ภูมิบ้าน ภูมิเมือง
ใรน เ ้อร่ื อ งยเอ็ด
บทกวี ไพวรนิ ทร์ ขาวงาม ภาพ โชตวชิ ช์ สุวงศ์
1
ภมู บิ ้าน ภมู เิ มอื ง ในเรื่อง รอ้ ภยูมบิเา้อน็ดภูมิเมอื ง ในเร่อื ง ร้อยเอ็ด
บทกวี ไพวรินทร์ ขาวงาม
ภาพ โชตวิชช์ สุวงศ์
โครงการ สร้างสรรค์สอื่ การเรยี นรสู้ าระทอ้ งถนิ่
เลขมาตรฐานประจ�ำ หนงั สือ 978 - 616 - 235 - 299 - 7
บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ
อธิปัตย์ บำ�รงุ
ทัศนัย วงศพ์ เิ ศษกลุ
ผู้ช่วยบรรณาธิการอำ�นวยการ อสิ ระ โพธจิ ันทร์
วราพร ตยานุกรณ ์ นันธนา เจริญภกั ดี
ฉตั ราภรณ์ กงสิน ปรชั ญาพร พัฒนผล
ทศั นีย์ ประกอบพร
บรรณาธิการด�ำ เนนิ งาน
ระพพี รรณ พัฒนาเวช
ขอขอบคณุ
2 รงุ่ ทิวา ธรณี และ อนนั ต์ เจรญิ แกน่ ทราย
ออกแบบปกและรปู เลม่
โชตวชิ ช์ สวุ งศ์
พมิ พ์ครั้งแรก ๒๕๖๑ จ�ำ นวน ๓,๐๐๐ เล่ม
สงวนสิทธิ์ © ไพวรินทร์ ขาวงาม โชตวิชช์ สุวงศ์
และสำ�นกั งานอทุ ยานการเรียนรู้ ส�ำ นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองค์ความรู้ (องคก์ ารมหาชน)
เจ้าของโครงการ
สำ�นักงานอุทยานการเรยี นรู้ (สอร.)
สังกดั สำ�นกั งานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องคก์ ารมหาชน)
สว่ นบริการ
ศูนย์การค้าเซน็ ทรัลเวลิ ด์ ช้ัน ๘ Dazzle Zone
ถนนราชดำ�ริ ปทมุ วัน กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๐๐ โทรสาร ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๓๒
สว่ นส�ำ นักงาน
๙๙๙/๙ อาคารส�ำ นักงานเซ็นทรัลเวลิ ด์ ชัน้ ๑๗
ถนนพระราม ๑ ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐
โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๓-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๖
www.tkpark.or.th
พมิ พท์ ่ี บริษทั สหมิตรพริน้ ตง้ิ แอนดพ์ บั ลสิ ชง่ิ จำ�กดั
คำ�น�ำ
ภารกจิ ส�ำ คญั ตอ่ สงั คมประการหนง่ึ ของส�ำ นกั งานอทุ ยานการเรยี นรู้ คอื การปลกู ฝงั นสิ ยั
รักการอ่าน และการกระจายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความ
สนใจของเด็ก เยาวชน และประชาชน ในรูปแบบห้องสมุดมีชีวิตที่สร้างสรรค์บนพ้ืนฐานการมี
สว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ ง ๆ โดยสำ�นกั งานอุทยานการเรยี นรไู้ ด้ร่วมกบั องค์กรปกครองสว่ นท้อง
ถนิ่ ในภูมภิ าคต่าง ๆ เพอ่ื ขยายผลการดำ�เนนิ งานดงั กลา่ ว
การสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้สาระท้องถิ่น ให้มีรูปแบบการนำ�เสนอที่ทันสมัยและดึงดูด
ความสนใจ เป็นเครื่องมือที่สำ�คัญอย่างหนึ่ง ซ่ึงสำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้เห็นว่ามีส่วนในการ
สรา้ งแรงบนั ดาลใจใหเ้ ดก็ และเยาวชนสนใจการอา่ นและใฝห่ าความรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยน�ำ เรอื่ งราว
ภมู ปิ ญั ญาสาระทอ้ งถน่ิ ใกลต้ วั ทส่ี อดคลอ้ งกบั วยั การด�ำ รงชวี ติ พรอ้ มกบั สอดแทรกแนวคดิ ดา้ นคณุ ธรรม
จริยธรรม มาเป็นเนื้อหาของสื่อการเรียนรู้สำ�หรบั เยาวชนตามชว่ งวยั ต้ังแต่ ๗ – ๑๒ ขวบ
สือ่ การเรยี นรู้สาระทอ้ งถน่ิ จงั หวดั ร้อยเอ็ดชดุ น้ี ส�ำ นกั งานอทุ ยานการเรียนรไู้ ด้รว่ มกัน
สร้างสรรค์กบั นักวชิ าการและนักเขียนในท้องถ่ิน เพื่อใหเ้ ดก็ และเยาวชน รวมทง้ั ประชาชนทั่วไป
ในจงั หวดั รอ้ ยเอด็ ไดร้ บั ความรแู้ ละความภาคภมู ใิ จในวฒั นธรรมและทอ้ งถนิ่ ตน รวมทง้ั กอ่ ใหเ้ กดิ
ความเขา้ ใจและการยอมรบั ในวถิ ชี วี ติ วฒั นธรรมทห่ี ลากหลายตามบรบิ ทพน้ื ทแี่ ละสภาพแวดลอ้ ม
ท่ีแตกตา่ งกันออกไป
สำ�นักงานอุทยานการเรยี นรู้ มุ่งหวังวา่ หนงั สอื ชุดน้ีจะเป็นสื่อการเรยี นรอู้ ีกชดุ หน่งึ ทจ่ี ะ
สง่ เสรมิ การอา่ นและการเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซง่ึ หมายถงึ เปน็ หนงั สอื ทผ่ี อู้ า่ น อา่ นอยา่ งมี
ความสขุ สนกุ ในการอา่ น และ กอ่ ใหเ้ กดิ ความตระหนกั ในคณุ คา่ ของทอ้ งถน่ิ ตนเองไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ
สำ�นักงานอทุ ยานการเรียนรู้
ภมู บิ า้ น ภมู เิ มอื ง ในเร่อื ง รอ้ ยเอด็
4
ภูมิบ้าน ภูมิเมือง
ใรน เ อ้ร่ื อ งยเอด็
บทกวี ไพวรนิ ทร์ ขาวงาม ภาพ โชตวิชช์ สวุ งศ์
ภมู บิ ้าน ภมู ิเมอื ง ในเร่อื ง รอ้ ยเอด็
ภูมบิ ้าน ภูมเิ มอื งไทย
อสี านใน หน่ึงร้อยเอด็
นามเมอื ง เหมือนนับเคลด็
ดั่งเลขเดด็ ร้อยเอด็ ดี
6
สิบเอ็ด ประตูเมือง
สบื ตอ่ เนอ่ื ง ตง้ั ธานี
ภมู ิเมอื ง หลักชยั มี
ภมู ิทางท่ี บึงพลาญ
7
ภมู บิ า้ น ภมู เิ มอื ง ในเร่อื ง รอ้ ยเอ็ด
ชาวเมอื ง ในชุมใจ
ประเพณี ดถิ ีวาร
เบกิ บญุ ผะเหวดงาน
ผ้าไหมเมอื ง สาเกตนคร
8
เดือนสาม คล้อยเดือนส ่ี 9
เทศน์มทั รี เวสสันดร
ธรรมทาน บนั ดาลพร
สืบวิถี ทกุ ปยี าม
ภูมิบา้ น ภมู ิเมอื ง ในเรอ่ื ง ร้อยเอ็ด
กลางเมอื ง มีวดั เก่า
พระสงู ใหญ่ ตระหงา่ นงาม
10 วดั บูรพาภิราม
เดมิ มีนาม วดั หวั รอ
มเหศักดานุภาพ
หลกั เมอื งบ้าน ศาลเจา้ พ่อ
ใกล้วัด ใกล้บ้าน พอ
สกั การะน้อม ส�ำ นกึ ดล
11
ภมู บิ ้าน ภมู เิ มือง ในเรื่อง รอ้ ยเอ็ด
หนองพอก หลวงปู่ศรี
มหาเจดีย์ชยั มงคล
วดั ใหญ่ นิมิตยล
ใหผ้ ูค้ น นมิ ิตใจ
12
13
จากวดั ผานํ้าทพิ ย ์
ผานํ้าย้อย อยู่ไมไ่ กล
ผาหมอกมวิ าย ไพร
รอ้ ยเอด็ ใน ภอู ทุ ยาน
ภมู บิ ้าน ภมู เิ มือง ในเรื่อง ร้อยเอ็ด
ทงุ่ กวา้ ง ทุ่งกลุ า
เรื่องพ่อค้า ในต�ำ นาน
14 แหง้ แลง้ ปูป่ ะหลาน
เผา่ กลุ า รอ้ งไห้โหย
ผ่านมา คงฟา้ ดนิ
เปน็ ทงุ่ ถ่นิ อุดมโดย
ขา้ วหอมมะลิ โชย 15
กล่ินหอมไกล ในโลกจรงิ
ภูมิบา้ น ภมู ิเมอื ง ในเรอ่ื ง ร้อยเอ็ด
เหนอื ทุ่ง อันกว้างไกล
เกษตรวิสัย กู่กาสิงห์
โบราณ ศิลาองิ
กู่เขมร เปน็ ทมี่ า
16
ผา่ นเมอื ง สวุ รรณภูมิ
ภูมิชีวติ ภมู ิศรัทธา
ปรางคก์ ูพ่ ระโกนา
ศิลาแลง วัดป่าล้อม
17
ภมู บิ า้ น ภูมเิ มอื ง ในเรื่อง ร้อยเอ็ด
ถงึ ถนิ่ ธวัชบุร ี
ร้อยเอด็ มี ปราสาทขอม
ศูนยว์ ิทยาศาสตร์ พรอ้ ม
ทัศนา สารพัน
18
ลถุ งึ เมืองหนองฮี
รอ้ ยเอ็ดมี บ่อพันขนั
บอ่ นา้ํ มหัศจรรย์
เตม็ นํ้าใส ไมเ่ หือดหาย
19
ภมู ิบา้ น ภูมเิ มือง ในเร่อื ง ร้อยเอ็ด เสลภมู ิ ยงั เหลือเชอ่ื
20 มี บ่งุ เกลอื กว้างมากหลาย
ใกลช้ ี ใกล้มลู กลาย
บงึ เกลอื เรียก ทะเลอสี าน
ร้อยเอ็ด-สรุ นิ ทร์ แดน
ใกลช้ ดิ แสน ขา้ มสะพาน
นํ้า ลำ�พลบั พลา ผ่าน
เป็นสายเลอื ด หลอ่ เล้ยี งดิน
21
ภมู ิบา้ น ภมู ิเมอื ง ในเร่อื ง รอ้ ยเอ็ด
22
ในตวั เมอื งรอ้ ยเอด็
สวนสมเดจ็ พระศรนี ครินทร์
ศูนยร์ วม ภมู ิร้ถู ่ิน
ที่ พพิ ธิ ภณั ฑสถาน
ใหม่เก่า เลา่ เรอ่ื งรอ้ ย
ส่งิ ใหญน่ อ้ ย เนอ่ื งตำ�นาน
ดนิ ดล คนบันดาล
ประวัติการณ์ ร้อยเอ็ดเมอื ง!
23
ภูมบิ า้ น ภมู ิเมอื ง ในเร่อื ง รอ้ ยเอด็
หนงั สอื ในชดุ สอ่ื การเรยี นรู้สาระท้องถ่ิน จังหวัดรอ้ ยเอ็ด
24
ผเู้ ขียน
ไพวรนิ ทร์ ขาวงาม
เกดิ ในครอบครวั ชาวนา จังหวดั ร้อยเอ็ด
จบการศกึ ษามธั ยมปลาย จากมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั
ไดร้ บั รางวัลซีไรต์ จากหนังสอื รวมบทกวีเรือ่ ง มา้ ก้านกล้วย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘
และศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
ผู้วาดภาพ
โชตวชิ ช์ สวุ งศ์
จบการศกึ ษาจากคณะมัณฑนศลิ ป์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๕
เปน็ นกั ออกแบบตกแตง่ ภายในอสิ ระ และเปน็ นักวาดภาพ Perspective
เข้าทำ�งานประจ�ำ เปน็ กองบรรณาธิการนิตยสารบ้านและสวน ชา่ งภาพแฟชน่ั นติ ยสารแพรว
และบรรณาธกิ ารศิลปกรรม นิตยสารเนชนั แนลจีโอกราฟกิ ฉบบั ภาษาไทย ตามล�ำ ดบั
ปจั จุบัน เปน็ ผรู้ ับจา้ งเรียบเรยี ง ผลิตหนังสือเลม่ อิสระ
และกลบั มาวาดภาพสนี า้ํ เป็นการจริงจงั หลงั ทง้ิ พู่กนั ไปเกอื บ ๓๐ ปี