pTKark ร่วมสร้างสรรค์สื่อการเรียนรู้สาระท้องถิ่น
อุทยานการเรยี นรู
สำนกั งานบรหิ ารและพัฒนาองคความรู
ศรสี ะเกษ(องคการมหาชน)
เมอื ง น่าสนุก
เรื่อเรงื่อแงลแะลภะภาาพพ
อปารทดี ติา ยป์ ญัอมญราจชนั รทร์
ส่อื การเรียนรสู าระทองถน่ิ
โดย
TpKark
¡ j¥ Ô¢ สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู
ศรสี ะเกษเมอื งนาสนุก
เร่ืองและภาพ ปรดี า ปญญาจันทร
โครงการ สรา งสรรคส ่ือการเรียนรูส าระทอ งถิ่น
เลขมาตรฐานประจาํ หนงั สอื 978-616-235-228-7
คณะบรรณาธิการอาํ นวยการ
ทัศนยั วงศพ ิเศษกุล
วราพร ตยานกุ รณ
บรรณาธกิ ารดําเนนิ งาน
ระพพี รรณ พัฒนาเวช
ออกแบบรูปเลม
ธวลั รตั น ล้มิ วฒั นพนั ธชัย
พมิ พค ร้งั แรก ๒๕๕๘
จํานวน ๓,๐๐๐ เลม
สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ปรดี า ปญ ญาจนั ทร
สาํ นกั งานอุทยานการเรยี นรู สาํ นักงานบริหารและพฒั นาองคความรู (องคการมหาชน)
pTKark
¡ j¥ Ô¢ สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู
เจา ของโครงการ
สาํ นักงานอุทยานการเรียนรู (สอร.)
สังกดั สํานกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคค วามรู (องคการมหาชน)
สวนบริการ
ศนู ยก ารคา เซ็นทรัลเวลิ ด ช้นั ๘ Dazzle Zone
โทรศพั ท ๐-๒๒๕๗-๔๓๐๐ โทรสาร ๐-๒๒๕๗-๔๓๓๒
สวนสํานกั งาน
๙๙๙/๙ อาคารสํานกั งานเซน็ ทรลั เวิลด
ชนั้ ๑๗ ถนนพระราม ๑ ปทมุ วัน กรงุ เทพฯ ๑๐๓๓๐
โทรศัพท ๐-๒๒๖๔-๕๙๖๓-๕ โทรสาร ๐-๒๒๖๔-๕๙๖๖
www.tkpark.or.th
พมิ พที่ บริษัท สหมติ รพรน้ิ ตงิ้ แอนดพ บั ลิสซิ่ง จํากัด
โทรศพั ท ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗-๙
คํานาํ
ภารกิจสําคัญตอสังคมประการหนึ่งของสํานักงานอุทยานการเรียนรู คือ การปลูกฝงนิสัย
รักการอาน และการกระจายโอกาสในการเขาถึงแหลงเรียนรูที่ทันสมัยและสอดคลองกับความสนใจ
ของเด็ก เยาวชน และประชาชน ในรูปแบบหองสมุดมีชีวิตท่ีสรางสรรคบนพื้นฐานการมีสวนรวมของ
ทุกภาคสวน โดยสํานักงานอุทยานการเรียนรูไดรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในภูมิภาคตาง ๆ
เพอื่ ขยายผลการดําเนนิ งานดงั กลาว
การสรางสรรคสื่อการเรียนรูสาระทองถิ่นใหมีรูปแบบการนําเสนอที่ทันสมัยและดึงดูดความ
สนใจเปนเครื่องมือท่ีสําคัญอยางหนึ่ง ซ่ึงสํานักงานอุทยานการเรียนรูเล็งเห็นวามีสวนในการสราง
แรงบันดาลใจใหเด็กและเยาวชนสนใจการอานและใฝหาความรูอยางตอเนื่อง โดยนําเรื่องราวภูมิปญญา
สาระทองถ่ินใกลตัวที่สอดคลองกับวัย การดํารงชีวิต พรอมกับสอดแทรกแนวคิดดานคุณธรรม
จริยธรรม มาเปน เนอ้ื หาของสือ่ การเรยี นรูส าํ หรบั เยาวชนตามชว งวยั ตั้งแต ๔ – ๑๒ ป
สื่อการเรียนรูสาระทองถ่ิน ภาคอีสานตอนลาง ชุดน้ี สํานักงานอุทยานการเรียนรูไดรวมกัน
สรางสรรคกับนักวิชาการและนักเขียนในทองถิ่น เพ่ือใหเด็กและเยาวชน รวมท้ังประชาชนทั่วไปใน
ภาคอีสานตอนลางไดรับความรูและความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมและทองถิ่นตน รวมท้ังกอใหเกิด
ความเขาใจและการยอมรับในวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่หลากหลายตามบริบทพ้ืนที่และสภาพแวดลอม
ท่แี ตกตา งกนั ออกไป
สํานักงานอุทยานการเรียนรูมุงหวังวาหนังสือชุดน้ีจะเปนส่ือการเรียนรูอีกชุดหนึ่งท่ีจะสงเสริม
การอานและการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งหมายถึง เปนหนังสือที่ผูอาน อานอยางมีความสุข
สนกุ ในการอา น และกอใหเ กิดความตระหนักในคุณคาของทองถิ่นตนเองไดอ ยางแทจ รงิ
สํานักงานอุทยานการเรียนรู
TpKark
¡j¥Ô¢
jp¦{ pmm× ¢Ô
pmj× s
ศรสี ะเกษ
àÁÍ× §¹Ò‹ ʹء
เรอ่ื งและภาพ
ปรดี า ปญ ญาจนั ทร
๖
ณ สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สถานท่ีพักผอ นหยอนใจและแหลง เรียนรธู รรมชาติสําหรับเดก็ ๆ ๗
เมืองศรสี ะเกษ เปนแหลงปลูกตน ลาํ ดวนแหลงใหญทีส่ ุดในประเทศ
มจี าํ นวนมากมายจนนับไมถว น ตลอดชวงเดือนมีนาคม
จะไดก ล่ินดอกลาํ ดวนหอมตลบอบอวลไปท้งั สวน
ในอดตี เมอื งศรีสะเกษเคยเปนพื้นท่ีแหง แลง
แตเด๋ยี วนผี้ ืนนาเขยี วชอมุ พชื ผลอดุ มสมบูรณ
๘
ผนื นางอกงามสลับกับสวนยางและสวนผลไม
เปนท่เี ลน สนกุ ของบกั โตง และเพ่อื นๆ
๙
๑๐
ปา แดงของบักโตง มีสวนขนาดยอมทเี่ ตม็ ไปดว ยผลไม
ปาแดงเลา วา “สวนปาแดงอยใู นเขตภูดนิ แดง สมัยกอ นเปนภูเขาไฟ
จงึ มีดนิ รวนปนทราย ปลกู อะไรกง็ าม ทง้ั เงาะ ทัง้ ทเุ รียน ปลกู ไดหมด”
๑๑
ปาแดง พี่ตุม บักโตง
และเพื่อนๆ เข็นรถผลไม
จากสวนเขาตลาดในเมือง
สามพี่นองเดินรั้งทาย
ดูตึกหลังงามอยางเพลิดเพลิน
๑๒
อาคารขุนอําไพพาณิชย สรางในป พ.ศ. ๒๔๖๘
หรือ ๙๐ ปมาแลว ปจจุบัน กรมศิลปากร
ขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถานสําคัญของชาติ
๑๓
๑๔
“โนน่ โน่น รถไฟลอดสะพานดำ�มาแลว้ ” ๑๕
พโ่ี ตง้ ตะโกนพลางโบกมือทักทายผูค้ นบนรถไฟ
ป้าแดงหัวเราะแลว้ เล่าว่า “ร้ไู หมว่าคนศรสี ะเกษมีเร่ืองเล่าเก่ยี วกับ
การน่งั รถไฟลอดสะพานด�ำ ขา้ มล�ำ นำ้�ห้วยสำ�ราญว่า หากคนโสด
มาบรรจรุ บั ราชการหรือมาทำ�งานในจงั หวดั ศรีสะเกษเป็นครงั้ แรก
และไดเ้ ดนิ ทางโดยรถไฟ ซึง่ ต้องลอดสะพานดำ� ส่วนมากจะไดค้ คู่ รอง
ไดเ้ ปน็ ลกู เขย ลูกสะใภ้ชาวศรสี ะเกษ และตัง้ ถิน่ ฐานที่ศรสี ะเกษ
ซงึ่ คนศรสี ะเกษมักจะพูดเสมอวา่ ออดหลอด ศรสี ะเกษ”
๑๖
ท่ตี ลาดสด “ถงึ แลว เอาเดก็ ๆ ชว ยกันเรียงผลไมหนอ ย
เสร็จแลวจะใหก นิ น้าํ แขง็ ไส หวานเยน็ อรอย” ปาแดงบอก
“นน่ั ไง รา นอยูตรงโนน” พี่ตมุ ชไี้ ปทีร่ านนา้ํ แข็งไสขางตลาด
๑๗
ไมไกลจากตลาด มีวัดมหาพทุ ธาราม
ซึง่ เปนวดั เกา แกของเมืองศรสี ะเกษ
คนท่วั ไปเรียกวดั พระโต ทีว่ ดั กาํ ลังมงี าน
ปาแดงจึงบอกเดก็ ๆ ท่ีวัดมีงานนาสนุก
กนิ น้าํ แข็งไสกันแลว เดก็ ๆ กไ็ ปเทีย่ วงานวดั กนั เถอะ
เด็กๆ จงึ รีบรม่ี าที่วัด
๑๘
๑๙
พ่ตี ุ้มพาบกั โตง้ และเพื่อน ๆ
ไปไหว้หลวงพอ่ ในวดั
หลวงพอ่ ย้ิมแยม้ พูดคยุ กบั เด็ก ๆ
“ใครรู้จกั คำ�ขวญั ของเมอื งศรีสะเกษบ้าง”
หลวงพ่อถาม
บกั โตง้ ท่องค�ำ ขวญั ทันควนั
“หลวงพอ่ โตค่บู า้ น ถ่นิ ฐาน
ปราสาทขอม ข้าวหอม กระเทียมดี
มีสวนสมเด็จ เขตดงล�ำ ดวน
หลากลว้ นวัฒนธรรม เลิศลาํ้ สามัคคี”
๒๐ “เกง่ มาก” หลวงพอ่ ชม บักโตง้ ย้มิ แก้มปริ
“เดก็ ๆ อยากรู้ม้ัย
ทาํ ไมเมอื งนี้จึงชอ่ื ศรีสะเกษ”
เดก็ ๆ พยกั หนา้ นงั่ ฟังอยา่ งตัง้ ใจ
หลวงพอ่ จงึ เลา่ เรื่องราวเมอื งศรสี ะเกษใหฟ้ งั
๒๑
ตํานาน ๒ เรอ่ื งของเมืองศรีสะเกษ
ตํานานแรก
มีเจาหญิงขอมรูปงามนามวา สิริกัลยาณี หรือศรีกัลยาณ์ิ หรือพระนางศรี
ไดเดินทางจากเมืองอินทปตถ กรุงกัมพูชา ไปเยี่ยมพระสวามีที่เมืองพิมาย
ผานทางมาถึงเมืองสดุกอําพิล ที่มีสระน้ําใหญ จึงหยุดพักเพ่ืออาบน้ําและ
สระผมในสระที่เรียกวา สระกําแพงใหญ เมื่อสรางเมืองเสร็จจึงถือเอาเร่ืองราว
ของพระนางศรีสระผมเปนเหตุ เมืองนี้จึงมีช่ือวา สิริเกศ ตอมาเปนศรีสระเกศ
และเปลี่ยนมาเปน ศรีสะเกษ
๒๒
ตาํ นานทส่ี อง
มีเจาหญิงแหงเมืองลาว นามวา นางศิริโสภา หรือพระนางศรีได
แตงงานกับพระยาแกรก ผูเปนกษัตริย พระนางทรงครรภแก จึงไดออก
ตามหาพระสวามี เม่ือเดินทางมาถึงบริเวณสระนํ้าใหญ ไดคลอดทารก
ที่ริมสระน้ัน นางไดชําระมลทินครรภแ ละทารกที่สระน้ํา คร้ันสรางเมืองข้ึนแลว
จึงตง้ั ชื่อเมืองตามพระนางวา สริ ิเกศ หรอื ศรีสระเกศ
* จากบทความตํานาน ๗ เรื่อง โดยพระศรธี รรมนาถมุนี รองเจาคณะจังหวัดศรีสะเกษ วดั มหาพทุ ธาราม พระอารามหลวง
๒๓
เลา เรอ่ื งเมอื งศรสี ะเกษ
ศรีสะเกษเดิมชื่อเมืองขุขันธ เมื่อครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา
เกิดเหตุการณพญาชางเผือกแตกโรงหนีมาเขาปาแถบชายแดนเขมร
พระเจาแผนดินจึงส่ังใหคนติดตามพญาชางเผือกจนมาถึงเมืองพิมาย
ยังหาไมพบ เจาเมืองพิมายจึงนําคณะไปหาพรานผูชํานาญเรื่อง
การจับชาง ช่ือตากะจะ หรือเชียงขัน ใหออกติดตามพญาชาง
จนพบและจับคืนมาได ตากะจะจึงไดรับโปรดเกลาโปรดกระหมอม
๒๔
บรรดาศักด์ิเปนหลวงแกวสุวรรณ ทําหนาที่นายกองหัวหนา
หมูบาน ตอมาทานไดรวบรวมไพรพล สรางบานแปงเมือง
จนบานปราสาทส่ีเหล่ียมโคกลําดวนยกฐานะเปนเมืองขุขันธ
หลวงแกวสุวรรณไดรับการโปรดเกลาฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์เปน
พระยาไกรภักดีศรีนครลําดวน เปนเจาผูปกครองเมืองขุขันธ
เปนคนแรก ตอ มาเมอื งขขุ ันธไดเ ปลยี่ นช่อื เปน เมอื งศรีสะเกษ
๒๕
จากน้ัน หลวงพอจึงพาเด็ก ๆ เขาไปกราบนมัสการหลวงพอโต
หลวงพอโตเปนพระพุทธรูปปางมารวิชัย คนพบขณะมีการยายเมืองจาก
ขุขันธมาตั้งอยูในตําแหนงเมืองศรีสะเกษปจจุบัน เจาเมืองสมัยนั้นเปน
เจาเมืองศรีสะเกษคนที่ ๒ คือ พระยาวิเศษภักดี (ชม) จึงไดอุปถัมภบํารุง
ใหสรางวัดขึ้นในบริเวณท่ีพบหลวงพอโต ซึ่งก็คือ วัดมหาพุทธาราม
วัดคบู านคเู มืองศรีสะเกษ
๒๖
๒๗
ศรสี ะเกษเมืองนา สนกุ กับคานยิ มหลกั ของคนไทย
การปลูกฝงคานิยมที่ดีใหแกเด็ก เพื่อใหอยูติดตัวเปนนิสัยไป
จนเติบโตเปนผูใหญนั้น ควรปลูกฝงดวยกระบวนการสรางความเชื่อมั่น
ปลกู ฝง ใหเห็นวา เปน ส่งิ ทีด่ งี ามและเดก็ ๆ จะรับไปไดโ ดยงา ย
ในหนังสือเรื่อง ศรีสะเกษเมืองนาสนุก เปนสื่อหน่ึงท่ี
สรางสรรคข้ึนเพ่ือปลูกฝงคานิยมท่ีมุงเนนสําหรับนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปท่ี ๑-๖ ไดแก ปลูกฝงความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
ความกตัญู การเคารพกฎหมาย มีวินัย รูจักเคารพผูใหญ มีความซื่อสัตย
เสียสละและอดทน ใฝหาความรู และมีความเขมแขง็ ทงั้ รา งกายและจิตใจ
ในคูมือการจัดกิจกรรมเลมนี้จึงขอยกตัวอยางใหคุณครูไดเห็นถึงคานิยมที่ผูแตง
ไดบ รรจภุ าพและเนื้อหาในหนงั สอื เร่อื ง ศรสี ะเกษเมืองนาสนุก ดังตอไปนี้
ในตอนท่ีตัวละครเด็กทยอยกันมาวัด เชาตรูวันรุงขึ้น เด็ก ๆ ราเริงว่ิงกรูตามกัน
มาในวัด หลายคนมาชวยตกแตงเพื่อเตรียมงานบุญใหญ และตอนชวยงานเสร็จ
เด็ก ๆ ชวนกันมากราบหลวงพอท้ัง ๒ ตอนนี้คุณครูสามารถปลูกฝงคานิยมนักเรียน
เขาสูความรักชาติ ศาสนาไดอยางแนบเนียนดวยกิจกรรม “ชวนคุย” หลังจากอาน
หนังสือเลมนี้จบแลว ชวนนักเรียนคุยเรื่องท่ีเก่ียวกับศาสนาโดยเร่ิมตนท่ีศาสนสถาน
อยางวัดใกลบาน ซึ่งเปนสถานท่ีที่นักเรียนรูจักกันดีและคุนเคยมากท่ีสุด สําหรับ
ในเลมศรีสะเกษเมืองนาสนุกนําเสนอวัดคูบานคูเมืองอยางวัดมหาพุทธาราม
หรือวัดหลวงพอโต ซึ่งนักเรียนยิ่งรูสึกใกลชิดมากข้ึน จึงงายแกการปลูกฝง
คานิยมอันดีงามดานพุทธศาสนาใหแกนักเรียน ในหัวขอ
การชวนคุยไมควรเปนการตอบคําถามแบบที่นักเรียน
เคยประสบมาตลอด แตควรมีลักษณะให
นักเรียนเปนผูดําเนินการถามตอบใน
ลักษณะเสวนาหรือชวนคุย
ตัวอยางเชน คุณครู
ตั้งประเด็นหลวงพอโต
๒๘
ข้ึนมา จากน้ันใหนักเรียนแลกเปลี่ยนประสบการณเร่ืองที่เคยมาวัดหลวงพอโต
กันภายในกลุม และใหนักเรียนผูอานไดมีโอกาสเลาประสบการณที่ตนเองไดเสียสละ
เพื่อสวนรวม รูจักอดทนเมื่อใดบาง หรือการแสดงความเคารพผูใหญในโอกาสใดบาง
ที่นักเรียนไดปฏบิ ัตจิ ริงๆ มาแลว
สวนการปลูกฝงคานิยมเรื่องการมีวินัย และเคารพกฎหมาย ท่ีเราเห็นไดชัด
และสามารถปลูกฝงเพิ่มเติม คือภาพเหตุการณเมื่อเด็ก ๆ ตัวละครพากันเข็นรถ
นําผลไมเตรียมไปขายและเจอทางรถไฟ ทุกคนหยุดเพื่อรอใหรถไฟแลนผานไปกอน
ทั้งน้ี การเคารพกฎหมายทําใหทุกคนในสังคมอยูรวมกันอยางสงบและปลอดภัย
เด็กนักเรียนจํานวนมากไมทราบขอหามตาง ๆ ในการใชรถใชถนนซ่ึงมีกฎหมายบังคับ
อยู คุณครูจึงควรเริ่มตนปลูกฝงคานิยมน้ีดวยเรื่องเล็ก ๆ งาย ๆ ใกลตัวเพ่ือใหนักเรียน
เขา ใจและพรอ มปฏบิ ัตติ าม
๒๙
ประวัตินักเขียน
นายปรดี า ปญ ญาจันทร
เกิด ๑๐ ธันวาคม ๒๕๐๒
การศกึ ษา คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร
เกยี รติประวตั ิ รางวลั หนังสือดเี ดน จากงานสัปดาหหนังสอื แหงชาติ ป ๒๕๓๘ เร่ือง เมนหลบฝน
รางวัลชมเชย จากงานสปั ดาหห นังสอื แหงชาติ ป ๒๕๓๙ เรอ่ื ง กระดุกกระดก๊ิ ฯ
รางวัลชมเชย จากงานสัปดาหหนังสือแหง ชาติ ป ๒๕๔๐ เร่ือง เลน กลางแจง
รางวัลหนังสอื ดีเดนจากงานสปั ดาหห นงั สือแหง ชาติ ป ๒๕๕๒ ชุด ราชากับฤๅษี
ผลงาน หนังสอื สาํ หรับเดก็ เรอื่ ง เมน หลบฝน เลน กลางแจง เลน ริมน้าํ เลม ในปา
พระจนั ทรอ ยากมเี พื่อน ชดุ “สระสนกุ ” ชุด “ราชากบั ฤๅษี” ชดุ “ความพอเพยี ง”
เปนตน
ปจจบุ นั นักเขียนและนกั วาดภาพประกอบหนังสือสําหรับเด็ก
อาจารยพ เิ ศษสาขาวรรณกรรมสาํ หรบั เดก็ ภาควชิ าบรรณารักษศาสตร
คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร
วิทยากรดา นการพัฒนาการอา นภาษาไทยในนักเรยี นประถมศึกษา
หนังสือการเรยี นรสู าระทองถน่ิ อีสานตอนลาง
๓๐