The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาการทำลูกประคบสมุนไพรสมบูรณ์ จำนวน 40 ชั่วโมง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by n.thamagorn11, 2022-05-25 00:11:38

วิชาการทำลูกประคบสมุนไพร

วิชาการทำลูกประคบสมุนไพรสมบูรณ์ จำนวน 40 ชั่วโมง





คำนำ

สมุนไพรเป็นพชื ทีม่ ีอยู่ทัว่ ไปและมีจำนวนมากในพื้นท่จี ังหวดั พะเยา ซ่ึงสมุนไพรต่างๆมีทัง้ ประโยชน์และ
โทษทั่วไป จากหลักฐานการบันทึกต่างๆ ที่มีอยู่แสดงให้เห็นว่าแพทย์แผนโบราณได้นำสมนุ พรมาใช้ประโยชน์
ในการรักษาโรคภยั ไข้เจบ็ กันอย่างแพร่หลาย ตัวอย่างการแพทยแ์ ผนโบราณทีเ่ ป็นทร่ี ้จู ักคือ ทา่ นชวี กโกมารภัจ
ที่เป็นแพทยป์ ระจำพระองค์พระเจา้ อโศกมหาราชแห่งอนิ เดีย และต่อมาได้มาเป็นแพทยป์ ระจำพระองค์สมเด็จ
พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า เป็นแพทย์ผหู้ นงึ่ ทน่ี ำสมนุ ไพรต่างๆ มาใชใ้ นการรักษาและมีการจารึกไวใ้ นประวตั ศิ าสตร์
เป็นที่รูจ้ ักกันอย่างกว้างขวาง การนำสมุนไพรชนิดต่างๆ มาใช้เป็นยารักษาโรคนั้น แพทย์แผนโบราณจะต้องมี
การเก็บส่วนต่างๆของพืชสมุนไพรมาใช้งาน และมีการนำมาแปรรูปหรือทำเป็นยารักษาโรคในรูปแบบต่างๆ
กนั ออกไปในแตล่ ะท้องถนิ่ ลกู ประคบสมุนไพรเป็นอีกรปู แบบหนึ่งของการนำสมุนไพรมาใช้ในการบำบัดรักษา
โรคของการแพทย์แผนไทย โดยใช้ควบคกู่ ับการนวดไทย

ดงั นน้ั ลูกประคบสมุนไพรจงึ เปน็ สว่ นหนึ่งที่มคี วามสำคญั ในการนวดแผนไทย ซึ่งลกู ประคบสมนุ ไพร
คือ การนำสมุนไพรหลายๆ ชนิดมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่จะเป็นยาสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งเมื่อถูก
ความร้อนจะระเหยออกมากลายเป็นกลิ่น เช่น ไพล ขมิ้นชันตะไคร้ มะกรูด การบูร โดยเราสามารถนำเอา
สมุนไพรเหล่านั้นมาหั่น ย่อยอย่างหยาบ ๆ จากนั้นห่อด้วยผ้าดิบแล้วนำไปผ่านกระบวนการความร้อนด้วย
วิธีการนง่ึ ไอน้ำเพื่อให้สมนุ พรละลายออกมาเป็นตวั ยาซึมเขา้ ใตผ้ วิ หนังตามร่างกาย

กศน. อำเภอจุน ตระหนักถึงความสำคัญของลูกประคบสมุนไพร จึงนำมาจัดทำเป็นหลักสูตรวิชาชีพ
วิชาการทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อนำมาใช้ในการจัดการศึกษาอาชีพให้กับผู้เรียน จะเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่
สามารถสร้างรายได้ เนื่องจากปัจจุบันธุรกิจการนวดแผนไทยเป็นธุรกิจที่เป็นที่นิยมเป็นอย่างมาก และการ
เรียนรู้เกี่ยวกับการทำลูกประคบสมุนไพรเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งจะ
เปน็ การอนุรกั ษแ์ ละสบื สานภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ในดา้ นนี้ใหส้ ืบทอดต่อไป

กศน. อำเภอจุน ขอขอบคุณคณะครู กศน. คณะกรรมการสถานศึกษา และอาจารยอ์ ัญชลี ธรรมะวิธี
กุล ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ อดีตหัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ที่ให้ให้คำแนะนำคำปรึกษา ในการจัดทำหลักสูตรครั้งนี้ได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์มา ณ
โอกาสน้ี หวงั ว่าเอกสารหลกั สูตรวชิ าชีพวิชาการทำลูกประกคบสมนุ ไพร ฉบบั น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อวิทยากร
และผ้เู กยี่ วข้องในการนำไปใช้ในการจดั การการศกึ ษาต่อเน่ืองรูปแบบช้นั เรียนวชิ าชพี ให้กบั กลุ่มเป้าหมายต่อไป

( นางวลิ าวลั ย์ ไชยมงคง )
ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอจุน

9 พฤษภาคม 2565

สารบัญ ค

หนา้ ก
คำนำ ข
สารบญั

หลกั สตู รวิชาการทำลูกประคบสมุนไพร

ความสำคัญ
จดุ มุ่งหมาย
วัตถปุ ระสงค์
เน้ือหา
ระยะเวลาเรยี น
สือ่ ประกอบการเรยี นและแหลง่ เรียนรู้
การวดั ผลประเมินผล
ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั
โครงสร้างหลกั สตู ร

คณะกรรมการจดั ทำหลกั สูตร

1

กจิ กรรมท่ี 2 เขียนผังหลกั สูตรวิชาชีพ ชื่อหลักสตู ร หลักสตู รวชิ าการทำลูกประคบสมุนไพร

หวั เร่ืองหลกั หวั เรื่องยอ่ ย หวั เร่ืองยอ่ ย หวั เรื่องยอ่ ย

(Theme)

((Theme)(Theme)(T ความรู้เก่ยี วกับสมุนไพร ความรูเ้ กีย่ วกับลกู ประคบ ประโยชนข์ องสมุนไพร
hคeวmามe)ร(ทู้ T่ัวhไปeเmกยี่ eว)กบั ลกู สมุนไพร
การบรรจภุ ณั ฑ์
ประคบสมุนไพร สมุนไพรท่ีใชท้ ำลกู ประคบ
- ลูกประคบสมนุ ไพรสด
- ลูกประคบสมนุ ไพรแหง้

การทำลกู ประคบ วัสดุ/อุปกรณ์ ข้ันตอนการเตรียม ชนิดสมนุ ไพร การดูแลรักษา
สมนุ ไพรสด สมนุ ไพร

การทำลกู ประคบสมนุ ไพร วัสดุ/อปุ กรณ์ ขนั้ ตอนการเตรยี ม ชนดิ การดแู ลรกั ษา
แห้ง สมุนไพร สมนุ ไพร

การบรหิ ารจัดการและ การวางแผนการผลติ การวางแผนการ การกำหนดราคาขาย การทำบัญชีรายรบั
การเงนิ /การลงทุน จำหนา่ ย รายจ่าย

คุณธรรม จรยิ ธรรมในการ การคา้ ออนไลน์
ประกอบอาชีพ
ความหมายและความสำคัญ คุณธรรม และจรยิ ธรรมใน
ของคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใน การประกอบอาชพี
การประกอบอาชพี - ความขยัน
- ความอดทน
- ความซอ่ื สตั ย์

2

หลกั สูตรวชิ า การทำลกู ปะคบสมนุ ไพร

ความสำคญั

สมนุ ไพรเปน็ พชื ที่มีอยู่ทวั่ ไปและมีจำนวนมากในพ้นื ท่ีจงั หวดั พะเยา ซึ่งสมนุ ไพรต่างๆมที ้ังประโยชน์และ
โทษท่วั ไป จากหลักฐานการบันทกึ ต่างๆ ที่มีอยูแ่ สดงใหเ้ หน็ วา่ แพทย์แผนโบราณได้นำสมุนพรมาใช้ประโยชน์
ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บกันอยา่ งแพร่หลาย ตัวอยา่ งการแพทย์แผนโบราณที่เปน็ ทร่ี จู้ ักคอื ท่านชีวกโกมารภจั
ท่ีเปน็ แพทยป์ ระจำพระองคพ์ ระเจา้ อโศกมหาราชแหง่ อนิ เดยี และต่อมาไดม้ าเปน็ แพทยป์ ระจำพระองค์สมเด็จ
พระสัมมา สัมพุทธเจ้า เป็นแพทย์ผู้หนึ่งที่นำสมุนไพรต่างๆ มาใช้ในการรักษาและมีการจารึกไว้ใน
ประวัติศาสตร์เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง การนำสมุนไพรชนิดต่างๆ มาใช้เป็นยารักษาโรคนั้น แพทย์แผน
โบราณจะต้องมีการเก็บสว่ นต่างๆของพชื สมุนไพรมาใชง้ าน และมีการนำมาแปรรปู หรือทำเป็นยารักษาโรคใน
รูปแบบต่างๆ กันออกไปในแต่ละท้องถิ่นลูกประคบสมุนไพร เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการนำสมุนไพรมาใช้ใน
การบำบดั รกั ษาโรคของการแพทย์แผนไทย โดยใชค้ วบคกู่ บั การนวดไทย

ดังนน้ั ลูกประคบสมนุ ไพรจึงเป็นสว่ นหนงึ่ ทีม่ คี วามสำคัญในการนวดแผนไทย ซ่งึ ลกู ประคบสมนุ ไพร
คือ การนำสมุนไพรหลายๆ ชนิดมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่จะเป็นยาสมุนไพรที่มีน้ำมันหอมระเหย ซึ่งเมื่อถูก
ความร้อนจะระเหยออกมากลายเป็นกลิ่น เช่น ไพล ขมิ้นชันตะไคร้ มะกรูด การบูร โดยเราสามารถนำเอา
สมุนไพรเหล่านั้นมาหั่น ย่อยอย่างหยาบ ๆ จากนั้นห่อด้วยผ้าดิบแล้วนำไปผ่านกระบวนการความร้อนด้วย
วิธกี ารนึ่งไอนำ้ เพ่อื ให้สมุนพรละลายออกมาเปน็ ตัวยาซมึ เขา้ ใตผ้ วิ หนังตามรา่ งกาย

การพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพ วิชาการทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อนำมาใช้ในการจัดการศึกษาวิชาชีพ
ให้กับผู้เรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการทำลูกประคบสมุนไร นำความรู้ไปใช้ในการ
ประกอบอาชีพ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน
จุดมงุ่ หมาย

เพื่อให้มีความรู้การทำลูกประคบสมุนไพร นำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ และนำไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั

จุดประสงค์
1.เพ่อื ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ และมีทักษะการทำลูกประคบสมนุ ไพร

2.เพอื่ ใหน้ ำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ และนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
3. เพอ่ื ให้ตระหนกั ถึงความสำคญั ของการอนรุ ักษแ์ ละสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นการทำลูกประคบสมุนไพร
ใหส้ บื ทอดต่อไป

3

เนือ้ หาของหลักสูตร
1. ความรทู้ ัว่ ไปเก่ียวกับลกู ประคบสมนุ ไพร
2. การทำลกู ประคบสมุนไพรสด
3. การทำลกู ประคบสมนุ ไพรแห้ง
4. การบริหารจดั การและการเงนิ /การลงทุน
5. คุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ

ระยะเวลาเรียน
จำนวน 40 ชั่วโมง
ภาคทฤษฎี 10 ช่วั โมง
ภาคปฏบิ ตั ิ 30 ช่ัวโมง

ส่อื ประกอบการเรียนและแหลง่ เรียนรู้.
1. ใบความรู้
2. แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน
2.1 กลมุ่ เกษตรกรบ้านสนั หลวงใหม่ หมู่ 10 ตำบลทงุ่ รวงทอง อำเภอจจุน จงั หวดั พะเยา
3. ใบงาน

การวดั ผลประเมนิ ผล
1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมของผเู้ รียน
2. การทำแบบฝึกหัด
3. การทำแบบทดสอบ
4. การประเมนิ ชนิ้ งาน

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั
1. ผ้เู รยี นมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการทำลูกประคบสมุนไพร
2. ผเู้ รียนนำความรไู้ ปใช้ในการประกอบอาชีพ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
3. ผเู้ รียนตระหนกั ถึงความสำคัญของการอนุรกั ษ์และสืบสานภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ การทำลกู ประคบ

สมนุ ไพรใหส้ ืบทอดตอ่ ไป

4

โครงสรา้ งหลักสตู ร
1.ความรทู้ ั่วไปเกีย่ วกบั สมุนไพร จำนวน 5 ชั่วโมง

1.1. ความหมายของสมนุ ไพร
1.2. ความรู้เก่ียวกับลกู ประคบสมุนไพร
1.3. ประโยชน์ของสมนุ ไพร
1.4. การบรรจภุ ัณฑ์
1.5. การทำลกู ประคบสมุนไพร

1.5.1 การทำสมนุ ไพรสด
1.5.2 การทำสมนุ ไพรแห้ง

2.การทำลกู ประคบสมุนไพรสด จำนวน 15 ช่วั โมง
2.1. วัสดแุ ละอปุ กรณ์ในการทำลกู ประคบสมนุ ไพรสด
2.2. ขน้ั ตอนในการผลิต
2.3. การลงมือทำ
2.4. การดูแลรกั ษา

3. การทำลูกประคบสมุนไพรแหง้ จำนวน 10 ชั่วโมง
3.1. วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ในการทำลกู ประคบสมนุ ไพรแหง้
3.2. ขน้ั ตอนในการผลิต
3.3. การลงมอื ทำ
3.4. การดแู ลรักษา

4.การบริหารจดั การและการตลาด จำนวน 2 ช่ัวโมง
5.1. การวางแผนการผลิต
5.2. การวางแผนการจำหน่าย
5.3. การกำหนดราคาขาย
5.4. การทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย
5.5. การค้าออนไลน์

5.คุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ จำนวน 2 ชั่วโมง
6.1. ความหมายและความสำคัญของคุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ
6.2. คุณธรรม และจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ
6.2.1. ความขยนั
6.2.2. ความอดทน
6.2.3. ความซ่ือสัตย์

5

6. การบรรจุภณั ฑ์ จำนวน 6 ชวั่ โมง
6.1 ใหบ้ รรจลุ ูกประคบสมนุ ไพรในบรรจภุ ัณฑ์ทส่ี ะอาด ปิดได้สนิท และสามารถป้องกันการปนเปอ้ื น

จากสิ่งสกปรกภายนอกได้
6.2 การทดสอบใหท้ ำโดยการตรวจพินจิ
6.3 มวลสุทธแิ ละจำนวนลกู ประคบสมนุ ไพรแต่ละบรรจุภัณฑ์ ตอ้ งไม่น้อยกวา่ ทรี่ ะบไุ วท้ ี่ฉลาก

การทดสอบให้ใช้เครื่องชง่ั ท่ีเหมาะสมและวธิ นี ับ

จุดประสงค์การเรียนรขู้ องการบรรจภุ ัณฑ์ ลกู ประคบสมุนไพร
1. เพื่อใหผ้ ู้เรียนบอกความหมายของบรรจภุ ณั ฑ์ได้
2. เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รียนบอกวัสดทุ ีใ่ ช้บรรจุภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพร
3. เพอ่ื ให้ผเู้ รียนสามารถบรรจลุ ูกประคบสมนุ ไพรได้
3.1 ความหมายของบรรจภุ ณั ฑ์
3.2 วสั ดทุ ใ่ี ช้บรรจุภณั ฑ์ลกู ประคบสมนุ ไพร
3.3 การบรรจุลูกประคบสมุนไพร

6

ใบความร้ทู ี่ 1
ความรู้เกีย่ วกับสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพร
คำว่า "สมนุ ไพร" (Herbs) มคี ำจำกัดความไดห้ ลายอย่าง ทางด้านพฤกษศาสตร์HERBS หมายถึง พืชที่
มีเมล็ด ที่ไม่มีแก่นไม้ (nonwo๐dy) และ ตายเมื่อสิ้นสุดฤดูกาลเพาะปลูก ทางด้านอาหาร HERBS หมายถึง
เครื่องเทศ หรือ ผักที่ใช้แต่งรสหรือ กลิ่นอาหาร ทางด้านยา HERBS มีความหมายที่เฉพาะเจาะจงคำจำกัด
ความที่ถูกต้องที่สุดของ HERBS คือ ยาที่มาจากพืช ใช้รักษาโรค ซึ่งมักเป็นโรคเรื้อรัง หรือ เพื่อบำรุงรักษา
สขุ ภาพให้แข็งแรง ด้านกฎหมาย สมุนไพรยงั จดั เป็นกลุ่มพเิ ศษ คือ กล่มุ อาหารและกลุ่มผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
หากสมุนไพรใช้เพื่อการรักษาหรือ บรรเทาอาการโรค หรือใช้เสริมสุขภาพ (เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยหรือ
ปอ้ งกนั โรค) จะจัดเป็นยา

ตาม พระราชบัญญัติยา หมายถึง "ยาที่ได้จากพืช สัตว์ หรือแร่ ซึ่งยังไม่ได้ผสม ปรุง หรือเปลี่ยน
สภาพ" เช่น พืชก็ยังเป็นส่วนของ ราก ลำต้นใบ ดอก ผล ฯลฯ ซึ่งยังไม่ได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใด ๆ แต่
ในทางการค้าสมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปต่าง ๆ เช่น ถูกหั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัด
เป็นแห่ง อย่างไรก็ตามในความรู้สึกของคนทั่ว ๆ ไป เมื่อกล่าวถึงสมุนไพร มักจะนึกถึงเฉพาะต้นไม้ที่นำมาใช้
เปน็ ยาเท่านน้ั ท้งั นีอ้ าจเปน็ เพราะว่าสัตว์ หรอื แร่ มีการนำมาใชน้ อ้ ย และใชใ้ นโรคบางชนดิ เทา่ น้ัน พชื สมนุ ไพร
หมายถึงพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ที่สามารถนำมาใช้ปรุงหรือประกอบเป็นยารักษา โรคต่าง ๆ ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ
ร่างกายได้

ความรเู้ กย่ี วกบั ลกู ประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร คือ การนำสมุนไพรหลายๆ ชนิดมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่จะเป็นยาสมุนไพร ที่มี

นำ้ มนั หอมระเหย ซงึ่ เมอ่ื ถูกความรอ้ นจะระเหยออกมากลายเป็นกลิ่น เชน่ ไพล ขมิ้นชนั ขม้ินอ้อย ตะไคร้
มะกรูด การบูร โดยเราสามารถนำเอาสมุนไพรเหล่านั้นมาหั่น ย่อยอย่างหยาบ ๆ จากนั้นห่อด้วยผ้าดิบ แล้ว
นำไปผา่ นกระบวนการความร้อนด้วยวิธีการน่งึ ไอนำ้ หรือใส่ไมโครเวฟ เพ่ือให้สมุนไพรละลายออกมาเป็นตัวยา
ซึมเข้าใต้ผิวหนังตามร่างกาย ถ้าใช้ไมโครเวฟจะต้องพรมน้ำให้ชุ่มมากกว่าการนึ่งด้วยไอน้ำ สมัยโบราณจะใช้
เหลา้ ขาวไปพรมด้วย เพราะเหล้าขาวเป็นตัวนำยา (หรือกษัยยา) เป็นการชว่ ยทำใหส้ มนุ ไพรละลายและซึมเข้า

7

สู่ผิวหนังได้ดียิ่งขึ้น การนึ่งระยะแรก จะใช้เวลา ประมาณ 10-15าที หากใช้ไมโครเวฟในการอุ่นลูกประคบ
ห้ามพรมด้วยเหล้าขาวเด็ดขาด เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายได้ ลูกประคบ เป็นวิธีการบำบัดรักษาของแพทย์
แผนไทยซึ่งสามารถนำไปใช้ควบคู่กับการนวดไทยโดยใช้การประคบหลงั การนวดหรือประคบพรอ้ มนวด
ชนิดของลูกประคบสมุนไพร

ลกู ประคบมี 2 ชนิด คือ ลกู ประคบสมนุ ไพรสด และลกู ประคบสมุนไพรแห้ง
1. ลกู ประคบสมนุ ไพรสด
ㆍ ข้อดี คอื การใชส้ มนุ ไพรสดในการปรุงลูกประคบนั้น สมนุ ไพรจะมีน้ำอยู่แลว้ จึงไม่จำเป็นต้องพรมน้ำก่อน
นำไปใช้ ไม่ต้องตากแห้ง ไมต่ ้องอบฆ่าเชอื้ ไมต่ อ้ งกลัวข้ึนรา
ㆍ ข้อจำกัด คือ เมื่อปรุงลูกประคบเสร็จแล้ว ต้องรีบนำไปใช้ ไม่สามารถเก็บไว้ได้นานในอุณหภูมิปกติ ต้อง
เกบ็ ในตู้เย็นหรือภาชนะบรรจพุ เิ ศษ

2. ลกู ประคบสมุนไพรแหง้
ㆍ ข้อดี คือ เก็บไว้ได้นาน สะดวกในการนำไปใช้ สามารถเตรียมสมุนไพรที่ใช้ใน การปรุงลูกประคบได้
ครบถ้วนมากขึ้น เนื่องจากสมุนไพรบางชนิดไม่สามารถหาได้ในท้องถน่ิ ต้องหามาจากแหลง่ อน่ื

8

ประโยชน์ของการประคบสมนุ ไพร
1. กระต้นุ หรือเพม่ิ การไหลเวียนของโลหิต
2. ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อและบรรเทาอาการปวดเม่ือย
3. ลดการตดิ ขดั ของข้อตอ่ บรเิ วณทีป่ ระคบและทำให้เน้อื เย่ือ พงั ผืดยดื ตัวออก
4. ลดอาการบวมที่เกิดจากการอักเสบของกล้ามเนื้อหรือบริเวณข้อต่อตา่ ง ๆ หลังจาก 24-48 ชั่วโมง

ไปแล้ว

ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ลกู ประคบสมุนไพร
1. หา้ มใชล้ ูกประคบท่ีรอ้ นเกนิ ไป โดยเฉพาะกับบริเวณผิวหนงั อ่อนๆหรอื บรเิ วณที่เคยเปน็ แผลมาก่อน

ควรระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยเบาหวาน อัมพาต เด็ก และผู้สูงอายุเนื่องจากกลุ่มบุคคลดังกล่าว ความรู้สึก
ตอบสนองต่อความร้อนชา้ อาจจะทำให้ผิวหนังไหม้พองไดง้ ่าย

2. ไม่ควรใชล้ กู ประคบสมนุ ไพรในกรณีท่ีมีแผลการอักเสบ(ปวด บวม แดงรอ้ น) ในชว่ ง 24 ชัว่ โมงแรก
อาจจะทำให้บวมมากขึ้นหลังจากประคบสมุนไพรแล้ว ไม่ควรอาบน้ำทันที เพราะจะไปชะล้างตัวยาออกจาก
ผิวหนัง และอุณหภมู ิของร่างกายปรับเปล่ียนไมท่ นั อาจจะทำใหเ้ ปน็ ไข้ได้

ปญั หาและแนวทางแก้ไข
1. ปัญหาจากการตากสมุนไพร ถ้าแดดไม่แรงจะทำให้สมุนไพรขึ้นรา แก้ปัญหาโดยการเกลี่ยสมุนไพร

ให้บางๆ หรอื ใช้ตูอ้ บ
2. บางฤดกู าลอาจขาดแคลนวตั ถดุ ิบในการทำ แกป้ ญั หาโดย

การทำสมุนไพรแห้งสตอ๊ กไวใ้ นช่วงที่วตั ถุดิบมมี าก

ปัจจยั สคู่ วามสำเร็จ
ㆍการใช้วัตถดุ บิ ท่มี ีคุณภาพ
ㆍ การควบคมุ คณุ ภาพการผลติ ใหไ้ ด้มาตรฐาน
ㆍความชื้อสัตยแ์ ละรับผดิ ชอบตอ่ ลกู คา้
ㆍ การมใี จรกั ในงานท่ที ำ
ㆍการมีเครอื ขา่ ยท่กี วา้ งขวา

9

ใบความรู้ที่ 2
การทำลูกประคบสมนุ ไพรสด

การเตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์

1. ผา้ ดิบสำหรบั หอ่ ลกู ประคบ ขนาดกวา้ ง 35 ซม. ยาว 35 ซม.

2. เชอื ก เขยี ง มีด กาละมัง ครก

สมุนไพรท่ีใชท้ ำลกู ประคบ(ลูกประคบสมุนไพรสด)

1. ไพล 1,000 กรัม

2. ผิวมะกรดู 400 กรมั

3. ตะไคร้ 200 กรมั

4. ใบมะขาม 400 กรมั

5. ขมน้ิ ชนั 200 กรมั

6. ใบสม้ ป่อย 200 กรัม

7. เกลือ 2 ชอ้ นโตะ๊

8. การบูร 4 ช้อนโต๊ะ

(ทำลูกประคบได้ 20 ลูก ขนาดลกู ละ 120 กรมั )

10

วัตถุดบิ

กระบวนการ/ขนั้ ตอนการทำ
ขั้นตอนการเตรียมสมนุ ไพร

1. นำสมุนไพรทั้งหมดมาทำความสะอาด ล้างเศษดินที่ติดมากับสมุนไพรออกให้หมด พักไว้ให้สะเด็ด
น้ำ

2. หน่ั หวั ไพล ขมิน้ ชนั ตะไครั ผวิ มะกรดู ตำพอหยาบๆ
3. นำใบมะขาม ใบส้มป่อย ผสมกับสมุนไพรในข้อที่ 1 เสร็จแล้วให้ใส่เกลือ การบูร คลุกเคล้าให้เป็น
เน้ือเดยี ว แตอ่ ยา่ ใหแ้ ฉะเป็นน้ำ
4. แบ่งตัวยาที่คลุกเคล้าเรียบร้อยแล้วใส่ผ้าดิบห่อเป็นลูกประคบประมาณลูกส้มโอ รัดด้วยเชือกให้
แนน่

11

ขัน้ ตอนการห่อ
1. นำส่วนทั้งหมดมาวางตรงกลางของผ้า เริ่มต้นจับมุมผ้า 2 มุม ขึ้นมาทบกัน โดยจับทีละมุมจนครบ

ทงั้ 4 มมุ จากนั้นจะเกิดมุมผ้าข้นึ มาอกี 4มุม ใหร้ วบมุมผ้าที่ละมุม อกี ครั้งหน่งึ จนครบทัง้ 4 มุม
2. แต่งชายผ้าให้เรียบร้อย ซ้อนกันเปน็ ชายเดียว จากนั้นค่อยๆจดั แต่งลูกประคบให้เป็นรปู ทรงกลมที่

สวยงาม
3. เมื่อได้ลูกประคบเป็นรูปทรงกลมที่สวยงามแล้ว ให้นำเชือกมาพับครึ่งร้อยเป็นห่วงให้ชายทั้งสอง

เท่ากัน จากนั้นพันทบกัน 2 รอบแล้วผูกให้แน่นดว้ ยเงื่อนตาย 1 รอบ ก็จะทำให้เหลือปลายผา้ ที่เท่ากนั ทัง้ สอง
ขา้ ง จากนนั้ จึงคอ่ ย ๆ จดั ระเบยี บชายผา้ ในสว่ นทจี่ ะทำดา้ มจบั

4. การทำดา้ มจับ โดยการจบั ชายผ้าท่เี หลือมาซ้อนกนั ใหเ้ รียบร้อยเสรจ็ แล้วพับเข้าหากันเพ่ือเก็บซ่อน
ชายผา้ ทั้งสองด้าน

5. หลังจากที่เราจัดแต่งและซ่อนชายผ้าเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้พับลงมาประมาณ 2 นิ้วครึ่ง เพื่อทำ
ดา้ มจบั ใช้ปลายเชอื กเสน้ เดิมมาพันทบกันอีก 2 รอบโดยการผกู แบบเงือ่ นตายให้แน่น อกี คร้ังหน่งึ

6. จากนั้นให้ซ่อนปลายเชือกไว้ในซอกผ้าตรงรอยพับที่เป็นด้ามจับและเพื่อให้ลูกประคบมีความ
แข็งแรงสวยงาม คงทนตอ่ การใชง้ าน ให้นำเชอื กป่านผูกใหแ้ นน่ อกี คร้งั โดยผูกแบบเงอื่ นตาย ให้ปลายดา้ นหนึ่ง

ยาวประมาณ 2 นิ้วครึ่ง เสร็จแล้วให้ยกขึ้นมาแนบกับด้ามจับใช้ปลายเชือกส่วนที่ ยาวกว่าค่อย พัน
ขน้ึ มา โดยใช้ปลายน้วิ ไล่กดเชือกให้แนน่ การทำเช่นนจี้ ะทำใหเ้ ชือกเรียงกนั ดูสวยงามและ เป็นระเบียบ เมื่อพัน
จนสดุ ชายเชือกแลว้ ให้ผูกเงือ่ นตายไวก้ ับปลายเชือกเส้นที่แนบไวก้ ับด้ามจบั ในตอนแรก จากนนั้ ซ่อนปลายไว้ใน
ซอกผา้ ท่เี ป็นด้ามจับ เพยี งเทา่ น้ีกจ็ ะไดล้ กู ประคบทีส่ วยงามพร้อมใชง้ าน

เครอ่ื งมือ/อุปกรณ์

12

การเก็บรกั ษาลกู ประคบสมนุ ไพร
1. ลกู ประคบสมุนไพรทที่ ำในแต่ละครั้ง สามารถเก็บไว้ใชซ้ ำ้ ได้ 3-5 วัน
2. ควรเก็บลูกประคบไว้ในตู้เย็น จะทำให้เก็บได้นานขึ้น (ควรเช็ดลูกประคบด้วยถ้ามีกลิ่นบูดหรือ

เหมน็ เปรี้ยวไมค่ วรเก็บไว)้
3. ถ้าลกู ประคบแห้ง ก่อนใชค้ วรพรมด้วยนำ้ หรอื เหล้าขาว
4. ถ้าลกู ประคบท่ใี ช้ไม่มีสีเหลอื ง หรือสีเหลอื งอ่อนลงแสดงวา่ ยาท่ใี ช้

จดื แลว้ (คุณภาพนอ้ ยลง) จะใชไ้ มไ่ ดผ้ ลควรเปล่ยี นลกู ประคบใหม่

วิธกี ารใช้ลูกประคบสมุนไพร
1. นำหม้อนึ่งใส่น้ำแล้วตั้งทิ้งไว้ให้เดือด และนำลูกประคบวางบนชั้นนึ่งทิ้งไว้ประมาณ 10 - 15 นาที

แลว้ จึงนำมาใช้
2. จัดท่าคนไข้ให้เหมาะสม เช่น นอนหงาย นั่ง นอนตะแคง ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่จะทำการประคบ

สมนุ ไพร
3. นำลูกประคบซึ่งร้อนได้ที่แล้ว ประคบบริเวณที่ต้องการประคบ(ก่อนใช้ต้องทดสอบความร้อนของ

ลกู ประคบดว้ ยการ นำลูกประคบแตะบรเิ วณท้องแขน หรอื หลังมอื ของผู้ประคบกอ่ น)
4. ในการวางลูกประคบบนผิวหนังคนไข้โดยตรงในช่วงแรกๆ ที่ลูกประคบกำลังร้อน ต้องทำด้วย

ความเร็ว อย่าวางแชน่ านๆ เพ่อื ปอ้ งกันผิวหนังถูกลวก ไหม้ พอง จากความร้อน
5. เมื่อลูกประคบคลายความร้อนลง ให้เปลี่ยนลูกประคบสลับกับลูกที่นึ่งไว้ในหม้อนึ่ง(นำลูกประคบ

เดมิ ไปนึ่งต่อให้ร้อนเพอื่ รอการใช้สลับกัน)ทำซ้ำต้ังแตข่ น้ั ตอนแรกจนถึงขน้ั ตอนสุดทา้ ย จนกว่าอาการจะดีขึน้

13

ใบความรู้ท่ี 3
การทำลูกประคบสมุนไพรแหง้

กระบวนการ/ข้ันตอนการทำ
ข้ันตอนการเตรยี มสมุนไพร
ส่วนผสม

1. ผิวมะกรดู 20 กรัม
2. ไพล 20 กรมั
3. ผักเสย้ี นผี 20 กรัม
4. ขา้ วคว่ั 20 กรัม
5. พิมเสน 20 กรัม
6. การบรู 40 กรัม
7. เกลือตัวผู้ 10 กรมั
วตั ถดุ ิบ

14

1. ห่นั หัวไพล ขม้ินชนั ใหเ้ ปน็ ลกู เตา๋ ตะไครซ้ อยให้ละเอียด มะกรูดปอกเอาแต่เปลือก ใบมะขาม ใบ
ส้มป่อย เด็ดออกจากกา้ นให้เปน็ ใบนำไปตากแดดให้แหง้ ใชเ้ วลา 7 วนั โดยแยกตากสมุนไพรแต่ละชนดิ

2. เม่ือสมนุ ไพรแห้งดีแล้ว นำสมนุ ไพรตามอัตราสว่ นมาผสมกัน ใส่เกลือการบูร คลุกเคล้าใหเ้ ปน็ เนื้อ
เดียว

3. แบง่ ตวั ยาทคี่ ลุกเคล้าเรยี บรอ้ ยแลว้ ใสผ่ า้ ดิบหอ่ เปน็ ลูกประมาณลูกสม้ โอนำ้ หนัก 120 กรมั รดั ดว้ ย
เชอื กให้แน่น

ข้นั ตอนการห่อ
1. นำส่วนทั้งหมดมาวางตรงกลางของผ้า เริ่มต้นจับมุมผ้า 2 มุม ขึ้นมาทบกัน โดยจับทีละมุมจนครบ

ทง้ั 4 มมุ จากนนั้ จะเกดิ มุมผา้ ข้นึ มาอกี 4มมุ ให้รวบมุมผ้าที่ละมมุ อกี ครั้งหนึง่ จนครบทัง้ 4 มมุ
2. แต่งชายผา้ ให้เรยี บร้อย ซ้อนกันเป็นชายเดียว จากนั้นค่อยๆจดั แต่งลกู ประคบให้เป็นรูปทรงกลมท่ี

สวยงาม
3. เมื่อได้ลูกประคบเป็นรูปทรงกลมที่สวยงามแล้ว ให้นำเชือกมาพับครึ่งร้อยเป็นห่วงให้ชายทั้งสอง

เท่ากัน จากนั้นพันทบกนั 2 รอบแล้วผูกให้แน่นดว้ ยเงื่อนตาย 1 รอบ ก็จะทำให้เหลอื ปลายผ้าท่ีเท่ากนั ทัง้ สอง
ข้าง จากนั้นจงึ ค่อย ๆ จัดระเบียบชายผา้ ในสว่ นทีจ่ ะทำดา้ มจับ

4. การทำดา้ มจับ โดยการจับชายผ้าที่เหลอื มาซ้อนกนั ให้เรียบร้อยเสร็จแล้วพับเขา้ หากันเพ่ือเก็บซ่อน
ชายผ้าท้งั สองด้าน

5. หลังจากที่เราจัดแต่งและซ่อนชายผ้าเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้พับลงมาประมาณ 2 นิ้วครึ่ง เพื่อทำ
ด้ามจับใช้ปลายเชือกเสน้ เดิมมาพันทบกันอกี 2 รอบโดยการผกู แบบเง่อื นตายใหแ้ นน่ อีกครงั้ หนง่ึ

6. จากนั้นให้ซ่อนปลายเชือกไว้ในซอกผ้าตรงรอยพับที่เป็นด้ามจับและเพื่อให้ลูกประคบมีความ
แขง็ แรงสวยงาม คงทนต่อการใช้งาน ให้นำเชอื กป่านผกู ใหแ้ นน่ อีกคร้งั โดยผูกแบบเงอ่ื นตาย ให้ปลายด้านหน่งึ
ยาวประมาณ 2 นิ้วครึ่ง เสร็จแล้วให้ยกขึ้นมาแนบกับด้ามจับใชป้ ลายเชือกส่วนที่ ยาวกว่าค่อย พันขึ้นมา โดย
ใชป้ ลายนิ้วไลก่ ดเชือกให้แน่นการทำเช่นนีจ้ ะทำให้เชือกเรยี งกนั ดูสวยงามและ เปน็ ระเบยี บ เมื่อพันจนสุดชาย
เชือกแล้วให้ผูกเง่ือนตายไว้กบั ปลายเชือกเส้นที่แนบไว้กับด้ามจับในตอนแรก จากนั้นซ่อนปลายไว้ในซอกผา้ ที่
เป็นด้ามจบั เพียงเทา่ นีก้ จ็ ะได้ลกู ประคบท่ีสวยงามพร้อมใชง้ าน

15

เคร่ืองมือ/อุปกรณ์

การเกบ็ รักษาลกู ประคบสมนุ ไพร
1. ลูกประคบสมุนไพรทีท่ ำในแตล่ ะครัง้ สามารถเกบ็ ไวใ้ ชซ้ ำ้ ได้ 3-5 วนั
2. ควรเก็บลูกประคบไว้ในตู้เย็น จะทำให้เก็บได้นานขึ้น (ควรเช็ดลูกประคบด้วยถ้ามีกลิ่นบูดหรือ

เหมน็ เปรยี้ วไมค่ วรเกบ็ ไว)้
3. ถา้ ลูกประคบแหง้ กอ่ นใชค้ วรพรมดว้ ยน้ำหรือเหลา้ ขาว
4. ถ้าลกู ประคบทีใ่ ชไ้ มม่ สี ีเหลอื ง หรือสีเหลอื งออ่ นลงแสดงวา่ ยาท่ีใช้

จืดแลว้ (คณุ ภาพน้อยลง) จะใชไ้ มไ่ ด้ผลควรเปล่ยี นลูกประคบใหม่

วิธกี ารใชล้ กู ประคบสมนุ ไพร
1. นำหม้อนึ่งใส่น้ำแล้วตั้งทิ้งไว้ให้เดือด และนำลูกประคบวางบนชั้นนึ่งทิ้งไว้ประมาณ 10 - 15 นาที

แลว้ จงึ นำมาใช้
2. จัดท่าคนไข้ให้เหมาะสม เช่น นอนหงาย นั่ง นอนตะแคง ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่จะทำการประคบ

สมุนไพร
3. นำลูกประคบซึ่งร้อนได้ที่แล้ว ประคบบริเวณที่ต้องการประคบ(ก่อนใช้ต้องทดสอบความร้อนของ

ลูกประคบดว้ ยการ นำลูกประคบแตะบรเิ วณท้องแขน หรือหลังมือของผปู้ ระคบก่อน)
4. ในการวางลูกประคบบนผิวหนังคนไข้โดยตรงในช่วงแรกๆ ที่ลูกประคบกำลังร้อน ต้องทำด้วย

ความเร็ว อย่าวางแช่นานๆ เพือ่ ป้องกันผิวหนังถูกลวก ไหม้ พอง จากความรอ้ น
5. เมื่อลูกประคบคลายความร้อนลง ให้เปลี่ยนลูกประคบสลับกับลูกที่นึ่งไว้ในหม้อนึ่ง(นำลูกประคบ

เดิมไปนง่ึ ตอ่ ใหร้ อ้ นเพ่ือรอการใช้สลบั กนั )ทำซำ้ ตั้งแต่ขน้ั ตอนแรกจนถึงขัน้ ตอนสุดทา้ ย จนกวา่ อาการจะดขี ้นึ

16

ใบความรทู้ ่ี 4
การบรหิ ารจัดการและการตลาด
การเงิน/การลงทุน
1. ใช้เงินลงทนุ ประมาณ 1,440 บาท สำหรับเปน็ คา่ วัตถุดิบ อปุ กรณ์และค่าแรงงาน
2. สามารถใช้เงินส่วนตวั ลงทนุ ได้
3. ใชเ้ งินในการจัดซ้ือวัตถดุ ิบทีเ่ ป็นสมนุ ไพร
4. ลงทุนตอ่ รอบ 1 ครงั้ ใช้เงินลงทุน 1,440 บาท ทำได้ 80 ลกู
5. ขายลูกละ 50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท กำไร 2,560 บาท ( 1 เดือนทำ 3 รอบ เป็นเงิน 7,680
บาท)
การบริหารจัดการตลาด
1. ขายเป็นลูก
2. ขายให้กลุ่มเป้าหมายได้แก่ กลุ่มนักกีฬา ผู้ประกอบการร้านนวดแผนไทย กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่ม
บุคคลทวั่ ไป
3. สถานท่ีจำหน่าย หน้าร้านของตวั เอง ร้านค้า OTOP ร้านนวดแผนไทย รา้ นขายยาแผนโบราณ
4. ราคาขายลกู ละ 50 บาท ขนาด 120 กรัม

แผนการจัดการตลาด
กอ่ นทจ่ี ะตดั สนิ ใจดำเนินธุรกิจการพฒั นาผลติ ภัณฑจ์ ากผักตบชวาจะต้องคำนึงถงึ สิ่งต่อไปน้ี คอื

1. ทุน ถ้าไมม่ ที นุ เป็นของตนเองต้องอาศัยแหลง่ เงินกู้ จะตอ้ งพิจารณาวา่ แหล่งเงนิ กู้นั้นมาจากไหนถ้า
กูจ้ ากเอกชนกต็ ้องเสยี ดอกเบี้ยแพงกว่าสถาบันการเงิน ถ้าเสียดอกเบ้ียแพงจะคุ้มกบั การลงทุนหรือไม่

2. แรงงาน ถ้าสามารถใชแ้ รงงานในครอบครัวได้ก็จะสามารถลดรายจา่ ยลงได้
3. วัตถุดิบ สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นหรือไม่ หากไม่มีท้องถิ่นจะมีปัญหาเรื่องราคาและการขนส่ง
หรอื ไม่
4. การจัดการ หมายถงึ การจัดการด้านตลาด การจัดจำหนา่ ยก่อนอืน่ ต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายที่จะ
นำผลิตภัณฑ์ไปจำหน่ายการกำหนดราคาขาย ราคาต้นทุน กำไรและการลงบัญชีเบ้ืองต้น สิ่งเหล่านี้จำเป็น
อยา่ งยง่ิ ในการประกอบธุรกจิ
การวางแผนการจำหน่าย
1. ประเภทของการจดั จำหนา่ ย มี 2 แบบ คอื

17

1.1. การจำหน่ายแบบสั้น คือ การนำสินค้าจากผู้ผลิตสู่ร้านค้าปลีก หรือร้านค้าย่อยถึงผู้ซื้อหรือ
ผูบ้ รโิ ภคโดยตรง

1.2. การจัดจำหน่ายแบบยาว คือ การนำสินค้าจากผู้ผลิต (บ้าน) ถึงร้านค้าขายส่ง แล้วร้านคา้ ขายสง่
จำหนา่ ยตอ่ ไปยังร้านคา้ ขายปลีก ร้านคา้ ขายปลีกจำหนา่ ยต่อไปยังผู้บริโภค
สรปุ การทำให้สินค้าท่ีผลิตข้ึนสามารถขายไดจ้ ำนวนมาก มีวธิ ีดำเนนิ การไดห้ ลายรปู แบบ คอื

1. จากผู้ผลิต ถงึ รา้ นขายสง่ ถงึ รา้ นขายปลกี ถงึ ผ้ซู ื้อหรอื ผบู้ ริโภค
2. จากผู้ผลิต ผ่าน นายหน้า ถงึ ร้านคา้ ปลกี ถงึ ลูกค้า
3. จากผู้ผลิต ผ่าน นายหน้า ลูกค้า (ผู้บริโภค) โดยตรง โดยระบบการขายฝากและสร้าง
ภาพพจนข์ องสนิ ค้า จูงใจผู้ซอื้ ด้วยวิธีการตา่ ง ๆ เปน็ ต้น

นอกจากนีย้ งั มวี ิธกี ารส่งเสริมการจำหนา่ ยที่ไดผ้ ลอีก 2 ประการ คอื
1. การใหข้ ้อมลู จงู ใจผซู้ อื้ และภาพพจนข์ องสนิ ค้าท่ีผ้ซู ื้อต้องการ
2. ภาพพจน์ของสินค้าที่ผู้ซื้อต้องการ และพอใจทำให้สินค้านั้นมีค่าและมีราคาใน

ตวั เองมากกวา่
การกำหนดราคาขาย

เมอื่ ทำการพฒั นาผลติ ภัณฑจ์ ากผักตบชวาขนึ้ มาเพ่ือการจำหนา่ ย สิ่งแรกทต่ี ้องทำคือการกำหนดราคา
ขายที่ผู้ซื้อสามารถซื้อได้ในราคาไม่แพงจนเกินไปและผู้ขายก็พอใจที่จะขายเพราะได้กำไรตามที่ต้องการ
การกำหนดราคาขายทำได้ดังน้ี

1. ตดิ ตามความต้องการของลูกคา้ ลูกค้าเปน็ ผกู้ ำหนดราคาขาย ถ้าลูกคา้ มีความต้องการและสนใจ
มากกจ็ ะสามารถตั้งราคาได้สูง

2. ตง้ั ราคาขายโดยบวกราคาต้นทุนกับกำไรท่ีตอ้ งการก็จะเป็นราคาขาย ในกรณีเช่นนี้จะต้องรู้ราคา
ตน้ ทุนมาก่อนจึงจะสามารถบวกกำไรลงไปได้ การตัง้ ราคาขายน้ี จะมผี ลต่อปริมาณการขาย ถา้ ตง้ั ราคาขายไม่
แพง หรอื ต่ำกว่าราคาตลาดก็สามารถขายได้จำนวนมาก ผลทไี่ ดร้ ับคือ ได้กำไรเพ่มิ มากข้ึนด้วยการกำหนด
ราคาขายมหี ลายรูปแบบ แตส่ ่ิงทส่ี ำคัญคือ ต้องคำนึงถงึ ราคาทีส่ งู ท่สี ดุ ท่ผี ซู้ ้ือสามารถซ้ือไดแ้ ละราคาต่ำสดุ ทีจ่ ะ
ได้เงินทุนคนื

หลักเกณฑ์ในการกำหนดราคาขาย มีดงั น้ี
1. ไดผ้ ลตอบแทนจากการลงทุนตามเป้าหมาย
2. เพื่อรกั ษาเสถียรภาพด้านราคาไม่ถกู หรือแพงจนเกินไป
3. เพอ่ื รกั ษาหรือปรบั ปรุงสว่ นแบง่ ของการตลาด กลา่ วคอื ตงั้ ราคาขายส่งถกู กวา่ ราคาขายปลกี

เพ่ือให้ผูร้ บั ซือ้ ไปจำหนา่ ยปลีกจะได้บวกกำไรได้ด้วย
4. เพือ่ แข่งขันหรือปอ้ งกนั คู่แขง่ ขันหรอื ผผู้ ลติ รายอน่ื
5. เพื่อผลกำไรสูงสดุ

การกำหนดราคาขาย มีหลักสำคญั คือ ราคาต้นทุน + กำไรทีต่ อ้ งการ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องศึกษาเร่ืองราวการ
คิดราคาต้นทุนให้เข้าใจก่อน

18

การคดิ ราคาตน้ ทนุ
การคดิ ราคาต้นทนุ หมายถึง การคิดคำนวณราคาวัตถุดบิ ที่ใช้ในการผลิต มคี า่ แรงคา่ ใช้จ่ายในการ

ผลิต ประกอบดว้ ย คา่ เชา่ สถานท่ี ค่าไฟฟ้า ค่าขนสง่ ฯลฯ การคิดราคาตน้ ทนุ มปี ระโยชน์ คือ
1) สามารถต้งั ราคาขายไดโ้ ดยรู้วา่ จะได้กำไรเท่าไร
2) สามารถรู้ว่ารายการใดที่ก่อใหเ้ กิดต้นทนุ สงู หากต้องการกำไรมากก็สามารถลดตน้ ทุนนั้น ๆ ลงได้
3) รถู้ งึ การลดตน้ ทนุ ในการผลติ แลว้ นำไปปรบั ปรงุ และวางแผนการผลิตเพิ่มขน้ึ ได้

ต้นทนุ การผลติ มี 2 อย่าง คอื
1. ตน้ ทุนทางตรง หมายถึง ต้นทนุ ในการซื้อวัตถุดบิ รวมทั้งค่าขนส่ง
2. ต้นทุนทางอ้อม หมายถึง ตน้ ทุนที่จ่ายเป็นคา่ บรกิ ารต่าง ๆ เช่น คา่ แรงงาน ค่าไฟฟ้า ค่าเชอื้ เพลิง

ทงั้ นี้ ใหค้ ดิ เฉพาะส่วนที่เก่ยี วกับการผลติ โดยตรง แลว้ นำต้นทุนทั้งสองอย่างมาคดิ รวมกันกจ็ ะไดเ้ ป็นราคา
ต้นทุนรวม
การกำหนดราคาขาย จะต้องคำนึงถงึ

1. ต้นทุนทางตรง + ต้นทุนทางอ้อม คือ ตน้ ทุนรวม
2. การหากำไรท่ีเหมาะสม ทำไดโ้ ดยเพม่ิ ตน้ ทนุ รวมขึ้นอีก 20-30%
ตัวอย่าง ตน้ ทุนรวมในการทำดอกไมจ้ ากกระดาษสา 500 บาท

บวกกำไร 30% ของ 500 จะได้ = 150 บาท
ฉะนน้ั ราคาขาย คือ ต้นทนุ + กำไร
คอื 500 + 150 เทา่ กบั 650 บาท
โดยท่ัวไปร้านค้าปลีกจะกำหนดราคาขาย โดยการบวกกำไรที่ตอ้ งการเขา้ กับราคาต้นทุนการผลิต
สินคา้ นน้ั ๆ แต่บางรายกก็ ำหนดราคาสูง สำหรับการผลิตระยะเริ่มแรก เพราะความต้องการของตลาดค่อนข้าง
สูงในระยะเวลาอันสั้น การเปล่ียนแปลงราคาขายอาจมผี ลให้ยอดลดหรอื เพ่มิ ขึ้นแล้วแตภ่ าวะแวดล้อม จงึ ต้อง
คำนึงถึงเชน่ เดยี วกัน ดังนน้ั จึงสามารถคดิ ราคาขายได้งา่ ย ๆ ดังน้ี
ราคาขาย = ราคาทนุ (ต้นทุน + ค่าแรง) + กำไรทต่ี อ้ งการ

การทำบญั ชรี ายรบั – รายจ่าย
หมายถึง การจดบันทึกรายการข้อมูลดา้ นการเงนิ ของการปฏิบัตงิ าน ทั้งที่เกี่ยวกบั รายการท่ีรับเข้ามา

และรายการทตี่ ้องจ่ายออกไป เพ่อื ให้มีข้อมูลที่เก่ียวข้องทางด้านการเงิน ตลอดจนผลของการดำเนินงานนั้นไว้
วา่ คงเหลือเงนิ หรอื ไม่ จำนวนเทา่ ไร และเปรยี บเทียบผลการดำเนินกิจการว่าได้กำไร หรือขาดทนุ เพยี งไร

ประโยชนข์ องการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
1. ทำใหท้ ราบฐานะทางการเงินในการปฏบิ ตั งิ าน
2. ใช้ประกอบการวางแผนในการทำงานหรือในการใช้จา่ ยเงนิ
3. ใชใ้ นการติดตามการทำงานด้านตา่ ง ๆ

19

4. ทำใหท้ ราบปญั หาในการทำงานและแกไ้ ขทนั
5. ใช้รายงานผลการดำเนินงาน
6. ใชเ้ ป็นข้อมลู รายจา่ ยปรบั ลดค่าใช้จา่ ยเพื่อใหเ้ หลือเงนิ หรอื ได้กำไรเพมิ่ ขึน้
7. นำวิธกี ารจัดทำบัญชีไปใช้ในชีวติ ประจำวนั

หลกั การจดั ทำบัญชีรายรบั -รายจ่าย มีดังน้ี
1. รายรบั เปน็ ข้อมลู ท้ังหมดทีไ่ ดร้ บั เงินเข้ามา เช่น คา่ หนุ้ เงนิ กู้ ค่าขายของ ค่าขายผลผลิต
2. รายจา่ ย เปน็ ขอ้ มูลราจ่ายทั้งหมดในการประกอบกจิ การนั้น ๆ เช่น ค่าขนส่ง ค่าซอื้ วัตถดุ ิบ ค่าจา้ ง

แรงงาน
3. เงินคงเหลือ ได้ ผลต่างระหว่างรายรบั กับรายจ่ายทง้ั หมด

การค้าออนไลน์
E-Commerce คือ การประยุกตส์ ่ืออนิ เตอร์เน็ตมาใช้ในการดำเนินธุรกิจการค้า หรอื เรียกว่า พาณิชย์

อิเล็กทรอนิกส์ ที่นิยมกันมาก ณ ปัจจุบันคือ การซื้อขายสินค้าผ่านทางอินเตอร์เน็ต การหันมาใช้เว็บสื่อกลาง
ทางการค้ามากยิ่งขึ้น เป็นสื่อกลางในการรวบรวมสินค้าและผู้ซื้อผู้ขายไว้ในเว็บไซต์เดียว เพื่ออำนวยความ
สะดวกในการติดตอ่ ซื้อ-ขาย ทำให้การค้นหาขอ้ มูลเป็นเรื่องท่ีง่ายและสามารถจำกัดขอบเขตข้อมลู ให้ตรงตาม
ความตอ้ งการมากย่ิงข้นึ ตามการจัดกลมุ่ สินคา้ ของผใู้ ห้บรกิ ารแหล่งข้อมลู ออนไลน์นน้ั ๆ

E-Commerce จึงเป็นเสมือนสื่อกลางในการโฆษณาและเชื่อมโยงข้อมูล หรือความต้องการของผู้ใช้งาน
ไปยังกลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมายโดยตรง พร้อมทั้งสามารตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ย่นเวลาในการ
นำสินค้าเข้าสตู่ ลาด ทำให้สามารถขยายตลาดไดอ้ ย่างรวดเรว็ ทวคี ณู

ประโยชน์ของ E-commerce
1. เพิ่มโอกาสทางการตลาด

ขยายโอกาสในการเข้าถึงตลาด เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายมากยิ่งขึ้นสนองความต้องการของตลาด
และขยายตลาดได้อย่างรวดเร็วนำเทคโนโลยีมาใช้ สร้างผลกำไรแก่องค์กร ตามทันสื่อการตลาดยุคใหม่เพ่ิม
โอกาสโลกตลาดออนไลน์ รู้ทันพฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบัน สามารถเก็บข้อมูลลูกค้าเพื่อการทำการตลาด
ทางตรง สรา้ งการรับรูไ้ ด้อย่างรวดเรว็ ยน่ ระยะเวลาการนำสินคา้ เข้าสู่ตลาดเปดิ บรกิ ารตลอด 24 ช่ัวโมง 7 วัน

20

สะดวกในการค้นหาข้อมลู และติดตอ่ ซ้ือ - ขายนำเสนอข้อมลู สินค้าได้เป็นจำนวนมาก และสามารถส่ือสารกับ
ลูกค้า ได้ในลักษณะ Interactive Market (การตลาดเชิงตอบโต)้ เพิ่มโอกาสทางการตลาดในการบริหารข้อมลู
ลกู คา้ จากระบบอิเล็กทรอนิกส์ปรบั ปรุงหรอื Update ข้อมูลเกีย่ วกบั สินคา้ และบรกิ ารได้ตลอดเวลา
2. ลดต้นทุนในการจัดซื้อ

ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็นราคาสินค้า ตลอดจนค่าใช้จ่ายใน
กระบวนการซื้อที่ลดลงสามารถควบคุมขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างได้ ขั้นตอนไม่ซับซ้อนสะดวกและรวดเ ร็วขึ้น
สามารถเลือก ผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายสินค้าและบริการได้อย่างหลากหลาย ประหยัดเวลาในการเปรียบเทียบสินคา้
และผู้ขายเปน็ ผลให้ไดส้ ินค้าคุณภาพดี และราคาเป็นที่น่าพอใจ ตรงกับความตอ้ งการที่สดุ
3. สนับสนุนการซ้ือ - ขาย

มีระบบค้นหาสินค้าจาก “คำค้นหาสินค้า” และช่องทางการเข้าถึงข้อมูลทาง“สารบัญข้อมูล” แบ่ง
ออกเป็นหมวดหมู่และประเภทอย่างชัดเจน เพื่อความสะดวกในการค้นหาเลือกดูสินค้า หรือบริษัท ได้ตาม
ความต้องการระบบผู้ติดต่อ และระบบข้อความทางหนา้ เว็บไซต์ เพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างกันส่งเสริมการเข้าถึงขอ้ มูลของผู้เขา้ ชมเวบ็ ไซตจ์ ำนวนมาก สามารถมองเห็นสินค้าและบริษัทของคุณ
ได้อย่างง่ายดาย ผา่ นทางหนา้ เว็บไซต์ สามารถทำกำไรไดม้ ากกว่าระบบการซอ้ื - ขายแบบเดมิ เน่ืองจากต้นทุน
การจดั ซือ้ และจดั จำหน่ายตำ่ กวา่ ทำใหต้ น้ ทนุ ต่อหน่วยลดลงและ กำไรจากการขายต่อหน่วยเพิ่มขึ้น
4. ส่งเสริมการขายการโฆษณาและประชาสัมพันธ์

ลดตน้ ทนุ การสง่ เสริมการตลาด โฆษณาและประชาสมั พันธ์ เช่น ลดต้นทนุ การโฆษณาผ่านสื่อปกติอ่ืน
ๆ ลดตน้ ทนุ การจัดกิจกรรมทางการตลาด ซง่ึ สามารถใชส้ ่ืออิเล็กทรอนิกสบ์ ริหารจัดการได้สร้างภาพลักษณ์ที่ดี
ให้กับธุรกิจหรือองค์กร ในเรื่องของความทันสมัย และเป็นโอกาสที่จะทำให้สินค้าหรือบริการเป็นที่รู้จักอย่าง
รวดเร็วในวงกว้าง
5. ลดการใช้ทรัพยากร

ลดเวลาในการหาข้อมูลสินค้าหรือผู้ขาย และย่นเวลาในการนำสินค้าเข้าสู่ตลาดลดขั้นตอนทาง
การตลาดลดพลงั งานในการเดนิ ทางลดการใชท้ รัพยากรด้านองค์ประกอบทางธุรกิจ เชน่ พ้นื ท่กี ารขาย อาคาร
ประกอบการ ทำเลท่ีตง้ั โกดังเก็บสินค้า เป็นต้นลดตน้ ทนุ ด้านช่องทางจำหนา่ ยในรูปแบบร้านค้า, ค่าใช้จ่ายใน
การขายและบรหิ าร รวมท้งั คา่ เชา่ พ้ืนท่ขี ายหรือการลงทุนในการสรา้ งร้าน ซ่งึ จะชว่ ยให้ต้นทนุ ของธุรกิจตำ่ ลง

Credit : คณุ สดุ ารัตน์ เพง็ ขุนทด
Credit : http://about.b2bthai.com/ArticleInfo.aspx?ArticleTypeID=78&ArticleID=74

21

ใบความร้ทู ่ี 5
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชพี

ความสำคัญของคุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ
จริยธรรมเป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจรรยา

คือความประพฤติ และธรรม คือเครื่องรักษาความประพฤติ การประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตามผู้ประกอบอาชีพ
จะต้องคำนึกถึงผลกระทบตอ่ สังคมภายนอกเสมอ ทั้งนี้ก็คือจะต้องไม่ใช้ความรู้ความสามารถในทางทีผ่ ดิ หาก
ประกอบอาชีพโดยไร้จริยธรรมผลเสียหายจะตกอยู่กับสังคมและประเทศชาติฉะนั้นจริยธรรมจึงมีบทบาท
สำคัญอยา่ งยิ่งทีจ่ ะลดปัญหาท่อี าจจะเกดิ ขนึ้ ความสำคญั ของจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ มดี ังน้ี

1. ช่วยให้ผู้ประกอบอาชีพแต่ละสาขาได้ใช้วิชาชีพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม และเป็นประโยชน์ต่อ
สงั คมและประเทศชาติ

2. ช่วยควบคุมและส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพทำงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยมีความสำนึกในหน้าท่ี
และมีความรับผิดชอบในงานของตน

3. ช่วยส่งเสริมและควบคุมการผลิต และการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพเป็นที่เชื่อถือและไว้วางใจได้ใน
เรื่องของความปลอดภัยและการบริการท่ดี ี

4. ช่วยส่งเสรมิ ให้ผู้ประกอบอาชีพไมเ่ อารัดเอาเปรียบผู้บริโภค และไม่เหน็ แก่ตวั ทัง้ นี้ต้องยึดหลักโดย
คำนกึ ถงึ ผลกระทบท่ีจะเกิดแกผ่ ู้บรโิ ภคเสมอ

5. ช่วยให้วงการธุรกิจของผู้ประกอบอาชีพมีความซื่อสัตย์ ยุติธรรม และมีความเอื้อเฟื้อต่อสังคม
สว่ นรวมมากขึ้น อาชพี (Occupation) ดำรง ฐานดพี (2536 : 2) ไดใ้ ห้ความหมายไว้ ดงั นี้ หมายถึง กิจกรรมที่
เกี่ยวข้องกับงานทุกประเภทและเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม ดังนั้นคำว่า
อาชีพจึงครอบคลุมไปถึงงานที่ใคร ๆ ก็ทำได้โดยไม่ต้องอาศัยการฝึกหัดมาก่อน เช่น งานที่ต้องใช้แรงงาน
(Manual works) และเป็นงานที่ผู้กระทำจะต้องได้รับการฝึกฝนเป็นพิเศษหรือเป็นงานที่ใช้ทักษะและการ
ฝึกหัดขั้นสงู (Technic worls)”

หลกั ในการยึดถือปฏิบตั ิของผู้ประกอบอาชีพท่ัวไปพึงกระทำเพอื่ ความเจรญิ ก้าวหน้าในอาชีพของตน
และร่วมรับผดิ ชอบในสังคม ควรมดี ังน้ี

1. ความซื่อสตั ย์สุจรติ และมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม
2. การมีจริยธรรมต่อสง่ิ แวดล้อม
3. ความน่าเชื่อถือและความปลอดภัยในบรกิ าร
4. การมีจรรยาอาชพี และดำเนินกจิ การอย่างมีคุณภาพ
5. การสร้างสมั พันธภาพท่ดี ีต่อลูกค้า
6. การเคารพสิทธิและรกั ษาผลประโยชน์ของผอู้ ืน่
7. การใชจ้ ริยธรรมในการติดต่อสอ่ื สาร
8. การสรา้ งสมั พันธภาพกับชุมชน
9. การสร้างวินยั ในการประกอบอาชีพ

22

10. การดำเนินงานอยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย
11. การใหแ้ หล่งข้อมลู ข่าวสารอยา่ งถูกตอ้ ง
12. การประกอบอาชีพดว้ ยความขยันหม่นั เพียร
ผปู้ ระกอบการจะต้องมีคณุ ธรรมประจำใจที่สำคญั 7 ประการ

1. ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ
2. ขยันหมั่นเพยี ร
3. มคี วามรับผิดชอบ
4. มีความละเอียดรอบคอบ
5. ตัดสินใจอยา่ งฉลาดและมีเหตุผล
6. ตรงตอ่ เวลา
7. เห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวม
ผทู้ ม่ี คี ุณลักษณะท่ีดีเหมาะสมกับการประกอบอาชพี ต้องมีจรยิ ธรรมดังนี้
1. ทำงานเต็มความรู้ความสามารถและอุทิศเวลาให้กบั งาน
2. ไมแ่ ก่งแยง่ ชิงดชี งิ เด่น
3. ไมค่ ดโกงเอาเปรยี บเพอื่ นรว่ มงานและผู้บรโิ ภค
4. ไมห่ ลอกลวงโดยการโฆษณาชวนเช่ือ
5. เลอื กประกอบอาชีพทไ่ี ม่ขัดกับกฎหมายและศลี ธรรม
6. เสียภาษอี ากร ภาษีเงินได้จากการประกอบอาชพี ตามความเป็นจริง

23

ใบงานท่ี 1
เรือ่ ง ความรู้ทว่ั ไปเกีย่ วสมุนไพร

จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ใหน้ ักศกึ ษาอธบิ ายของความหมายจองสมุนไพร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………
………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………

2. จงบอกประโยชนส์ รรพคุณของสมุนไพร มาอยา่ งน้อย 10 ชนิด พร้อมยกตัวอย่าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………
………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………
………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………......……………………………………………………………………………………………………………
3.จงอธิบายการใช้ยาสมุนไพร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………

24

ใบงานที่ 2
เร่ือง การทำลกู ประคบสมนุ ไพรสด

จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ให้นกั ศกึ ษาบอกความหมายของลูกประคบสมนุ ไพร มาพอเขา้ ใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………
………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………

2. ใหน้ ักศกึ ษาบอกสว่ นประกอบสมนุ ไพรสดและสรรพคุณ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………
………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………
………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………......……………………………………………………………………………………………………………
3. ให้นักศกึ ษาบอกประโยชน์ลูกประคบสมนุ ไพรสด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………

25

ใบงานท่ี 3
เรอื่ ง การทำลูกประคบสมนุ ไพรสด
คำชแ้ี จง ให้ผู้เรียนศกึ ษาการทำลกู ประคบสมุนไพรสด ต่อไปนี้
1. ศกึ ษาใบความรู้เรอ่ื งการทำลูกประคบสมมุนไพรสด
2. ศกึ ษาการทำลกู ประคบสมมุนไพรสดจากแหลง่ เรียนรู้กลุม่ ลกู ประคบสมมุนไพรสด บ้านสันหลวง
ใหมห่ มู่ 10 ตำบลทุ่งรวงทอง อำเภอจุน จงั หวัดพะเยา แล้วใหฝ้ กึ ทักษะการทำลูกประคบสมมุนไพรสด
3. ให้ผู้เรยี นเตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ในการทำลูกประคบสมมุนไพรสด ตามใบความรู้ การทำลกู ประคบ
สมมุนไพรสด
4. ให้ผเู้ รยี นทำลูกประคบสมมนุ ไพรสดตามขั้นตอนในใบความรู้

26

ใบงานท่ี 4
เร่อื ง การทำลกู ประคบสมุนไพรแห้ง
จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1. ให้นักศึกษาบอกความหมายของลูกประคบสมนุ ไพร มาพอเขา้ ใจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………
………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………

2. ให้นักศึกษาบอกส่วนประกอบสมุนไพรแห้งและสรรพคุณ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………
………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………
………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………......……………………………………………………………………………………………………………
3. ให้นกั ศึกษาบอกประโยชนล์ ูกประคบสมนุ ไพรแห้ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………......……………………………
………………………………………………………………………………………………………………...………………………………………
……………………………………………………………………………………………………...…………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...…………………………………………………………
……………………………………………………………………………………...…………………………………………………………………

27

ใบงานที่ 5
เรอ่ื ง การทำลูกประคบสมนุ ไพรแห้ง
คำช้ีแจง ใหผ้ เู้ รยี นศึกษาการทำลูกประคบสมุนไพรแห้ง ต่อไปน้ี
1. ศกึ ษาใบความรูเ้ รอ่ื งการทำลกู ประคบสมมนุ ไพรแห้ง
2. ศกึ ษาการทำลูกประคบสมมุนไพรแห้งจากแหลง่ เรียนรู้กลุม่ ลูกประคบสมมุนไพรแหง้ บา้ นสัน
หลวงใหมห่ มู่ 10 ตำบลทุ่งรวงทอง อำเภอจนุ จังหวดั พะเยา แลว้ ใหฝ้ ึกทักษะการทำลกู ประคบสมมนุ ไพรแห้ง
3. ให้ผู้เรยี นเตรยี มวสั ดุ อปุ กรณใ์ นการทำลกู ประคบสมมุนไพรแห้ง ตามใบความรู้ การทำลูกประคบ
สมมุนไพรแห้ง
4. ใหผ้ ู้เรยี นทำลูกประคบสมมนุ ไพรแห้ง ตามข้ันตอนในใบความรู้

28

ใบงานที่ 6
เรื่อง การบริหารจัดการและการตลาด

จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. จงบอกความหมายของการวางแผนการผลติ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. ...............................................
2. จงบอกประเภทของการจัดจำหนา่ ย
...................................................................................................................................................................... ........
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................ ..................
3. จงบอกประโยชน์ของการทำบญั ชรี ายรับ – รายจ่าย
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
4. จงบอกความของการค้าออนไลน์
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
5. จงบอกประโยชน์ของ E – Commerce
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................

29

ใบงานที่ 7

เรื่อง คณุ ธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชพี
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ความสำคญั ของคุณธรรม จริยธรรม ในการประกอบอาชพี
........................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ ..............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................. .............................
...................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .......................................
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
.................................................................................................................................................................... .........

2. คณุ ธรรมสำหรับผูป้ ระกอบการ 7 ประการ คือ
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................

30

คณะผจู้ ัดทำ

ท่ีปรึกษา

นางมีนา กิตชิ านนท์ ผ้อู ำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวดั พะเยา

นางอัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศกึ ษานิเทศก์เชีย่ วชาญ สำนกั งาน กศน.

คณะกรรมการสถานศึกษา

คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการ

ผจู้ ดั ทำ

นางวิลาวลั ย์ ไชยมงคล ผูอ้ ำนวยการ กศน. อำเภอจุน

นายวสันต์ สุธรรมมา ครผู ชู้ ่วย

นายณฐั วัฒน์ สทิ ธิสาร ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

นางสาวกานตช์ นา มีฉลาด ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

นายชัฏ จันทะวงค์ ครู กศน.ตำบล

นายตรงสิทธ์ิ เตจ๊ะบตุ ร ครู กศน.ตำบล

นางปารชิ าติ บุตตะชา ครู กศน.ตำบล

นางสาววิจิตรา หอมอ่อน ครู กศน.ตำบล

นางสาวอญั ชลี สะสาง ครู กศน.ตำบล

นางสาวอรพรรณ มีแรง ครู กศน.ตำบล

นายกษิดิศ ประชา ครู กศน.ตำบล

นางสาวคนึงนิจ กาศสนุก คร.ู กศน.ตำบล

นางสาวอโนรัตน์ สกั ลอ ครู.กศน.ตำบล

นางสาวอลิสา จนั ทร์นวล ครศู ูนย์การเรียนชมุ ชน

นางสาวจรี วรรณ พนั ธุระ ครูผู้สอนคนพิการ

นางธมกร ไชยนันท์ ครผู สู้ อนคนพกิ าร

บรรณาธกิ าร

นายกษดิ ิศ ประชา ครู กศน.ตำบล

นางธมกร ไชยนันท์ ครผู ู้สอนคนพกิ าร

ผรู้ บั ผดิ ชอบ

นายกษดิ ิศ ประชา ครู กศน.ตำบล

นางธมกร ไชยนันท์ ครผู ู้สอนคนพกิ าร

31


Click to View FlipBook Version