไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข
เพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 จึงระบุให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มรี ะบบการประกนั คุณภาพภายใน
สถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดำเนินการ
อย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อ
สาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา รวมท้ังเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
(กำหนดไว้ในหมวด 6 มาตรา 48) นอกจากน้ี เพื่อให้เกิดการนำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จึงกำหนดให้ต้องออก
กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศึกษา (ตามวรรคสอง มาตรา 47) เพื่อให้สอดรับ
กับการปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษท่ีสอง และให้เช่ือมโยงการประกันคุณภาพการศึกษาท้ังระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
การอาชีวศึกษา การอุดมศึกษา และการประกันคุณภาพภายนอก จึงได้มีการประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 แทนกฎกระทรวงฉบบั เดิม (พ.ศ. 2553) ซึ่งได้มีการนำไป
ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเรียบรอ้ ยแลว้ เลม่ 135 ตอนท่ี 11 ก เมือ่ วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2561
กฎกระทรวงฉบับนี้ให้ความชัดเจนเก่ียวกับระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพทั้งภายใน
และภายนอก ในส่วนของการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้กำหนดให้สถานศึกษาข้ันพื้นฐานจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
ภายในโดยการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด ตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ีให้
สถานศึกษายึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนโดยดำเนินการ
ดังต่อไปน้ี
1. การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2. การจดั ทาํ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
3. การดาํ เนนิ การตามแผนท่ีกําหนดไว้
4. การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
5. การติดตามผลการดำเนนิ การเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
6. การจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง ให้แกห่ น่วยงานตน้ สังกดั
การจัดทำรายงานประจำปีท่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องสรุป
และจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ีสะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผล
สำเร็จของการบริหารจัดการศึกษาตามรูปแบบท่ีหน่วยงานต้นสังกัดกำหนด แล้วนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ความเห็นชอบ และเผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานท่ี
ตอ้ งการข้อมลู ในส่วนที่เกยี่ วขอ้ งตอ่ ไป
สรปุ ผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
บทท่ี 2
ข้อมูลพ้นื ฐาน
ข้อมูลพื้นฐาน สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1
สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 เปน็ หนว่ ยงานในสังกดั สำนกั งาน คณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน รับผิดชอบเขตพ้ืนท่ีการศึกษาจังหวัดตากอำเภอที่ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออก ประกอบด้วย
4 อำเภอ คือ อำเภอเมืองตาก อำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา และอำเภอ วังเจ้า มีสถานศึกษาข้ันพื้นฐานใน
สังกัด 108 แห่ง Website http://www.takesa1.go.th ( สพป.ตาก เขต 1 มีห้องเรียนสาขา 2 แห่ง ได้แก่
หอ้ งเรียนสาขาอูมฮวม ห้องเรียนสาขากิ่วสามล้อ ) มีภารกิจหลักในด้านการสง่ เสริม สนับสนุน และบริหารจัด
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานอยา่ งทวั่ ถึง ใหม้ คี ุณภาพ มีบริบทท่ัวไป ดังน้ี
ที่ต้ังและอาณาเขต จังหวัดตาก ตั้งอยู่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศ มีพ้ืนท่ีท้ังหมด 16,406.65
ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดท่ีมีขนาดเป็นอันดับ 4 ของประเทศและเป็นอันดับ 2 ของภาคเหนือ ต้ังอยู่ระหว่าง
เส้นรุ้งท่ี 15 องศา 50 ลปิ ดา 36 ฟิลิปดาเหนือ และเส้นแวงท่ี 99 องศา 7 ลิปดา 22 ฟลิ ิปดาตะวันออก สงู กว่า
ระดับน้ำทะเล 116.2 เมตร มีระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ เป็นระยะทาง 426 กิโลเมตร สภาพภูมิประเทศของ
จังหวัดตากเป็นพื้นท่ีตามแนวเทือกเขา โดยสภาพพ้ืนท่ีจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ โดยมีเทือกเขาถนน
ธงชัยก้ันกลาง ทำใหล้ ักษณะภมู ิอากาศแตกต่างกนั ไป เน่ืองจากเทือกเขาถนนธงชัยเป็นตัวปะทะมรสุมตะวันตก
เฉียงใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลอันดามัน ทำให้ซีกตะวันออกได้รับความชุ่มช้ืนจากลมมรสุมไม่
เต็มท่ี สภาพแห้งแล้ง ส่วนฝั่งตะวันตกจะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมมากกว่าทำให้ปริมาณฝนตกมีความชุ่มช้ืน
โดยเฉพาะในท่ีท่ีอยู่ในเขตภูเขา จังหวัดตากมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง
สุโขทัย กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี กาญจนบุรี และประเทศสหภาพพม่า ยาวประมาณ 540 กม.
(แม่น้ำเมย 170 กม เทือกเขาตะนาวศรี 370 กม.) การปกครอง จังหวัดตาก แบ่งการปกครองออกเป็น 9
อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองตาก อำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา อำเภอวังเจ้า อำเภอแม่สอด อำเภอพบพระ
อำเภอแมร่ ะมาด อำเภออ้มุ ผาง และอำเภอ ทา่ สองยาง
สรุปผลการสงั เคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-3-
สภาพการจัดการศึกษา จงั หวัดตาก แบง่ หนว่ ยงานจัดการศึกษาประถมศึกษา เป็น 2 เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ดงั น้ี
1. สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตากเขต 1 ตงั้ อยดู่ า้ นทิศตะวนั ออก ประกอบดว้ ย
4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองตาก อำเภอบ้านตาก อำเภอสามเงา และอำเภอวังเจ้า
2. สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตากเขต 2 ตง้ั อยดู่ า้ นทิศตะวนั ตก ประกอบด้วย 5
อำเภอ ได้แก่ อำเภอแมส่ อด อำเภอพบพระ อำเภอแมร่ ะมาด อำเภออมุ้ ผาง และอำเภอทา่ สองยาง
ระยะทางจากอำเภอเมอื งตากไปอำเภอใกลเ้ คยี ง
อำเภอบ้านตาก 22 กิโลเมตร
กิโลเมตร
อำเภอวังเจา้ 38 กโิ ลเมตร
กิโลเมตร
อำเภอสามเงา 56 กโิ ลเมตร
กิโลเมตร
อำเภอแมส่ อด 86 กิโลเมตร
กโิ ลเมตร
อำเภอแม่ระมาด 120
อำเภอพบพระ 135
อำเภอท่าสองยาง 170
อำเภออุม้ ผาง 251
สรปุ ผลการสังเคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-4-
แผนผงั การปฏบิ ัตงิ านแต่ละกลุ่มงานใน สพป.ตาก เขต 1
สภาพการจดั การศึกษา
ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนโรงเรียนจำแนกรายอำเภอ
อำเภอ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่ รวม
พิเศษ
เมอื งตาก 23 14 1 1 39
บา้ นตาก 22 10 - - 22
สามเงา 11 11 - - 22
วงั เจา้ 88 - - 16
รวม 64 43 1 1 108
ที่มา : ขอ้ มูลพืน้ ฐานทางการศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 ( ข้อมูล ณ 10 พฤศจิกายน 2563 )
โรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตากเขต 1 จำนวนท้ังสน้ิ 108
โรงเรยี น แต่มโี รงเรียนทโี่ อนเฉพาะระดบั ปฐมวัยไปอยู่ในการดแู ลของท้องถิน่ จดั การศึกษา จำนวน 2
โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรยี นเสริมปัญญา โรงเรียนชมุ ชนบ้านสมอโคน และโรงเรียนบ้านสันกลาง , โรงเรียนท่าปยุ
ตกไม่มีเดก็ ระดับปฐมวยั และโรงเรียนท่ีไปเรียนรวมกับโรงเรยี นอ่ืน 6 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นบ้านท้องฟ้า
เรยี นรวมกบั โรงเรยี นบา้ นใหม่ , โรงเรยี นบา้ นหนองชะลาบเรียนรวมกับโรงเรียนวัดพระธาตุน้อย โรงเรยี น
หว้ ยน่ึงเรยี นรวมกับโรงเรียนบา้ นลานสาง , โรงเรียนสบยม โรงเรียนบา้ นทงุ่ กงเรียนรว่ มกบั โรงเรียนอนบุ าลวงั
เจ้า และโรงเรยี นบา้ นตะเคยี นด้วนไปเรยี นรวมกับโรงเรียนบ้านนาโบสถ์ (นอ้ มมิตรอนุกูล)
สรุปผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-5-
ข้อมูลจำนวนนักเรยี น
ตารางท่ี 2 แสดงจำนวนนกั เรยี น ปีการศกึ ษา 2563 จำแนกตามระดบั การศึกษา
ช้นั จำนวนนักเรียน จำนวนห้องเรียน
ชาย หญิง รวม
อนุบาล 1 137 103 240 20
อนบุ าล 2 770 690 1,460 109
อนุบาล 3 726 698 1,424 112
รวมอนบุ าล 1,633 1,491 3,134 241
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 866 737 1,603 115
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 861 809 1,673 114
ประถมศึกษาปีท่ี 3 871 811 1,682 118
ประถมศึกษาปีท่ี 4 841 762 1,603 117
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 859 778 1,637 120
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 924 8,803 1,727 116
รวมระดับประถมศึกษา 5,348 4,700 9,922 700
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 384 303 676 35
มัธยมศึกษาปที ี่ 2 352 286 662 34
มธั ยมศึกษาปีที่ 3 358 265 791 34
รวมระดับมัธยมศึกษา 1,094 854 1,948 103
รวมทั้งหมด 7,949 7,045 14,994 1,044
ทีม่ า : ข้อมลู พ้ืนฐานทางการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 ( ข้อมูล ณ 10 พฤศจิกายน 2562 )
ขอ้ มูลบคุ ลากร
ตารางที่ 3 แสดงจำนวนอัตราบุคลากรในโรงเรียน ( ผอ./รอง ผอ./ครู) จำแนกตามอำเภอปีการศึกษา 2562
อำเภอ ผู้อำนวยการ ประเภท รวม
รองผู้อำนวยการ ขา้ ราชการครู
เมอื งตาก 30 6 451 416
บ้านตาก 16 2 251 215
สามเงา 16 - 214 201
วังเจ้า 7 - 156 135
รวม 88 2 1,072 967
ที่มา : ข้อมูลบคุ ลากร ปีการศึกษา 2563 ( ข้อมูล ณ 10 พฤศจกิ ายน 2562 )
สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-6-
ตารางท่ี 4 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดับชาติ ( National Test : NT )
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2563
ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละจำแนกตามระดบั
ความสามารถ ระดับ สพป. ระดบั สพฐ. ระดับประเทศ
ดา้ นคณติ ศาสตร์ 40.63 41.30 40.47
ด้านภาษาไทย 45.17 47.75 47.46
รวม 2 ดา้ น 42.90 44.53 43.97
จากตารางท่ี 4 ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผ้เู รียนระดับชาติ (National Test : NT)
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 พบว่า
ความสามารถด้านภาษาไทยมีคะแนนเฉลี่ยตำ่ กว่าร้อยละ 50 มคี ะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 45.17 คณุ ภาพระดบั
พอใช้ สว่ นความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละต่ำกวา่ รอ้ ยละ 50 คือ มีคะแนนเฉลย่ี ร้อยละ
40.63 อยใู่ นระดับคุณภาพพอใช้ ความสามารถทัง้ 2 ด้านมีคา่ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 42.90
แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (National Test :
NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต
1 ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดับประเทศ
ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผูเ้ รียนระดบั ชาติ (NT)
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563
สพป.ตาก เขต 1
50 47.46 เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา
ประเทศ
45.17
45 42.9 43.97
40.63 40.47
40
35
ด้านคณิตศาสตร์ ดา้ นภาษาไทย รวมความสามารถ 2
ดา้ น
สรปุ ผลการสงั เคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-7-
ตารางท่ี 5 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ระหวา่ งปีการศกึ ษา 2561 -2563
ความสามารถ 2561 ปีการศกึ ษา (คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ) การพัฒนา
2562 การพัฒนา 2563
ดา้ นภาษาไทย 51.22 44.19 -7.03 45.17 +0.98
ด้านคณิตศาสตร์ 47.85 43.93 -3.92 40.63 -3.30
ด้านเหตุผล 46.15 - - - -
รวมความสามารถ 48.40 44.06 -10.95 42.90 -1.16
จากตารางท่ี 5 การเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National
Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ระหว่างปีการศึกษา 2561 -2563 พบว่า เม่ือเปรยี บเทียบระหว่างปีการศึกษา 2562 กับปีการศึกษา 2563 คะแนน
เฉล่ียร้อยละรวมความสามารถ ปีการศึกษา 2563 มีค่าเฉล่ียร้อยละต่ำกว่าปีการศึกษา 2562 เฉลี่ยร้อยละ 1.16
เมื่อพิจารณาเป็นรายความสามารถ พบว่า คะแนนเฉล่ียร้อยละของความสามารถด้านภาษาไทยปีการศึกษา 2563
คะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่า ปีการศึกษา 2562 ร้อยละ 0.98 ส่วนความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา
2563 คะแนนเฉล่ียร้อยละต่ำกว่าปีการศึกษา 2562 รอ้ ยละ 3.30
ซ่ึงจากการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test :
NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ระหว่าง
ปกี ารศึกษา 2561 – 2563 สามารถนำเสนอในรปู ของแผนภูมทิ ี่ 2 ดังนี้
แผนภูมิที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 ระหว่างปกี ารศึกษา 2561 – 2563
NT
60 51.22 47.85 43.93 46.15 44.06
50 44.19
40
30
20
10
0
สรุปผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-8-
ตารางท่ี 6 ผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2562 ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ตาก เขต 1
สมรรถนะ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละจำแนกตามระดับ
เขตพืน้ ที่ จังหวดั ประเทศ
การอา่ นออกเสียง 73.71 59.80 74.14
การอา่ นร้เู ร่ือง 72.04 62.56 71.85
รวม 2 สมรรถนะ 72.92 61.23 73.02
จากตารางท่ี 6 ผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านออกของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1
ปีการศกึ ษา 2562 พบว่าการอา่ นออกเสียง ระดบั เขตประเทศ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 74.14 ซึ่งสงู กวา่ ระดบั
เขตพื้นท่ี และระดบั จงั หวดั ดา้ นการอ่านรู้เรื่อง ระดับเขตพน้ื ที่ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 72.04 ซง่ึ สูงกว่า
ระดบั ประเทศ และระดบั จังหวัด ดา้ นรวมสองสมรรถนะ ระดับเขตประเทศ มคี ะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ73.14 ซึ่งสงู
กวา่ ระดบั เขตพื้นที่ และระดับจงั หวดั ซึ่งในระดับจังหวดั เฉลยี่ รอ้ ยละ 61.23 และระดับเขตพื้นท่ีเฉล่ียร้อยละ
72.92 ตามลำดับดงั ตาราง
ตารางท่ี 7 ตารางแสดงคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ประจำปี 2563 ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ของสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
จำนวนนักเรยี นที่จบ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ปี 2563 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
หลักสูตร ผา่ น ดี ดเี ยย่ี ม ระดับดขี น้ึ ไป รวม
1,716 128 892 696 1588 1716
คิดเปน็ ร้อยละ 92.54 100
จำนวนนกั เรยี นทจ่ี บ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ปี 2563 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3
หลกั สูตร ผา่ น ดี ดเี ยย่ี ม ระดบั ดขี ้นึ ไป รวม
602 180 167 255 422 602
คิดเป็นร้อยละ 70.10 100
จากตารางที่ 7 พบว่าคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ประจำปี 2563 ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6
และชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มีรายละเอยี ดดังนี้
- ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2551
(ฉบับปรบั ปรงุ 2560) ปีการศึกษา 2563 นักเรยี นท่จี บการศกึ ษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบวา่ นกั เรียนผา่ น
การประเมนิ ทกุ คน (100%) และมผี ลการประเมนิ ในระดับดีขนึ้ ไป จำนวน 1,716 คน คิดเปน็ ร้อยละ 92.54
- ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551
(ฉบับปรับปรงุ 2560) ปีการศกึ ษา 2563 นักเรยี นทจ่ี บการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 พบวา่ นกั เรียนผ่าน
การประเมนิ ทกุ คน (100%) และมผี ลการประเมนิ ในระดบั ดขี ้นึ ไป จำนวน 602 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 70.10
สรุปผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
-9-
ตารางที่ 8 ตารางแสดงผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ เขียน ประจำปี 2563
ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 และช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ของสำนกั งานเขตพน้ื ที่
การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
จำนวนนกั เรียนท่ี อ่านคดิ วิเคราะห์ เขยี น ปี 2563 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
จบหลกั สูตร ผ่าน ดี ดเี ย่ยี ม ระดบั ดีข้ึนไป รวม
1,716 436 176 1,077 1253 1716
คิดเปน็ รอ้ ยละ 73.02 100
จำนวนนกั เรียนท่ี อา่ นคิดวิเคราะห์ เขยี น ปี 2563 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
จบหลักสูตร ผ่าน ดี ดเี ย่ียม ระดับดขี นึ้ ไป รวม
602 198 154 250 404 602
67.11 100
คิดเป็นรอ้ ยละ
จากตารางที่ 8 พบว่าการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์ เขยี น ประจำปี 2563 ของนกั เรยี น
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 มรี ายละเอยี ดดังนี้
- ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ เขยี น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ.
2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560) ปกี ารศึกษา 2563 นกั เรียนท่ีจบการศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 พบว่า นักเรียน
ผ่านการประเมินทกุ คน (100%)และมีผลการประเมนิ ในระดับดขี ้นึ ไป จำนวน 1,7162คน คิดเป็นร้อยละ73.02
- ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ เขยี น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ.
2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) ปกี ารศกึ ษา 2563 นกั เรยี นที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 พบวา่ นกั เรยี น
ผ่านการประเมิน ทุกคน (100%) และมีผลการประเมนิ ในระดับดีขึน้ ไป จำนวน 602 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ67.11
ตารางที่ 9 แสดงจำนวนและรอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่ผ่านการรับรอง สมศ.รอบสี่ ประเมินแล้ว 15 แห่ง
จำแนกตามระดบั การศึกษา
สังกดั ระดับการศึกษา จำนวน จำนวนสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ
สถานศึกษา ทผี่ ่านการรบั รอง
สมศ.รอบ 4
สพป.ตาก เขต 1 ปฐมวยั 100 15 15.00
ข้ันพน้ื ฐาน 107 15 14.02
จากตารางที่ 9 พบว่าสถานศึกษาในสงั กดั จำนวน 107 โรงเรียน ผ่านการรบั รองการประเมนิ ภายนอก
ระดับปฐมวัย 15 โรงเรียนจากการประเมนิ 100 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.00 (โรงเรียนระดบั ปฐมวัยโอนไป
สงั กดั ท้องถิน่ 2 โรงเรียน และอีก 6 โรงเรยี นไม่มีนักเรียนในระดับปฐมวยั จงึ เหลือเพยี ง 100 โรงเรียน) สว่ นระดับ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกทุกโรงเรยี น ผา่ นการรับรอง 15 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ
14.02
สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
บทที่ 3
วิธีดำเนินการ
การดำเนนิ งานการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
ประถมศกึ ษาตาก เขต 1 ไดร้ ับการประสานงาน สนับสนนุ สง่ เสรมิ และใหก้ ารดแู ลจากบทบาทของสำนักงาน
เขตพืน้ ท่ีการศึกษาตลอดทั้งปีการศึกษา ดังน้ี
1.สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยกลุม่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการ
จดั การศกึ ษา ดำเนนิ การโดยกลมุ่ งานส่งเสริมพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ดำเนินการจัดประชมุ
ให้ความรู้ และแนวทางปฏิบตั ิในการปรับเปล่ียนมาตรฐานการศกึ ษา และแนวการประกนั คณุ ภาพภายใน
สถานศกึ ษาให้กับผู้อำนวยการโรงเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษาละ 1-2 คร้ัง
2.สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 โดยกลมุ่ นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการ
จัดการศกึ ษา ดำเนินการโดยกล่มุ งานส่งเสริมพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา แจง้ หนงั สือราชการ
ใหโ้ รงเรยี นภายในสงั กัด ดำเนินการการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาตาม 6 ข้นั ตอน ดังน้ี
2.1 การกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
2.2 การจัดทาํ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาทม่ี งุ่ คุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา
2.3 การดําเนินงานตามแผนท่ีกาํ หนดการไว้
2.4 การประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
2.5 การติดตามผลการดำเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
2.6 การจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง ให้แก่หนว่ ยงานต้นสงั กัด
3.สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการ
จัดการศึกษา ดำเนินการโดยกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ออกนิเทศติดตาม
การจัดการเรียน การสอน และการดำเนินงานตามนโยบายการศึกษาของโรงเรียน โดยการดำเนินงานการ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็นหนึ่งในนโยบายการศึกษาและเป็นปัจจัยหลักในการ
ดำเนินการขับเคล่ือนการดำเนินงานภายในโรงเรียน ซ่ึงสอดคล้องกับงานหลัก 4 ฝ่ายงานของโรงเรียน ได้แก่
งานวิชาการ งานการเงินพัสดุ งานบุคล และงานบริหารทั่วไป ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาและยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษา
4.สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการ
จัดการศึกษา ดำเนินการโดยกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา แจ้งโรงเรียนเป็น
หนังสือราชการให้โรงเรียนจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และส่งรายงานดังกล่าวมาที่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ตามวันเวลาท่ีกำหนดในหนังสือราชการที่แจ้งโรงเรียน
และให้โรงเรียนส่งไฟล์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเข้าในระบบ E-Sar สมศ. สำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) เพื่อเป็นข้อมลู ในการประเมินภายนอก
สรปุ ผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 11 -
5.สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการ
จัดการศึกษา ดำเนินการโดยกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา นำรายงานการ
ประเมินตนเองของสถานศึกษา ที่โรงเรียนส่งมายังต้นสังกัด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เน้ือหาวิธีการกระบวนการ
ในการดำเนินการพัฒนาผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษา และสรุปผลระดับคุณภาพการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาในระดับภาพรวมของมาตรฐานการศึกษาและแต่ละมาตรฐานประกอบไปด้านมาตรฐานท่ี 1, 2
และ 3 ทงั้ สองระดับคือ ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั และระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน
6.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 โดยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการ
จัดการศึกษา ดำเนินการโดยกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา นำผลท่ีได้จาการ
วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และผลสรุประดับคุณภาพการดำเนินงานการประกันคุณภาพของทุกโรงเรียน รวบรวม
เรยี งเรียงและสรปุ เป็นรายงานผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงาน
เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
7.นำรายงานผลรายงานผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในสังกัด
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 เผยแพร่หน้าเว็บไซต์ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตาก เขต 1 และช่องทางอน่ื ๆ
8.สถิตทิ ่ใี ชใ้ นกาวเิ คราะห์ข้อมูล
8.1 คา่ ร้อยละ (Percentage)
8.2 ค่าเฉล่ยี (Arithmetic Mean : )
สรุปผลการสังเคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
บทท่ี 4
ผลการสังเคราะห์รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา (SAR) ปกี ารศึกษา 2563
การจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) นับว่ามีความสำคัญและจำเป็นท่ีโรงเรียนต้อง
ดำเนินการ ซึ่งเป็นไปตามความในหมวด 6 มาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ
ที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กำหนดให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเน่ือง
โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน
เพ่ือนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย
ดำเนินการตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวง เร่ือง การ
ประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ในวนั ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 และมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เล่ม 135 ตอนที่ 11 ก เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 ซ่ึงสถานศึกษาต้องดำเนินงานประกันคุณภาพ
การศกึ ษาภายในสถานศึกษามี 6 ภารกจิ ประกอบดว้ ย ประกอบดว้ ย
1. การกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2. การจดั ทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมงุ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
3. การดําเนินการตามแผนท่ีกําหนดไว้
4. การประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
5. การติดตามผลการดำเนินการเพอ่ื พฒั นาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
6. การจดั ส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด
ซ่งึ หนว่ ยงานต้นสงั กดั หรือหน่วยงานท่กี าํ กับดแู ลสถานศึกษา มีหนา้ ท่ีในการให้คาํ ปรกึ ษา ช่วยเหลือ
และ แนะนําสถานศึกษา เพ่ือให้การประกนั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ในฐานะที่เป็นหน่วยงานต้นสังกัดจึงได้
ดำเนินการสังเคราะห์รายงานการคุณภาพการศึกษาประจำปี 2563 เพ่ือนำผลการประเมินคุณภาพภายในไป
พฒั นาต่อไป ซง่ึ รายงานผลการสังเคราะห์ ฯ จะนำเสนอเปน็ 2 ตอนดังน้ี
ตอนที่ 1 ผลการสังเคราะห์รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ระดับปฐมวยั
ตอนท่ี 2 ผลการสังเคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
สรปุ ผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 13 -
ตอนท่ี 1 ผลการสงั เคราะห์รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ระดับปฐมวยั
ตารางท่ี 10 แสดงผลการประเมินตามระดบั คุณภาพรายมาตรฐานของสถานศึกษา 100 โรงเรียน
ระดับคุณภาพ / โรงเรียน
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ยอด ดเี ลศิ ดี ปาน กำลัง
เย่ยี ม กลาง พัฒนา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก 40 37 23 - -
-
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 19 52 29 - -
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสำคญั 20 51 29 -
จากตารางที่ 11 พบวา่ มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยทั้ง 3 มาตรฐาน สว่ นใหญ่มผี ลการประเมนิ
ระดับดเี ลศิ โดยอธบิ ายเป็นรายมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั
ยอดเยย่ี ม จำนวน 40 โรงเรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มผี ลการประเมินอยใู่ น
ระดบั ดีเลศิ จำนวน 52 โรงเรียน และมาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคัญ มีผลการ
ประเมนิ อยูใ่ นระดับดเี ลศิ จำนวน 51 โรงเรยี น
ตารางท่ี 11 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา
ระดบั การศกึ ษา ผลการประเมินคุณภาพภายในมาตรฐานการศึกษาภาพรวม (จำนวนแหง่ /ร้อยละ)
ผลการประเมนิ ยอดเย่ียม ดเี ลศิ ดี ปาน กำลงั รวม
กลาง พฒั นา
100
ระดบั ปฐมวัย 23 51 26 - -
(รอ้ ยละ23.00) (ร้อยละ51.00) (รอ้ ยละ26.00)
จากตารางท่ี 11 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษาในภาพรวมพบวา่ สว่ นใหญ่
โรงเรยี นประเมินตนเองในระดับดีเลศิ ถงึ 51 โรงเรียนคดิ เป็นร้อยละ 51.00
หมายเหตุ 1.สถานศึกษา 100 แห่ง ทเี่ ปิดสอนระดบั ปฐมวัย จากสถานศึกษาท้ังหมด 108 แห่งในสงั กัด
2.สถานศึกษา 8 แห่งที่ไม่ได้เปิดสอนระดบั ปฐมวัย ได้แก่
2.1 ร.ร.เสริมปัญญา และร.ร.ชมุ ชนบ้านสมอโคน โอนระดับปฐมวัยให้ทอ้ งถ่ินจัดการศกึ ษา
2.2 ร.ร.บ้านหนองชะลาบ ไปเรยี นรวมกับ ร.ร.วัดพระธาตนุ อ้ ย และไม่มีนักเรยี น
2.3 ร.ร.บ้านท้องฟา้ ไปเรยี นรวมกับ ร.ร.บ้านใหม่ และไมม่ ีนักเรียน
2.4 ร.ร.บ้านสนั กลาง ไปเรียนรวมกับ ร.ร.ยางโองน้ำวิทยาคม และไมม่ นี ักเรียน
2.5 ร.ร.บ้านทงุ่ กง และ ร.ร.บา้ นสบยม เรยี นรวมกับ ร.ร.อนบุ าลวงั เจ้า และไม่มนี ักเรียน
2.6 ร.ร.ทา่ ปยุ ตกไมม่ เี ด็กระดับปฐมวัยและไปเรยี นรว่ มกบั ร.ร.อนบุ าลทา่ ปยุ
สรุปผลการสังเคราะห์รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 14 -
ตอนท่ี 2 ผลการสงั เคราะห์รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
ตารางที่ 12 แสดงผลการประเมินตามระดบั คณุ ภาพ รายมาตรฐานของสถานศึกษา 107 โรงเรียน
ระดับคุณภาพ / โรงเรยี น
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ยอดเย่ียม ดเี ลศิ ดี ปาน กำลงั
กลาง พฒั นา
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รยี น
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 9 39 56 3 -
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ -
9 53 45 - -
ผู้เรยี นเป็นสำคญั
9 51 46 1
จากตารางท่ี 12 พบวา่ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขันพนื้ ฐานทัง้ 3 มาตรฐาน ส่วนใหญม่ ี
ผลการประเมนิ ระดบั ดีเลศิ โดยอธบิ ายเปน็ รายมาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รียน มีผลการ
ประเมินอยู่ในระดับดี จำนวน 56 โรงเรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการมีผลการ
ประเมนิ อยูใ่ นระดับดีเลิศ จำนวน 53 โรงเรยี น และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้
ผู้เรียนเป็นสำคญั มผี ลการประเมินอยูใ่ นระดับดเี ลิศ จำนวน 51 โรงเรยี น
ตารางท่ี 13 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
ระดบั การศึกษา ผลการประเมนิ คุณภาพภายในมาตรฐานการศึกษาภาพรวม (จำนวนแหง่ /ร้อยละ)
ผลการประเมิน ยอดเยี่ยม ดเี ลศิ ดี ปาน กำลงั รวม
กลาง พฒั นา 107
ระดบั ข้ันพ้ืนฐาน 7 45 55 - -
(รอ้ ยละ 6.54) (รอ้ ยละ 42.06) (ร้อยละ 51.40)
จากตารางท่ี 13 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาในภาพรวมพบวา่ ส่วนใหญ่
โรงเรียนประเมนิ ตนเองในระดับดี 55 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 51.40
สรุปผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
บทท่ี 5
สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ
สรปุ การสงั เคราะหผ์ ลการรายงานประเมนิ ตนเอง
ระดบั ปฐมวัย
จากการสงั เคราะห์ผลรายงานการประเมนิ ตนเองระดบั การศึกษาปฐมวัยพบวา่ สถานศึกษาในสงั กัด
ทีเ่ ปดิ การสอนในระดับปฐมวยั จำนวน 100 โรงเรียน มกี ารดำเนินการตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั
จำแนกตามระดบั คณุ ภาพ ดังนี้
ระดับคุณภาพยอดเยีย่ ม มผี ลการประเมินมาตรฐานเรียงลำดับจากจำนวนมากไปหาน้อยได้ ดังนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ จำนวน 40 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.00 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ่ี
เน้นเดก็ เป็นสำคัญ จำนวน 20 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 20.00 และ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการ
จัดการ จำนวน 19 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 19.00 ตามลำดับ
ระดับคณุ ภาพดเี ลศิ มผี ลการประเมินมาตรฐานเรียงลำดับจากจำนวนมากไปหาน้อยได้ ดงั น้ี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ จำนวน 52 โรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 52.00 มาตรฐานที่ 3
การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สำคัญ จำนวน 51 โรงเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ 51.00 และ มาตรฐานที่ 1
คุณภาพของเด็ก จำนวน 37 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.00 ตามลำดบั
ระดับคณุ ภาพดี มีผลการประเมินมาตรฐานเรยี งลำดบั จากจำนวนมากไปหาน้อยได้ ดังน้ี มาตรฐานท่ี
2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ , มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ มจี ำนวน 29
โรงเรยี นเทา่ กนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.00 และ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก จำนวน 23 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ
23.00 ตามลำดับ
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
จากการสังเคราะห์ผลรายงานการประเมินตนเองระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพบว่า สถานศึกษาใน
สังกัดที่เปิดการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 107 โรงเรียน มีการดำเนินการตามมาตรฐาน
การศึกษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน จำแนกตามระดับคณุ ภาพ ดงั น้ี
ระดบั คุณภาพยอดเยีย่ ม มีผลการประเมินมาตรฐานจำนวนโรงเรยี นเท่ากัน ดงั น้ี มาตรฐานท่ี 1
คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารการจดั การ และมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการ
สอนท่เี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ จำนวน 9 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 8.41
ระดับคุณภาพดีเลศิ มผี ลการประเมินมาตรฐานเรียงลำดับจากจำนวนมากไปหาน้อยได้ ดงั นี้
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารการจดั การ จำนวน 53 โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 49.53 มาตรฐานท่ี 3
กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั จำนวน 51 โรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 47.66 และ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน จำนวน 39 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.45 ตามลำดบั
สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 16 -
ระดบั คุณภาพดี มผี ลการประเมนิ มาตรฐานเรียงลำดบั จากจำนวนมากไปหาน้อยได้ ดังน้ี
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน จำนวน 56 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 52.34 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ
จัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั จำนวน 46 โรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 42.99 และ มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบริหารการจดั การ จำนวน 45 โรงเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ 42.06 ตามลำดบั
ระดบั คุณภาพปานกลาง มีผลการประเมนิ มาตรฐานเรียงลำดับจากจำนวนมากไปหาน้อยได้ ดงั นี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน จำนวน 3 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.80 และ มาตรฐานที่ 3
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั จำนวน 1 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 0.93
จึงอาจกล่าวได้ว่าโรงเรียนส่วนใหญ่ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 1 ดำเนินการ
ประเมินตนเอง ผู้เรียนมีคุณภาพระดับดีขึ้นไป ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นเด็ก และ
ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ และโรงเรียนมีกระบวนการบริหารและการจัดการทดี่ ี จึงสง่ ผลต่อคุณภาพผู้เรียน
ผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาในภาพรวมพบว่า
1.ผลการประเมินคุณภาพภายในมาตรฐานการศึกษาภาพรวม ระดับปฐมวัยจำแนกตามระดับคุณภาพ
และเรยี งลำดบั จากค่าร้อยละมากไปหาน้อย ระดับคณุ ภาพดเี ลศิ จำนวน 51 โรงเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ 51.00
ระดบั คณุ ภาพดี จำนวน 26 โรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.00 และระดบั คณุ ภาพยอดเยยี่ ม จำนวน 23 โรงเรียน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 23.00
2.ผลการประเมินคุณภาพภายในมาตรฐานการศกึ ษาภาพรวม ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน จำแนกตาม
ระดบั คุณภาพและเรยี งลำดบั จากค่าร้อยละมากไปหาน้อย ระดับคณุ ภาพดี จำนวน 55 โรงเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ
51.40 ระดบั คณุ ภาพดเี ลิศ จำนวน 45 โรงเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ 42.06 และระดับคณุ ภาพยอดเยี่ยม จำนวน 7
โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.54
จากการสังเคราะหผ์ ลการรายงานประเมินตนเอง สามารถสรุปไดด้ ังน้ี
1. ผลการประเมนิ ดา้ นระดับการศึกษาปฐมวัย มรี ะดับคุณภาพ ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก มีระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ
จดุ เด่น
เด็กปฐมวัย มกี ารแต่งกายสะอาด มีความร่าเร่งแจ่มใส และมีระเบียบวินัยสามารถปฏิบัติตามข้อตกลง
ของห้องเรียนได้เป็นอย่างดี สามารถร่วมกิจกรรมสังคมได้อย่างมีสุข มีพัฒนาการด้านน้ำหนักและส่วนสูง
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สามารถใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเน้ือเลก็ ได้
อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน เหมาะสมกับสุขภาพและวัย มีสุขภาพแข็งแรงมีทักษะในการใช้
ประสาทสัมผัสท้ัง 5 และมีสุขนิสัยการรักษา สุขภาพอนามัยที่ดี มีสุขภาพจิตที่ดี ร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่มใส
มีความสุข มีอารมณ์ที่ดีต่อตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน เด็กปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม และของ
ชั้นเรียน รู้จักแบ่งปันและช่วยเหลือผู้อ่ืนตามโอกาส สนใจเรียนรู้ส่ิงรอบตัว ซักถามอย่างต้ังใจ และรักการ
เรยี นรมู้ คี วามคิดรวบยอดเกย่ี วกับส่ิงต่าง ๆ ทีเ่ กิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทกั ษะทางภาษาท่เี หมาะสมกับ
สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 17 -
วัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ และ
บรรลุตามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากำหนดไดต้ ามเป้าหมายได้ตามมาตรฐานของสถานศึกษาสว่ นใหญ่กำหนด
จุดทค่ี วรพัฒนา
ผู้เรียนยังขาดทักษะด้านการคิดแก้ปัญหา คิดรวบยอด คิดริเร่ิมสร้างสรรค์ พัฒนารูปแบบการจัด
กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมแต่ละปีเพื่อเติมเต็มให้มีความสมบูรณ์เพ่ือนำไปพัฒนาเด็กต่อไปการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น การพัฒนาให้เด็กปฐมวัยทุกคนให้มีพัฒนาการ
ทางด้านร่างกายที่เหมาะสมกับวัยโดยเฉพาะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ การพัฒนาให้เด็กปฐมวัยทุกคนสามารถ
แก้ปัญหาบอกวิธีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลได้สมวัย การส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยทุกคนมีพัฒนาการทักษะ
ความรู้โดยพัฒนาสมองด้านซ้ายและด้านขวาท่ีถูกต้องตามหลักการพัฒนาเด็ก นำนวัตกรรมมาใช้ในรูปแบบ
ผสมผสานให้เด็กได้พัฒนาท้ัง 4 ด้าน ส่งผลให้เด็กทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างสูงสุดเต็มศักยภาพ เด็กเรียนรู้
อยา่ งมคี วามสขุ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มรี ะดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ
จดุ เด่น
สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสอดคล้อง
บริบทและความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก โดยท่ีผู้บริหารมีความมุ่งม่ันที่จะพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและ
คุณภาพเด็กปฐมวัยมีความเป็นผู้นำและมีความรู้ความสามารถในการบริกหารจัดการ สถานมีการพัฒนาครูและ
บุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณ์ การประเมินพัฒนาการ และมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็กและ
ครอบครัว สถานศึกษาจัดให้มีครูปฐมวัยครบชั้นและเพียงพอต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่เด็ก
ปฐมวัย สถานศกึ ษาการจัดสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกห้องเรยี นท่ีคำนงึ ถึงความปลอดภัย มสี ่อื การเรียนรู้
ท่ีหลากหลายท่ีช่วยพัฒนาเด็กได้รอบด้าน จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดรับกับมาตรฐานท่ี
สถานศึกษากำหนด โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานและคณะกรรมการเครือข่าย
ผู้ปกครองมคี วามต้ังใจในการพฒั นาสถานศึกษา
จดุ ที่ควรพฒั นา
สถานศึกษาควรปรับสภาพแวดล้อมภายในและนอกห้องเรียนให้ปลอดภัย สะอาด เอื้อต่อการจัดการเรียนการ
สอน จัดให้มีเครื่องเล่นสนามให้เพียงพอและเหมาะกับบริบทของโรงเรียน สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบ และการขับเคล่ือนคุณภาพการจัด
การศกึ ษาให้ชัดเจน จัดให้เป็นแหลง่ เรียนรทู้ ม่ี ีคุณภาพและยั่งยนื กำหนดแผนการพฒั นาครู และบุคลากร ควรมี
การแต่งต้ังคณะกรรมการในการดำเนนิ การทำการประเมินพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวยั สถานศึกษา
ขาดเกณฑก์ ารตัดสินทีส่ ามารถเทยี บเคยี งเปน็ ค่ารอ้ ยละให้มีความเป็นมาตรฐาน
สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 18 -
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เป็นสำคัญ มีระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
จุดเดน่
ครูปฐมวัยมีความตั้งใจในการส่งเสริมการพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัยมีความเป็นผู้นำอย่าง
เป็นธรรมชาติและมีความสามารถในการบริหารจัดการ ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่
สง่ เสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ มีกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้านท้ัง
ด้านร่างกายด้านอารมณ์จิตใจด้านสังคมและด้านสติปัญญาโดยใช้กระบวนการ STEM ครูจัดประสบการณ์ตาม
ความตอ้ งการความสนใจความสามารถตอบสนองต่อวิธกี ารเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบ จัด
บรรยากาศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย ที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ มีการ
ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้อย่างน้อย 4
มุม โดยผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วม เด็กปฐมวัยสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองมีความใจเย็นในการ
แสดงความสามารถในการพดู สามารถช่วยเหลือตนเองเบ้อื งตนในการใช้ชีวิตประจำวันอย่างสมวัย มีจิตสำนกึ ใน
เรือ่ งความกตัญญตู ่อบดิ ามารดาและผู้มีพระคุณ
จุดท่ีควรพัฒนา
การจัดกิจกรรมโดยใช้แหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เพื่อให้เด็กได้รับโอกาสและประสบการณ์ ในการ
เรยี นรู้สิ่งตา่ งๆ ได้มากขน้ึ ครคู วรนำภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ให้เข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้
และเน้นความเป็นไทยให้มากขึ้น การใช้เพลงเป็นสื่อในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ยังไม่เพียงพอต่อการ
ส่งเสริมพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย การจัดทำทะเบียนส่ือของครูปฐมวัยทุกคน การบันทึกหลังการจัด
ประสบการณ์ท่ีครอบคลุมกับพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่องในการ
บนั ทึก และควรมสกี ารสง่ เสริมพัฒนาทางด้านกายภาพ อาคารเรียนปฐมวยั หอ้ งเรยี น หอ้ งนำ้ สนามเด็กเล่น
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
1. พฒั นารูปแบบการจัดกจิ กรรมหลกั 6 กิจกรรมแตล่ ะปีเพ่ือเติมเต็มให้มคี วามสมบรู ณเ์ พ่อื นำไป
พฒั นาเดก็ ต่อไปการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ การพัฒนาผเู้ รียนเป็นรายบคุ คลให้ชดั เจนขึน้
2. การส่งเสริมให้ครูเหน็ ความสำคัญของการจดั การเรยี นร้โู ดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดทำการวิจัย
ในชั้นเรียนเพ่ือพัฒนาผ้เู รียนให้สามารถเรียนรไู้ ดเ้ ต็มศักยภาพ
3. การพัฒนาบคุ ลากรโดยสง่ เข้ารบั การอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรูใ้ นงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายตดิ ตามผลการ
นำไปใชแ้ ละผลท่เี กิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนอื่ ง
4. การพัฒนาสถานศกึ ษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน
5. นำผลการประเมนิ ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้การจัดประสบการณ์ที่มี
ประสทิ ธภิ าพ
สรุปผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 19 -
2. ผลการประเมินระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มรี ะดบั คณุ ภาพ ดี
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น มีระดับคุณภาพ ดี
จุดเดน่
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ ให้เป็นไปตาม
ศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกับผู้เรียน และเน้นเร่ืองการอ่านออก เขียนได้ของผู้เรียนเป็นเร่ืองสำคัญที่สุด และจัดกิจกรรมเพ่ือ
ส่งเสริมผู้เรียนอย่างหลากหลายทำให้เกิดผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามท่ีสถานศึกษากำหนด
มีสุขภาพกายและจิตที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึ่งประสงค์ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบ วินัย เคารพกฎกติกา มารยาทของสังคม
มีภูมิคุ้มกันตนเองโดยสถานศึกษาได้จัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริม เช่น กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด กิจกรรมกีฬาสี
ระดับโรงเรียน กลุ่มโรงเรียน และระดับเขตพื้นที่การศึกษา กิจกรรมโรงเรียนส่งเสรมิ สุขภาพ กิจกรรมส้วมสุข
สนั ต์เป็นตน้ ผู้เรยี นมีความภาคภูมใิ จในท้องถิ่นในความเป็นไทย และเห็นคุณคา่ เกี่ยวกับภูมิปญั ญาไทยและแสดงออก
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในชีวติ ประจำวนั
จุดที่ควรพัฒนา
การพัฒนาความสามารถในวิธีการเรียน วิธีคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และแก้ปญั หาของผู้เรียน โดยการส่งเสริมให้ครูมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสง่ เสรมิ พัฒนาทักษะการคิด
ของผู้เรียนด้วยเครื่องมือการสอนคิดการพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมมาใช้ในการ
แก้ปัญหา โดยจัดกิจกรรมการประกวดในสถานศึกษา จัดหาเวทีให้นักเรียนได้เข้าประกวดแข่งขัน และมีการ
เผยแพร่นวัตกรรมท่ีผู้เรียนสร้างขึ้นในเวทีการแข่งขัน และผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาตอนต้นต้องเร่งพัฒนา
ด้านการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์สื่อความหมายและแลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และใน
ระดับช้ันมัธยมตอนตน้ ต้องได้รับการพัฒนาและสง่ เสรมิ การใช้ทักษะในการดำเนินชีวติ ในสังคม ไม่หลงใหลกับ
คา่ นิยมต่างชาติ และสถานศึกษาควรมีโครงการ/งานที่รองรับกิจกรรมที่ส่งเสรมิ สนับสนนุ เพื่อใหผ้ ู้เรียนมที ักษะ
ในการฟังพูดอ่านเขียน สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นมีทักษะหลากหลายในการทำงาน สามารถทำงาน
ร่วมกับคนอ่ืนได้ไม่ว่าจะเป็นงานด้านศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และการจัดการเรียนการสอนเร่ือง
วิทยาการคำนวณ การรู้เท่าทันเทคโนโลยี และการเรียนการสอนให้มีคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
และเตรยี มพรอ้ มผเู้ รียนให้มีความรู้ความสามารถทจี่ ะพร้อมรับการใช้หลกั สูตรสมรรถนะโดยให้ผเู้ รียที่ไดร้ ับการ
จดั การเรียนการสอนและการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมมีองค์ความรู้ มีทักษะชีวิต มีปฏิภาณไหวพริบในการใช้ชิวิต
และศึกษาตอ่
สรุปผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 20 -
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มรี ะดับคุณภาพ ดี
จดุ เด่น
ผู้บริหารสถานศึกษาส่วนใหญ่มีความตั้งใจ มีความมุ่งมั่นมีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศน์ที่ดีในการ
บริหารงาน โดยโรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนิค การประชุมท่ี
หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดับสมอง การประชุมกลุ่ม เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วน
ร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ท่ีชัดเจนมีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปีท่ีสอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบาย
การปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา
ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการ
ดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล
เพอื่ ใชเ้ ป็นหลกั ในการวางแผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา โดยสถานศกึ ษาต้องสรา้ งใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้
จดุ ที่ควรพัฒนา
การส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพด้วยการพัฒนาทักษะกระบวนการ
เรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการสอนคิดของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรม และการมีวิทย
ฐานะท่ีสูงข้ึน มีการนิเทศ ติดตามงานเพื่อนำมาวิเคราะห์ หาแนวทาง หรอื วิธีการในการปรับปรุงพัฒนางานให้
มีประสิทธิภาพสูงข้ึน ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานภายในให้มีความ
คล่องตัวเพื่อส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงขึ้นโครงสร้างการบริหารงานการ
พัฒนาการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ท้ังด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีเน้น
คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะ
ชีวิตสามารถอยู่ในสังคมร่วมกันอย่างมีความสุข และเพิ่มเติมในส่วนของการพัฒนาครูให้เป็นนักวิชาการอย่าง
ต่อเน่ือง และพัฒนาตนเองในด้านบทบาทของตนเองในการการสอน การปฏิบัติงาน และการมีทัศนคติท่ีดีต่อ
งานประกนั โดยการสรา้ งความเขา้ ใจของทา่ นผู้อำนวยการ และหนว่ ยงานต้นสังกัด
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ มรี ะดบั คณุ ภาพ ดี
จุดเด่น
ครูมีความตั้งใจ มุ่งม่ันในการพัฒนาตนเองอยู่เสมอในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มเวลาและความสามารถ
โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ โดยการคิดได้ปฏิบัติจริงจากรูปแบบการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน และการบูร
ณาการสอนวทิ ยาศาสตร์กับรูปแบบการสอนแบบ STEM นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมไดล้ งมือปฏิบัติจริงสามารถสรุป
ความรู้ไดด้ ว้ ยตนเองครูทกุ คนได้รับการนเิ ทศภายในการพฒั นาการเรียนการสอน
สรปุ ผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
- 21 -
จดุ ที่ควรพัฒนา
ครคู วรสร้างความตระหนกั ในเรอื่ งความสำคัญของมาตรฐานการศึกษา และคา่ เปา้ หมายตามที่ประกาศ
ไว้อย่างจรงิ จัง โดยสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
สถานศึกษา และครูควรกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับ
จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระสำคัญของบทเรียน และให้ครอบคลุมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8
ประการ สมรรถนะสำคญั 5 ด้าน รวมท้ังค่านิยม 12 ประการ ทโ่ี รงเรียนกำหนดไว้ เม่ือจบการศึกษา และ
ควรให้ข้อมูลย้อนกลับด้านการเรียน สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยม ให้แก่
นกั เรยี นทันที เพื่อให้นักเรยี นนำไปใชว้ ิเคราะห์ตนเองและพัฒนาในส่วนที่ตนเองบกพรอ่ งอย่างต่อเน่ือง ครูควร
ปรบั กระบวนการเรยี นเปลี่ยนวิธีการสอนเพื่อใหผ้ เู้ รียนได้ศกึ ษาคน้ คว้า ด้วยระบบการโคชชิง่ และสร้างชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ ซ่ึงครูจะต้องพิจารณาตามประเด็นพิจารณาท่ีประกอบอยู่ในมาตรฐานท่ี 1 จึงจะ
สอดคลอ้ งกัน ครจู ะได้ทราบแนวทางว่าจะพัฒนาผูเ้ รยี นในเรื่องใด
ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
1. สร้างความตระหนักให้นกั เรยี นเห็นความสำคัญของการเรยี นรู้ เนอื่ งจากการเรียนรู้ยังเป็นเคร่ืองมือ
ในการพฒั นาการเรียนในระดับสงู ตอ่ ไป และยังเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ในอนาคต ดังนน้ั สถานศึกษาจึงควร
เนน้ ยำ้ ให้นักเรียนเหน็ ความสำคัญของการเรียน การพฒั นาตนเอง
2. การส่งเสริมให้ครเู ห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญมีการวเิ คราะห์
ผู้เรียนรายบุคคล และนำผลมาวางแผนในการพัฒนารายบุคคลโดยการจัดทำการวจิ ัยในชั้นเรียนเพอื่ พฒั นาผูเ้ รียน
ให้สามารถเรยี นรไู้ ด้เตม็ ศกั ยภาพ และพัฒนาในภาพรวม
3. การพัฒนาบุคลากรโดยสง่ เขา้ รบั การอบรม แลกเปลย่ี นเรียนรใู้ นงานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ตดิ ตามผล
การนำไปใชแ้ ละผลทเี่ กิดกับผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง
4. สถานศึกษาส่วนใหญ่มีห้องปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ ควรพัฒนาให้เป็นแหลง่ เรียนรู้ทสี่ มบรู ณแ์ บบ
และใชป้ ระโยชน์อยา่ งคมุ้ คา่ ทั้งในดา้ นของผูเ้ รียน ครู และการบริหารจัดการเรยี นรู้สชู่ มุ ชน สง่ เสรมิ ให้มีการการ
พัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ของชมุ ชน
5. ครูควรจัดการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพทางด้านทักษะกระบวนการคิด
ท้งั ระดบั พื้นฐานและระดับสงู เช่นการสอนแบบโครงงานที่เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สถานศึกษา
ส่วนใหญม่ แี หล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายทศิ ทางในการสอนแบบโครงงาน จึงควรจดั ให้สอดคล้องกับแหล่งเรยี นรทู้ ่มี ี
อยู่ในชุมชนเพ่ือผู้เรียนจะได้แสวงหาความรู้แสวงหาคำตอบได้และลักษณะโครงงานเน้นรูปแบบที่ใช้ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อฝึกการสังเกตการเก็บรวบรวมข้อมูลการแก้ปัญหาและค้นพบคำตอบหรือ
ค้นพบองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง
6. ครคู วรจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นทักษะการฟัง พูด อ่าน เขยี นอย่างจริงจัง ทั้งภาษาไทยและภาษา
ต่างประเทศ มลี ำดับขนั้ ตอนในการจัดการเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ จัดสอน ซ่อมเสริม-ฝึก-ย้ำ-ซำ้ -ทวน เป็นระยะ
และต่อเนื่อง รวมทั้งมกี ารตดิ ตาม วัดและประเมินผลผูเ้ รยี นอย่างสมำ่ เสมอ และสอดคล้องกับการพฒั นาผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21
สรุปผลการสังเคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ภาคผนวก
สรปุ ผลการสงั เคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
ชอ่ื สถานศกึ ษา ภาพรวม ระดับ มาตรฐานท่ี มาตรฐานท
ลำดบั (ชอื่ เต็มของสถานศึกษา ระดบั คุณภาพ 1 2
ปฐมวัย
ไมต่ ้องใสค่ ำวา่ โรงเรียน) ดเี ลิศ 4 4
4 ดีเลศิ 4 4
1 บา้ นตลุกกลางทงุ่ 4 5 5
2 บา้ นเนนิ มะลน่ื 5 ยอดเยีย่ ม 5 4
3 บ้านคลองสกั 4 5 4
4 อนุบาลบ้านบ่อไม้หวา้ 4 ดเี ลศิ 4 4
5 ชมุ ชนบ้านปา่ มะม่วง 4 ดีเลิศ 4 4
6 บ้านลานห้วยเด่อื 4 ดเี ลิศ 5 5
7 บ้านตลกุ ป่าตาล 5 ดีเลิศ 3 3
8 บ้านโป่งแดง 3 4 3
9 บา้ นหนองนกปีกกา 3 ยอดเย่ยี ม 5 3
10 บา้ นหนองกระทุ่ม 4 4 4
11 บ้านโพรงตะเข้ 4 ดี
12 บ้านชะลาดระฆัง ดี
ดีเลศิ
ดีเลิศ
สร
าแต่ละแห่ง ปีการศึกษา 2563 มีรายละเอียด ดังนี้
ที่ มาตรฐานที่ ภาพรวมระดับ ระดับ มาตรฐานท่ี มาตรฐานที่ มาตรฐานท่ี
3 การศึกษาขน้ั คุณภาพ 1 2 3
พน้ื ฐาน
4 3 ดี 3 3 3
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
5 4 ดีเลศิ 3 3 5
4 3 ดี 4 4 3 - 23 -
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
5 5 ยอดเย่ยี ม 5 5 5
3 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 4
4 3 ดี 3 3 3
รุปผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ชื่อสถานศึกษา ภาพรวม ระดับ มาตรฐานที่ มาตรฐานท
ลำดบั (ชือ่ เต็มของสถานศกึ ษา ระดับ คณุ ภาพ 1 2
ปฐมวยั
ไมต่ อ้ งใสค่ ำว่าโรงเรยี น) ดี 3 3
3 5 5
13 บ้านมูเซอ 5 ยอดเยย่ี ม
14 บา้ นลานสาง ยอดเยยี่ ม 5 4
5 3 3
15 บ้านหว้ ยเหลือง ดี
16 บา้ นหนองแขม 3
บ้านห้วยน่ึง (เรยี นรวมกับ 5 ยอดเยยี่ ม 5 5
17 บ้านลานสาง)
18 บา้ นวงั มว่ ง 3 ดี 3 3
19 บา้ นหนองกระโห้ 4 ดเี ลิศ 4 4
20 ชมุ ชนบา้ นไม้งาม 4 ดเี ลิศ 4 4
21 ทรพั ยส์ มบรู ณ์พทิ ยาคม 5 ยอดเยี่ยม 5 4
22 บา้ นลานเตง็ 5 ยอดเย่ียม 5 5
23 บา้ นหนองร่ม 5 ยอดเยี่ยม 5 5
24 บ้านวงั ประจบ 3 ยอดเยี่ยม 3 3
สร
ที่ มาตรฐานท่ี ภาพรวมระดบั ระดบั มาตรฐานที่ มาตรฐานท่ี มาตรฐานท่ี
3 การศกึ ษาขัน้ คณุ ภาพ 1 2 3
พ้นื ฐาน
3 3 ดี 3 3 3 - 24 -
5 3 ดี 3 3 4
ปาน
4 2 กลาง 3 3 2
3 3 ดี 3 3 3
5 3 ดี 3 3 4
3 3 ดี 3 3 3
4 3 ดี 3 3 3
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
5 3 ดี 4 4 3
5 4 ดีเลิศ 4 4 4
5 4 ดเี ลิศ 4 4 4
3 3 ดี 3 3 3
รปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ชอื่ สถานศึกษา ภาพรวม ระดับ มาตรฐานที่ มาตรฐานท
ลำดับ (ชอื่ เต็มของสถานศึกษา ระดบั คณุ ภาพ 1 2
ปฐมวยั
ไม่ตอ้ งใส่คำวา่ โรงเรียน) ดเี ลิศ 4 4
4 ดเี ลิศ 3 4
27 บา้ นสะแกเครือ 4 ดีเลิศ 4 5
28 บา้ นเกาะอา้ ยดว้ น 4 ดเี ลิศ 4 4
29 บา้ นนำ้ ด้วน 4 ดีเลิศ 5 4
30 ชมุ ชนบ้านวังหนิ 4 ดเี ลิศ 5 4
31 บ้านท่าไม้แดง 4 3 3
32 บา้ นหนองบัวใต้ 3 ดี 3 3
33 บา้ นคลองหว้ ยทราย 3 ดี 3 3
34 บ้านทา่ เล่ 3 ดี 3 3
35 เด่นวทิ ยา 3 ดี 5 5
36 วัดปากห้วยไม้งาม 5 4 4
37 บ้านหนองบวั เหนือ 4 ยอดเย่ยี ม 5 4
38 ตากสนิ ราชานสุ รณ์ 5 5 4
39 อนบุ าลตาก 4 ดเี ลิศ 4 3
40 ศรวี ิทยา 4
41 ชูวิชาราษฏร์ ยอดเย่ียม
ดเี ลิศ
ดเี ลิศ
สร
ที่ มาตรฐานที่ ภาพรวมระดับ ระดับ มาตรฐานที่ มาตรฐานที่ มาตรฐานท่ี
3 การศึกษาขัน้ คณุ ภาพ 1 2 3
พนื้ ฐาน
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
4 4 ดีเลิศ 5 5 4
4 4 ดเี ลิศ 5 5 4
4 3 ดี 3 3 3
4 3 ดี 3 3 3 - 25 -
5 3 ดี 3 3 4
3 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
5 3 ดี 3 3 3
4 3 ดี 3 3 3
5 5 ยอดเย่ยี ม 5 5 5
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
4 3 ดี 3 3 3
รปุ ผลการสังเคราะห์รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ช่ือสถานศึกษา ภาพรวม ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน
ลำดับ (ช่ือเต็มของสถานศึกษา ระดบั คณุ ภาพ ท่ี 1 ที่ 2
ปฐมวัย
ไม่ต้องใสค่ ำว่าโรงเรียน) ดีเลิศ 4 4
4 ดเี ลิศ 3 4
27 บา้ นสะแกเครอื 4 ดเี ลิศ 4 5
28 บา้ นเกาะอา้ ยด้วน 4 ดีเลิศ 4 4
29 บา้ นนำ้ ด้วน 4 ดเี ลิศ 5 4
30 ชุมชนบา้ นวังหิน 4 ดีเลิศ 5 4
31 บ้านท่าไม้แดง 4 ดี 3 3
32 บา้ นหนองบัวใต้ 3 ดี 3 3
33 บ้านคลองห้วยทราย 3 ดี 3 3
34 บ้านทา่ เล่ 3 ดี 3 3
35 เด่นวิทยา 3 5 5
36 วัดปากหว้ ยไมง้ าม 5 ยอดเย่ียม 4 4
37 บ้านหนองบัวเหนือ 4 5 4
38 ตากสนิ ราชานุสรณ์ 5 ดเี ลศิ 5 4
39 อนุบาลตาก 4 4 3
40 ศรวี ทิ ยา 4 ยอดเยี่ยม
41 ชูวชิ าราษฏร์
ดเี ลิศ
ดเี ลิศ
สร
ภาพรวม
น มาตรฐาน ระดบั ระดับ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ท่ี 3 การศกึ ษา คณุ ภาพ ท่ี 1 ที่ 2 ที่ 3
ขั้นพนื้ ฐาน
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
4 4 ดีเลิศ 5 5 4
4 4 ดเี ลิศ 5 5 4
4 3 ดี 3 3 3
4 3 ดี 3 3 3
5 3 ดี 3 3 4
3 3 ดี 3 3 3 - 26-
3 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
5 3 ดี 3 3 3
4 3 ดี 3 3 3
5 5 ยอดเยยี่ ม 5 5 5
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
4 3 ดี 3 3 3
รุปผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ช่อื สถานศกึ ษา ภาพรวม ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน
ลำดับ (ชอื่ เต็มของสถานศึกษา ระดบั คณุ ภาพ ท่ี 1 ที่ 2
ปฐมวัย
ไม่ตอ้ งใส่คำว่าโรงเรียน) ยอดเยย่ี ม 4 5
5 4 4
42 ชมุ ชนบา้ น แม่ยะ ดเี ลิศ 5 5
4 4 4
43 บ้านแมพ่ ะยวบ ยอดเย่ยี ม
5
44 สวา่ งวิทยา ดเี ลศิ
4
45 บ้านตากประถมวทิ ยา
46 บา้ นหนองชะลาบ (เรยี น 0- 0 0
รวมกับวดั พรธาตุน้อย)
47 วดั พระธาตุนอ้ ย 4 ดเี ลิศ 4 3
4 ดเี ลิศ 4 4
48 ชมุ ชนวัดสนั ป่าลาน 5
5 ยอดเย่ยี ม 5 4
49 อนบุ าลรอดบำรุง 4
50 ประชาพัฒนา 4 ดเี ลศิ 4
4 ดเี ลศิ 5
51 บา้ นวงั ไมส้ ้าน
52 บา้ นปากวัง 5 ยอดเยย่ี ม 5 5
53 บ้านฉลอม 4 ดเี ลศิ 4 4
54 บา้ นหว้ ยพลู 4 ดเี ลศิ 4 4
สร
ภาพรวม
น มาตรฐาน ระดับ ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ท่ี 3 การศึกษา คณุ ภาพ ท่ี 1 ท่ี 2 ท่ี 3
ขัน้ พื้นฐาน
5 3 ดี 3 3 3
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
5 5 ยอดเยยี่ ม 5 5 5
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
0 3 ดี 2 3 3
3 3 ดี 2 3 3 - 27 -
4 4 ดีเลิศ 3 4 4
4 5 ยอด 5 5 5
เยี่ยม
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
4 5 ยอด 5 4 5
เย่ียม
5 4 ดเี ลศิ 4 4 4
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
4 4 ดเี ลศิ 4 4 4
รุปผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ลำดับ ช่ือสถานศึกษา ภาพรวม ระดับ มาตรฐาน มาตรฐาน
(ช่ือเต็มของสถานศึกษา ระดับ คณุ ภาพ ที่ 1 ที่ 2
ไมต่ อ้ งใสค่ ำวา่ โรงเรยี น) ปฐมวัย
55 ขุนหว้ ยตากพัฒนาศึกษา 5 ยอดเย่ยี ม 5 5
56 บา้ นใหม่ 3 ดี 3 3
บ้านท้องฟ้า (ไปเรยี น
57 ร่วมกบั บา้ นใหม่รอยุบเลกิ 0 - 0 0
ไม่มนี ักเรียนแลว้ )
58 บา้ นดงยาง 3 ดี 3 3
59 บา้ นทงุ่ กระเชาะ 4 ดเี ลิศ 4 4
60 ยางโองนำ้ วทิ ยาคม 4 ดเี ลิศ 4 4
61 เด่นไมซ้ ุงวิทยาคม 4 ดเี ลศิ 4 4
62 บ้านห้วยแมบ่ อน 5 ยอดเยย่ี ม 5 5
63 บา้ นแมส่ ลดิ 4 ดเี ลศิ 4 4
64 บ้านสนั กลาง (เรียนรวมกับ 0 00
ยางโองนำ้ วิทยาคม)
65 บา้ นยางโองนอก 4 ดเี ลศิ 4 4
สร
ภาพรวม
น มาตรฐาน ระดบั ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ท่ี 3 การศึกษา คุณภาพ ท่ี 1 ที่ 2 ท่ี 3
ข้ันพน้ื ฐาน
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
3 3 ดี 3 3 3
0 0 -0 0 0
3 3 ดี 3 3 3 - 28 -
44 444
4 3 ดี 3 3 3
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
4 4 ดเี ลศิ 4 4 4
4 4 ดเี ลศิ 4 4 4
0 3 ดี 3 3 3
4 4 ดเี ลศิ 4 4 4
รปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ชื่อสถานศึกษา ภาพรวม ระดับ มาตรฐาน มาตรฐาน
ลำดับ (ชอื่ เต็มของสถานศึกษา ระดับ คุณภาพ ท่ี 1 ที่ 2
ปฐมวัย
ไมต่ ้องใส่คำว่าโรงเรียน)
66 เสรมิ ปญั ญา (เรยี นรวมกับ 0- 0 0
ชมุ ชนบา้ นสมอโคน)
67 ชมุ ชนบา้ นสมอโคน 0- 0 0
4
68 บ้านนำ้ ดิบ 3 ดี 5 3
3
69 บ้านสนั ป่าป๋วย 4 ดีเลศิ 3 3
3 ดี 4 4
70 บา้ นโสมง 3 ดี 3 4
4 ดเี ลศิ 4 4
71 บ้านอูมวาบ 4 ดีเลิศ 5 3
4 ดีเลิศ 5 4
72 หินลาดนาไฮวิทยาคม 4
3 ดี 5 4
73 บา้ นหนองเชยี งคา 4 ดีเลศิ 5
4 ดเี ลิศ 4
74 ชมุ ชนบ้านแมร่ ะวานฯ 4 ดเี ลิศ 5
75 บา้ นทา่ ไผ่
76 บ้านคลองไม้แดง
77 บา้ นใหมส่ ามคั คี
78 บา้ นวงั โพ
สร
ภาพรวม - 29 -
น มาตรฐาน ระดบั ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ที่ 3 การศกึ ษา คุณภาพ ท่ี 1 ท่ี 2 ที่ 3
ขั้นพน้ื ฐาน
0 3 ดี 3 3 3
0 3 ดี 3 4 3
4 3 ดี 3 3 3
4 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 4 3
3 4 ดีเลศิ 3 4 4
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
5 4 ดีเลศิ 4 4 4
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
3 3 ดี 3 4 3
4 4 ดีเลศิ 4 4 4
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
4 4 ดเี ลศิ 3 4 4
รปุ ผลการสังเคราะห์รายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2563
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ชื่อสถานศึกษา ภาพรวม ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน
ลำดับ (ชื่อเต็มของสถานศึกษา ระดบั คณุ ภาพ ที่ 1 ที่ 2
ปฐมวัย
ไม่ตอ้ งใส่คำว่าโรงเรยี น) ดี 3 3
3 ดเี ลิศ 4 4
79 บา้ นดงลาน 4 ดีเลิศ 5 4
80 หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 5 5
81 บา้ นนาตาโพ 5 ยอดเยี่ยม 5 3
82 วังหวายวิทยาคม 3 3 3
83 บ้านปากทางเข่ือนภมู ิพล 3 ดี 4 4
84 บ้านวงั ไครม้ ิตรภาพฯ 4 ดี 3 3
85 อนุบาลบา้ นทา่ ปยุ 3 ดเี ลิศ 3 4
86 เข่ือนภูมิพล 3 ดี 5 4
87 ชมุ ชนชลประทานรังสรรค์ 4 ดี 5 5
88 บา้ นสามเงา 5 ดเี ลศิ 5 4
89 บา้ นป่ายางใต้ 5 5 5
90 บา้ นปา่ ยางตะวันตก 5 ยอดเยี่ยม
91 วดั สามเงา ยอดเยีย่ ม
ยอดเยีย่ ม
สร
ภาพรวม
น มาตรฐาน ระดับ ระดับ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ท่ี 3 การศกึ ษา คุณภาพ ท่ี 1 ที่ 2 ที่ 3
ขัน้ พน้ื ฐาน
3 4 ดีเลศิ 3 4 4
5 4 ดีเลิศ 4 4 4
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
5 5 ยอดเยี่ยม 4 4 5
3 3 ดี 3 3 4
3 4 ดีเลศิ 3 4 4 - 30 -
4 4 ดีเลศิ 4 4 4
3 4 ดเี ลิศ 4 4 4
3 3 ดี 3 3 3
4 4 ดเี ลิศ 4 4 4
5 3 ดี 2 3 3
5 4 ดีเลิศ 4 4 5
5 3 ดี 3 3 3
รุปผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ลำดับ ช่ือสถานศึกษา ภาพรวม ระดับ มาตรฐาน มาตรฐาน
(ชอื่ เต็มของสถานศกึ ษา ระดับ คุณภาพ ที่ 1 ที่ 2
ไมต่ อ้ งใสค่ ำวา่ โรงเรยี น) ปฐมวัย
บ้านทา่ ปยุ ตก (เรยี นรวมกบั
92 อนบุ าลบา้ นท่าปุย ไมม่ ีเดก็ 0 - 0 0
ปฐมวยั )
93 บา้ นสบยม (เรียนรวมกับ 0 - 0 0
อนุบาลวงั เจา้ )
94 อนบุ าลวังเจ้า 4 ดีเลิศ 5 4
95 เดน่ ววั ราษฎร์รงั สรรค์ 4 ดเี ลศิ 4 4
96 ดงซอ่ มพิทยาคม 5 ยอดเยีย่ ม 5 5
97 บา้ นใหมเ่ สรธี รรม 4 ดเี ลิศ 4 3
98 บ้านหนองปลาไหล 3 ดี 3 3
99 ผาผง้ึ วทิ ยาคม 4 ดเี ลิศ 4 4
100 บ้านตะเคยี นดว้ น (เรยี น 3 ดี 3 3
รว่ มกบั บา้ นนาโบสถ์)
101 บา้ นวังตำลึง 5 ยอดเย่ยี ม 5 5
102 บ้านนาโบสถ์ 3 ดี 3 3
สร
ภาพรวม - 31-
น มาตรฐาน ระดับ ระดับ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ที่ 3 การศกึ ษา คณุ ภาพ ที่ 1 ท่ี 2 ที่ 3
ขัน้ พน้ื ฐาน
0 3 ดี 3 3 3
0 3 ดี 3 4 3
4 3 ดี 3 4 3
4 4 ดเี ลศิ 4 4 4
5 3 ดี 3 4 4
4 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
4 4 ดีเลิศ 5 5 4
3 3 ดี 3 3 3
5 3 ดี 3 3 3
3 3 ดี 3 3 3
รปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ชอื่ สถานศกึ ษา ภาพรวม ระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน
ลำดบั (ชื่อเต็มของสถานศึกษา ระดับ คณุ ภาพ ที่ 1 ท่ี 2
ปฐมวัย
ไมต่ อ้ งใสค่ ำวา่ โรงเรียน) ดเี ลิศ 5 4
4 ดี 3 3
103 ตชด.คา่ ยพระเจ้าตากฯ
3
104 บ้านประดาง
105 บ้านท่งุ กง (เรยี นรวมกับ 0- 0 0
อนบุ าลวังเจ้า)
106 บ้านทา่ ตะครอ้ 4 ดีเลิศ 4 4
3
107 บ้านวังนำ้ เย็น 3 ดี 3 4
19
108 บา้ นศรคี รี รี กั ษ์ 4 ดี 4 52
29
ระดับคณุ ภาพ 5 : จำนวน รร. 23 ยอดเย่ียม23 40
รวม ระดบั คณุ ภาพ 4 : จำนวน รร. 51 ดเี ลิศ 51 37
ระดบั คณุ ภาพ 3 : จำนวน รร. 26 ดี 26 23
หมายเหตุ : 1. เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพของมาตรฐาน มี 5 ระดบั ได้แก่ 5 คอื ยอดเย่ียม, 4 คอื
2. จำนวนโรงเรยี น ระดบั ปฐมวยั 100 โรงเรยี น ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 107 โ
3. โรงเรียนบา้ นท้องฟ้า ไม่มเี ด็กระดบั ปฐมวยั และนกั เรยี นระดับข้ันพื้นฐาน รอคำสงั่ ยบุ
4. โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นสมอโคน และโรงเรยี นเสรมิ ปญั ญา โอนไปสงั กัดเทศบาล
5. โรงเรยี นบา้ นสันกลาง , โรงเรยี นบา้ นหนองชะลาบ , โรงเรยี นบ้านท้องฟา้ , โรงเรียนบ
สร
ภาพรวม
น มาตรฐาน ระดบั ระดับ มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน
ที่ 3 การศึกษา คุณภาพ ที่ 1 ท่ี 2 ท่ี 3
ข้ันพ้นื ฐาน
4 4 ดีเลิศ 4 4 4
3 3 ดี 3 3 3
0 3 ดี 3 4 4
4 4 ดเี ลิศ 4 5 4 - 32 -
4
3 3 ดี 3 4 3
9
4 3 ดี 3 4 51
46
20 7 ยอดเย่ียม7 9 9
51 45 ดีเลศิ 45 39 53
27 55 ดี 55 56 45
อ ดเี ลิศ, 3 คือ ดี, 2 คอื ปานกลาง, 1 คือ กำลังพัฒนา
โรงเรยี น
บโรงเรยี น
บา้ นสบยม และโรงเรียนบา้ นทุง่ กง ไม่มีเดก็ ระดับปฐมวัย
รปุ ผลการสงั เคราะห์รายงานประจำปีของสถานศึกษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2563
สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
แบบสรปุ ร่วมจำนวนระดับคุณภาพการป
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
ภาพรวม
ระดับ มาตรฐาน ้รอยละ
คุณภาพ การศึกษา มาตรฐานที่ 1
ระดับ ้รอยละ
มาตรฐาน ่ีท 2
้รอยละ
มาตรฐานที่ 3
้รอยละ
ปฐมวัย
5 23 23.00 40 40.00 19 19.00 20 20.00
4 51 51.00 37 37.00 52 52.00 51 51.00
3 26 26.00 23 23.00 29 29..00 29 29.00
2 - -------
1 - -------
รวม 100 100.00 100 100.00 100 100.00 100 100.00
*หมายเหตุ โรงเรยี นทอ้ งฟ้าไม่มนี ักเรียนแลว้ รอเรอ่ื งคำสั่งยุบยกเลกิ โรงเรยี น
สร
้รอยละประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา SAR
มาตรฐานที่ 1าประถมศึกษาตาก เขต 1
้รอยละภาพรวม
มาตรฐาน ่ีท 2มาตรฐาน
การศกึ ษา
้รอยละ
มาตรฐานที่ 3ระดบั
การศึกษา
้รอยละ
ข้ัน
พน้ื ฐาน - 33 -
7 06.57 9 08.41 9 8.41 9 8.41
45 42.06 39 34.58 53 49.23 51 47.66
55 51.40 56 52.34 45 42.06 46 42.99
- - 3 2.80 - - 1 0.93
- -------
107 100.00 107 100.00 107 100.00 107 100.00
นแตย่ งั ตอ้ งนบั เปน็ โรงเรียนอยู่
รุปผลการสงั เคราะหร์ ายงานประจำปีของสถานศกึ ษา(Self Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2563
สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1