The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

10 checklists เลี้ยงลูกให้มีสุข ฉบับปฐมวัย สุขสังคมเท่าทันสื่อ0-5 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

10 checklists เลี้ยงลูกให้มีสุข ฉบับปฐมวัย สุขสังคมเท่าทันสื่อ0-5 ปี

10 checklists เลี้ยงลูกให้มีสุข ฉบับปฐมวัย สุขสังคมเท่าทันสื่อ0-5 ปี

1

พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 : พ.ศ. 2560 พสิ ูจนอ์ กั ษร : สุปรยี า ห้องแซง
เรยี บเรียงเน้อื หา : โครงการพัฒนาชดุ ความรู้ส่ือสร้างสรรค์เพือ่ ภาพประกอบ : ชมพนู ุท เหลืองอังกูร
คอมพิวเตอร์กราฟกิ : ปาจรยี ์ คะศรที อง
เดก็ และครอบครัว พิมพ์ท่ี : พรรณกี ารพิมพ์ 28, 30, 32, 34, 36
เน้ือหาวิชาการ : สถาบันสอ่ื เดก็ และเยาวชน (สสย.)
ซอยกาญจนาภเิ ษก 008 แยก 10 บางแค
แผนงานสรา้ งเสรมิ วฒั นธรรมการอ่าน กรงุ เทพฯ 10160
แผนงานสอื่ ศิลปวฒั นธรรมสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สนบั สนุนโดย : สำ�นักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ ง
บรรณาธิการ : ญาณนี ศริ ิวงศ์ ณ อยุธยา
วันทนีย์ เจยี รสุนันท์ เสริมสขุ ภาพ (สสส.)

2

บทนำ�

คนเราจะเกดิ มาหนา้ ตาเปน็ อยา่ งไร สงู ต�่ำ ด�ำ เตยี้ ปจั จยั ก�ำ หนดคงมาจากพนั ธกุ รรม แตเ่ มอ่ื
คลอดออกจากครรภ์มารดาแล้ว สิง่ ทจ่ี ะมอี ทิ ธพิ ลก�ำ หนดความร้สู ึกนกึ คิด ความสามารถ นสิ ยั ใจคอ
ทศั นคตใิ นดา้ นตา่ งๆ ปจั จยั ส�ำ คญั ทส่ี ดุ คงอยทู่ ส่ี งั คมและสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั ไมว่ า่ จะเปน็ คณุ พอ่ คณุ
แม่ ญาตพิ ี่น้อง คุณครู เพือ่ น ๆ ชมุ ชนแวดล้อม รวมไปจนถึงสื่อต่าง ๆ ทอี่ ย่รู อบตวั ทุกสง่ิ ทกุ อยา่ ง
ลว้ นมอี ทิ ธพิ ลก�ำ หนดความแตกตา่ งของมนษุ ยแ์ ตล่ ะคน โดยมจี ดุ เรม่ิ ตน้ ตง้ั แตช่ ว่ งปฐมวยั (0 - 5 ป)ี
เปน็ ตน้ มา
หนงั สอื “10 Checklist เลย้ี งลูกใหม้ ี ‘สขุ ’ ฉบับ ปฐมวยั (0 - 5 ปี) เลม่ ที่ 2 : สขุ สังคม
เทา่ ทนั สอ่ื ” ท่คี ุณพ่อคณุ แมก่ ำ�ลังถืออยเู่ ล่มน้ี เปน็ 1 ในคู่มอื ความรชู้ ดุ 10 Checklist เลยี้ งลกู ให้
มี ‘สุข’ ที่จะช่วยแนะนำ�แนวทางให้คณุ พ่อคุณแมไ่ ดเ้ ล้ียงดูลกู ให้เติบโต กา้ วส่กู ารเปน็ พลเมืองทีเ่ ข้ม
แข็ง อยู่ในสังคมรอบตัวอย่างมีความสุข โดยเริ่มต้นต้ังแต่สังคมท่ีเล็กท่ีสุดสังคมแรกท่ีเด็กจะได้พบ
เจอ น่นั คือ สงั คมครอบครัว ต่อเน่ืองไปจนถงึ การกา้ วไปส่สู ังคมทกี่ ว้างใหญข่ ้ึนทีศ่ ูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก
โรงเรยี นอนบุ าล ชมุ ชนแวดลอ้ ม และทไ่ี มค่ วรลมื ส�ำ หรบั เดก็ ยคุ ศตวรรษที่ 21 คอื ทกั ษะความรเู้ ทา่ ทนั
ส่ือ ทีม่ คี วามสอดคลอ้ งและเหมาะสมตามช่วงวัย
เนื้อหาในหนังสือคู่มือชุดน้ี มาจากแนวคิด 3 ดี : สื่อดี พ้ืนที่ดี ภูมิดี อันเป็นแนวคิดที่
สำ�นักงานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้พฒั นาข้นึ โดยโครงการพฒั นาชดุ ความ
รู้ส่ือสร้างสรรค์เพื่อเด็กและครอบครัว ได้นำ�แนวคิดนี้มาประยุกต์ และนำ�เสนอผ่านประเด็นปัญหา
ตัวอย่างท่ีพ่อแม่ผู้ปกครองมักพบเจอ โดยมีทฤษฎีพัฒนาการเด็ก หลักจิตวิทยา และบทเรียนจาก
ภาคเี ครือข่ายตา่ ง ๆ ของ สสส. ซงึ่ ทํางานเกย่ี วกบั เดก็ เป็นข้อมลู สนับสนุนส�ำ คัญ จนออกมาเป็นชุด
คู่มอื ทีจ่ ะทำ�ให้คณุ พอ่ คณุ แมเ่ ขา้ ใจง่าย น�ำ ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำ�วันไดจ้ ริงชดุ นี้
เราทกุ คนลว้ นเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสงั คม หากเราอยากไดส้ งั คมทด่ี ี คงตอ้ งเรมิ่ ตน้ ทจ่ี ดุ เลก็ ๆ ท่ี
ใกลต้ วั เราทส่ี ดุ ...ทตี่ วั คณุ พอ่ ....ทตี่ วั คณุ แม.่ ..ทตี่ วั คณุ ลกู ...ทคี่ รอบครวั ของเรา แลว้ พลงั จากหนว่ ย
ของสังคมท่เี ลก็ ทสี่ ุดอยา่ งครอบครวั นี่แหละ ที่จะเชือ่ มโยงโอบกอดให้เกดิ สงั คมท่ีดี ปลอดภัย และมี
ความสุขท่สี ุด

3

สารบัญ

06 16 22

สังคมแรกในชีวติ Checklist 1 : Checklist 2 :
ของลูกน้อย
เวลาของครอบครวั ไม่ลมื ผู้สูงวัย

29 35 41

Checklist 3 : Checklist 4 : Checklist 5 :

ไปโรงเรยี นคร้ังแรก เคารพกฎและกตกิ า โกรธได้ ก็หายได้

47 53 58

Checklist 6 : Checklist 7 : Checklist 8 :

เด็กดีไม่พดู ปด อยา่ ปล่อยลูกไวก้ ับมือถอื ใส่ใจเรตต้ิง
แทบ็ เล็ต
65
71
Checklist 9 :
Checklist 10 :
ภาษามีอยู่รอบตวั
ชุมชนน่าเรยี นรู้

4

5

สงั คมแรก

ในชีวิตของลูกนอ้ ย

6

เมอื่ ลกู ของเราลืมตาขนึ้ มาบนโลกใบน้ี
ผ้ชู ายผ้หู ญงิ ทีเ่ ขาได้เหน็ ได้ใกลช้ ิดเป็นคู่แรก
ผชู้ ายท่ที �ำ ท่าตลกๆ ชอบท�ำ หนา้ ยมิ้ น้อยยม้ิ ใหญ่เวลาอมุ้ เขา
ผหู้ ญงิ ทมี่ องเขาดว้ ยสายตาทเี่ ป่ยี มไปดว้ ยความรักและ
ความห่วงใยมากมาย

ผ้ชู ายและผ้หู ญงิ คนู่ ้ีแหละ คือสงั คมแรกท่ีลูกของเราจะรจู้ กั
สมั ผัส เรยี นรู้ และเป็นต้นแบบในแทบจะทุกอยา่ ง
“สวสั ดคี รบั (คะ่ ) คณุ พ่อคุณแม”่
ผูท้ ี่เปน็ สงั คมแรกในชวี ติ ของลูก ๆ ทุกคน

7

เมอื่ พดู ถงึ สงั คมของเดก็ ปฐมวยั สงั คมแรกในชวี ติ ของลกู กค็ อื คณุ พอ่ คณุ แม่
และครอบครวั ทเ่ี ดก็ ๆ อาศยั อยนู่ น่ั เองคะ่ เพราะเดก็ ๆ จะเรม่ิ เรยี นรปู้ ฏสิ มั พนั ธแ์ รกใน
ชวี ติ กจ็ ากคณุ พอ่ คณุ แม่ เรยี นรกู้ ารแสดงทา่ ทาง การพดู ทว่ งทา่ กริ ยิ ามารยาท ตลอด
จนถึงการแสดงออกในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีแรกก็จากคุณพ่อคุณแม่และสมาชิกใน
ครอบครวั คะ่
เพราะฉะนนั้ ในชว่ งปฐมวยั คณุ พอ่ คณุ แมค่ วรจะเรมิ่ ปกั หมดุ สรา้ งสรรคส์ งั คม
ท่ีดใี ห้กบั ลกู ตงั้ แตใ่ นครอบครัว แลว้ จึงค่อยๆ ขยายออกไปยงั สังคมที่กว้างขน้ึ ต่อไป
หากเดก็ ๆ ไดร้ บั ประสบการณท์ ดี่ ี ความสมั พนั ธท์ อี่ บอนุ่ ผกู พนั รกั ใครจ่ ากครอบครวั
และสงั คมตั้งแตใ่ นชว่ งปฐมวัย สิ่งเหลา่ นจ้ี ะเป็นพ้นื ฐานใหเ้ ดก็ ๆ ของเรากา้ วออกไป
ในสังคมที่กวา้ งใหญ่ขึ้นในอนาคตได้อย่างมัน่ คงและแข็งแรง

“ลูกเราจะร้จู ักตวั เอง เข้าใจคนอืน่
ยอมรบั ความแตกต่าง และอยูใ่ น

สงั คมได้อยา่ งมีความสุข”

8

พลเมืองเด็ก

21ในศตวรรษท่ี

9

เรามักได้ยนิ ค�ำ เรียกขานเดก็ ๆ ในยคุ น้ี วา่ เปน็ เดก็ ในยคุ ศตวรรษท่ี 21 เป็น
ยุคท่ีเดก็ ๆ จะตอ้ งฝกึ ฝนเรียนร้ทู ักษะตา่ งๆ โดยเฉพาะทักษะ 3 ดา้ นท่ีส�ำ คญั มาก
นนั่ คือ

- ทกั ษะชวี ิตและการทำ�งาน
- ทักษะการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม
- ทักษะด้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี

และแนน่ อนทส่ี ุด จุดเร่ิมตน้ ทีด่ ที ี่สดุ ในการพฒั นาทกั ษะทั้งหลายก็คอื
‘ช่วงปฐมวัย’ ค่ะ

10

กรงุ โรมไมไ่ ดส้ รา้ งเสรจ็ ในวนั เดยี วฉนั ใด พลเมอื งทด่ี กี ไ็ มไ่ ดส้ รา้ งไดเ้ พยี งชวั่
ครชู่ ว่ั ยามคะ่ การบม่ เพาะคณุ ลกั ษณะ ความรู้ และทกั ษะทด่ี ใี หก้ บั ใครสกั คน จ�ำ เปน็
ต้องใช้เวลา ไม่เรง่ รัด ไม่ยดั เยียด แต่ก็ไมเ่ ผลอเรอปล่อยปละละเลย
สง่ิ ส�ำ คัญท่ีคณุ พอ่ คณุ แม่ควรปลูกฝังให้ลูก ๆ ของเราในชว่ งปฐมวยั เพื่อ
การกา้ วสู่การเปน็ พลเมืองทดี่ ีในสังคม ควรจะเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วยั ของ
เขาคะ่ ไม่มากไมน่ ้อยจนเกนิ ไป ประกอบดว้ ย

- ความตระหนกั ถงึ สิทธิของตนเองและผอู้ น่ื
- การร้จู ักรบั ผิดชอบในหน้าท่ีของตนเอง
- ปรับตัวเขา้ กับคนอนื่ ได้ ยอมรับความแตกตา่ ง
- เปน็ สมาชิกที่ดขี องกลมุ่ ยอมรับกฎกติกา
- ถา่ ยทอดความคดิ ของตนเอง สื่อสารกบั คนอนื่ ได้
- ร้จู กั เลอื กใช้ สร้างสรรค์สอ่ื ท่มี ีประโยชน์และปลอดภยั

11

10เรอื่ งนา่ รู้

ท่ีไมค่ วรพลาด !
ถา้ อยากใหล้ ูก

สุขสังคม เท่าทนั ส่อื

12

ถ้าถามพ่อแม่ร้อยท้ังร้อยว่าอยากให้ลูกโตไปเป็น
อย่างไร คิดว่าเกือบร้อยทั้งร้อย คงมีความปรารถนาอยากให้
ลูกพ่ึงพาตนเอง อยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
การจะก้าวไปถึงจุดนั้นได้ ต้องเร่ิมต้นตั้งแต่ก้าวแรกในช่วงวัย
แรกของชวี ิต
และตอ่ ไปนค้ี อื 10 เร่ืองนา่ รูท้ ส่ี ำ�คญั เพ่อื ให้ลูกของเรา
มีความสุขในสังคม มีความรู้เท่าทันสื่อ อยู่ในสังคมได้อย่างมี
คณุ ภาพและมคี วามสขุ แตล่ ะ Checklist จะส�ำ คญั และมคี วาม
เกย่ี วข้องกนั อย่างไร ไปตดิ ตามกนั เลยค่ะ

13

เวลาของครอบครัว 10
ไม่ลืมผ้สู ูงวยั เรอ่ื งนา่ รู้

ไปโรงเรียนคร้ังแรก

เคารพกฎและกติกา โกรธได้ ก็หายได้

14

ทไ่ี มค่ วรพลาด ! ภาษามอี ยรู่ อบตวั
ถ้าอยากใหล้ ูก
สุขสงั คม
เทา่ ทนั สื่อ

ชุมชนนา่ เรยี นรู้

ใสใ่ จเรตติง้

เด็กดีไมพ่ ูดปด อยา่ ปลอ่ ยลกู ไวก้ บั
มอื ถือ แทบ็ เลต็

15

1Checklist

เควรลอาบขคอรงัว

16

สังคมประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ตัวเราเองและบุคคลอ่ืน เด็ก ๆ จะเร่ิมรู้จัก
เข้าใจ และแยกแยะความเป็นตัวเองออก
จากคนอนื่ ไดเ้ มอื่ อายุเข้าชว่ งเดอื นที่ 4 – 6
สังเกตจากการที่เด็กเร่ิมร้องไห้เมื่อได้ยิน
เสียงแปลก ๆ หรือเมื่อต้องเจอคนแปลก
หน้า พอ่ แมค่ วรจะฝึกให้เดก็ ไดร้ บั การตอบ
สนองท่ีดีจากคนแปลกหน้า ให้เด็กรู้สึก
อบอุ่น ปลอดภัย เร่ิมเรียนรู้ท่ีจะอยู่กับ
บคุ คลทเ่ี ปน็ สมาชกิ ใหม่ๆ รอบตวั ของเขาได้

ความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั ยงั มสี ว่ น
เป็นพื้นฐานกำ�หนดพฤติกรรมของเด็ก ๆ
ท่ีมีต่อสังคมในอนาคต มีการศึกษาพบว่า
ความเปน็ ตวั ตนและพฤตกิ รรมของเดก็ ทจี่ ะ
แสดงตอ่ คนอน่ื ๆ รอบตวั เขาจะเปน็ อยา่ งไร
มักจะข้ึนอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก
กับพ่อแม่และคนอื่น ๆ ในครอบครัวตั้งแต่
ในช่วงเร่มิ ตน้ ของชวี ติ

17

เวลา = ความรัก

เดก็ ๆ มองและเขา้ ใจเรื่องราวในโลกแตกตา่ งจากผใู้ หญ่คะ่ ในความคดิ ของเดก็
ตวั นอ้ ย เขามกั จะวดั ปรมิ าณความรกั ทพ่ี อ่ แมม่ ใี หเ้ ขาจากเวลาทคี่ ณุ พอ่ และคณุ แมม่ อบ
ให้กับเขาคะ่
ซ่ึงแน่นอนในชีวิตจริง โดยเฉพาะในสภาพสังคมทุกวันนี้ ท่ีคุณพ่อคุณแม่ต่าง
ต้องมีภาระการงานรัดตัวเสียเหลือเกิน เรื่องปากท้องก็จำ�เป็นไม่แพ้เวลาท่ีจะต้องมอบ
ใหก้ บั ลกู ถา้ ครอบครวั ไหนกำ�ลังมีปัญหาเรอ่ื งเวลารมุ เรา้ อย่าเพ่งิ ถอดใจยอมแพค้ ะ่ ได้
เทา่ ไรเอาเทา่ น้นั พยายามเทา่ ท่ีเราทำ�ได้ เคล็ดลบั ส�ำ คัญของเร่ืองน้มี ีอยู่ 2 ค�ำ คะ่ คอื

‘คณุ ภาพ’
และ
‘ความสมำ่�เสมอ’

เวลาทมี่ นี อ้ ย ถา้ คณุ พอ่ คณุ แมท่ �ำ ใหเ้ ปน็ เวลาทม่ี คี ณุ ภาพสงู สดุ บวกกบั การท�ำ
อย่างสม่�ำ เสมอ น่ีแหละคะ่ คอื สงิ่ ล�้ำ ค่าทส่ี ดุ สำ�หรับลกู ตวั น้อยของเราแล้ว

18

เวลาคุณภาพ

เวลาคุณภาพ คือเวลาท่ีคุณพ่อคุณแม่ให้ความสนใจ ทุ่มเท และอยู่กับลูกตรงน้ันอย่าง
แท้จริง (ไม่ใช่เวลาที่ลูกอยู่ตรงหน้า แต่คุณพ่อคุณแม่กลับก้มหน้าอยู่กับมือถือหรือหน้าจอ
คอมพวิ เตอร)์ เมอ่ื คณุ พอ่ คณุ แมอ่ ยกู่ บั ลกู ขอใหใ้ ชพ้ น้ื ทแี่ ละชว่ งเวลาตรงนนั้ ท�ำ กจิ กรรมทล่ี กู สนใจ
เล่นกบั เขาใหม้ ากท่ีสดุ ไมต่ อ้ งวางแผน ไมต่ อ้ งกังวล ปล่อยไปตามธรรมชาติคะ่ ความสุขทเ่ี กดิ ขน้ึ
ในช่วงเวลานน้ั จะติดตราตรึงใจและกอ่ เกดิ เปน็ ประสบการณ์ทลี่ ้ำ�ค่าในใจลูกไปอกี นานแสนนาน
อีกช่วงเวลาหนึ่งที่สำ�คัญคือ ทุกครั้งที่ลูกเดินเข้ามาหาพ่อแม่เพื่อพูดหรือบอกอะไร
บางอย่าง ขอให้คุณพ่อคุณแม่สละเวลาสักนิด หยุดกิจกรรมที่ทำ�อยู่เพื่อรับฟังลูก ๆ อย่างต้ังใจ
แสดงออกซ่ึงความสนใจ เอาใจใส่ สิ่ง
เล็ก ๆ น้อย ๆ เหล่านี้แหละค่ะ ที่จะ
ท�ำ ใหล้ กู รสู้ กึ ไดถ้ งึ ความมน่ั ใจ ความรกั
ความสขุ และจะทำ�ใหเ้ ขามีทักษะความ
สามารถทจี่ ะรบั และสง่ ความรสู้ กึ ดีๆ ให้
กบั คนอ่ืนๆ รอบตัวเขาต่อไปในอนาคต

19

ความสม่ำ�เสมอ

คงจะไม่ดีแน่ ถ้าเด็กรู้สึกว่าพ่อแม่เด๋ียวดีเด๋ียวร้าย เด๋ียวมีเวลาเด๋ียวไม่มีเวลา
ถ้าเป็นแบบน้ันเด็กจะเกิดความรู้สึกสับสน ไม่มั่นคง ถ้าจะให้ดี คุณพ่อคุณแม่อาจจะ
กำ�หนดช่วงเวลาในแต่ละวันให้เป็นเวลาคุณภาพของครอบครัว จะเป็นเวลาช่วงไหน
ก็ได้ ไมต่ อ้ งมาก แต่ตอ้ งทำ�ให้ได้และสม�่ำ เสมอ เช่น ก�ำ หนดชว่ งเวลาระหว่างตัง้ แตร่ ับ
ประทานอาหารเยน็ จนถงึ เวลาเขา้ นอน ใหเ้ ปน็ เวลาทจี่ ะอยกู่ บั ลกู เลน่ กบั ลกู สนใจและ
รับฟังลูกให้มากท่ีสุด
การก�ำ หนดหรอื หาชว่ งเวลาของแตล่ ะครอบครวั ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งเหมอื นกนั เวลา
ไหนกไ็ ด้ ขอเพยี งใหเ้ ปน็ เวลาทที่ กุ คนในครอบครวั ไดใ้ ชเ้ วลาดว้ ยกนั อยา่ งมคี วามสขุ กพ็ อ

20

Ideas & Tips

ขวดโหลความคิด

ทำ�งานก็เน้ือย...เหน่ือยแล้ว ยังต้องมาคิดกิจกรรมเพ่ือเล่นกับลูกอีก
บางทีความคิดก็ตีบตันเหมือนกันใช่ไหมล่ะคะคุณพ่อคุณแม่ ลองหาตัวช่วยค่ะ
ชวนลกู มาประดิษฐ์ขวดโหลความคิด หาไอเดยี ดีๆ ไวใ้ ชท้ �ำ กิจกรรมรว่ มกัน

วิธีก็แสนง่ายค่ะ เลือกวันที่สมองปลอดโปร่ง
อารมณ์ดี พ่อแม่ลูกล้อมวงช่วยกันน่ังคิดไอเดียเจ๋ง ๆ
กิจกรรมท่ีเราควรจะทำ�กันในยามว่าง คิดได้แล้วอย่า
เกบ็ ไว้ค่ะ เขยี นลงในกระดาษแผน่ เลก็ ๆ 1 แผ่นต่อ 1
ไอเดีย เขียนได้เท่าไร ย่ิงมากย่ิงดีค่ะ จากนั้นพับหรือ
มว้ นกระดาษแลว้ รวบรวมเก็บไว้ในขวดโหลแกว้
คร้ังไหนที่นึกไม่ออกว่าจะเล่นอะไรกับลูกดี
เปิดโหลแก้วแลว้ ใหล้ กู หรือตัวคณุ เอง เสีย่ งดวงหยบิ
ข้ึนมาสกั ใบ รับรองสนุกแนน่ อนคะ่ !

21

2Checklist

ไผมูส้ ่ลงู วืมยั

22

ครอบครวั ไทยเปน็ ครอบครวั ขยายมาตง้ั แตใ่ นอดตี ใน 1 ครอบครวั นอกจากจะ
มพี อ่ แม่แล้ว ยังอาจมีญาตพิ ีน่ อ้ ง มคี ุณปคู่ ุณยา่ หรอื คณุ ตาคุณยายอาศยั อยู่ดว้ ย จน
มาถงึ ยคุ ปจั จบุ นั เรม่ิ มกี ารเปลย่ี นแปลง สงั คมไทยกลายเปน็ ครอบครวั เดย่ี วมากยง่ิ ขนึ้
บางครงั้ สายสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผสู้ งู อายกุ บั เดก็ ๆ อาจจะคอ่ ยๆ เลอื นหายไปตามกาลเวลา
ในหลายๆ ครงั้ เราอาจจะมองวา่ ผสู้ งู อายกุ บั เดก็ มวี ยั ทห่ี า่ งกนั มาก นา่ จะเขา้ กนั
ได้ยาก แต่จรงิ ๆ แลว้ หากคณุ พ่อคณุ แม่เปิดใจสักนิดหนึ่ง ลองใหล้ ูกน้อยของเราได้มี
โอกาสผกู พนั ใกลช้ ดิ กบั คณุ ปคู่ ณุ ยา่ คณุ ตาคณุ ยายบา้ ง กจ็ ะท�ำ ใหท้ ง้ั สองวยั ไดป้ ระโยชน์
เดก็ ๆ ได้รบั ความรักความอบอุน่ ไดร้ บั ประสบการณด์ ี ๆ จากผูส้ ูงวัย ฝา่ ยผ้สู ูงวยั กไ็ ด้
พลังใจ พลังชวี ติ จากเด็กตัวน้อยเตมิ เต็มให้ช่มุ ช่นื หวั ใจ มกี ำ�ลงั ใจ มีความสขุ ชนื่ บาน

23

พอ่ แม่คอื สอ่ื เช่อื มโยง

คณุ พ่อคณุ แม่จะเป็นสือ่ ท่ีดีทส่ี ุดทจ่ี ะเช่อื มโยงเด็ก ๆ ให้รู้สึกใกลช้ ดิ กบั คณุ ปู่
คุณยา่ คุณตาคุณยาย การแสดงออกท่คี ุณพ่อคณุ แมม่ ีตอ่ ผู้สูงวัย จะเป็นตวั อยา่ งท่ี
ดใี หเ้ ดก็ เขา้ ใจถงึ ความรกั ความผกู พนั ทถ่ี กู สง่ ตอ่ มาในแตล่ ะชว่ งวยั ของครอบครวั ได้
อยา่ งเปน็ ธรรมชาติ เดก็ จะรบั รไู้ ดว้ า่ คณุ ปคู่ ณุ ยา่ คณุ ตาคณุ ยายคอื คนทพี่ อ่ แมร่ กั และ
คณุ ปคู่ ณุ ยา่ คณุ ตาคณุ ยายกร็ กั พอ่ กบั แมเ่ ชน่ กนั สายสมั พนั ธน์ จี้ ะท�ำ ใหเ้ ดก็ สามารถ
ปรับตวั ให้คุน้ เคยและเข้ากบั ผู้สูงวัยได้อย่างรวดเร็ว
ทกั ษะการปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผสู้ งู วยั เชน่ นี้ ไมไ่ ดจ้ �ำ กดั เฉพาะผสู้ งู วยั ในครอบครวั
เท่านนั้ ในอนาคตเมือ่ เดก็ ๆ เจอผสู้ งู วยั คนอื่น ๆ ในสังคม ไมว่ ่าจะในครอบครัวของ
เพอื่ น ครบู าอาจารย์ หรอื ในชมุ ชน เขากจ็ ะเรยี นรทู้ จ่ี ะปฏบิ ตั ติ วั อยา่ งเคารพและเหมาะ
สมกับผสู้ งู วยั เหลา่ นนั้ เช่นเดยี วกนั

24

เริม่ ต้นที่เรอ่ื งเลา่

ถา้ ครอบครวั ของเราอยหู่ า่ งไกลจากผสู้ งู อายุ เชน่ อยกู่ นั คนละจงั หวดั หรอื
คนละประเทศ ไม่ค่อยมีโอกาสได้พบกัน คุณพ่อคุณแม่อาจสร้างความรู้สึกคุ้นเคย
ใกล้ชิดระหว่างเดก็ ๆ และผสู้ ูงวยั ได้ดว้ ยภาพถ่ายและเรื่องเลา่
เลือกช่วงเวลาดี ๆ เวลาคุณภาพของครอบครัวท่ีพร้อมจะพูดคุยกันอย่าง
สบาย ๆ หยิบภาพถ่ายเก่า ๆ อาจจะสมยั คุณพ่อคุณแมย่ งั เดก็ ๆ มรี ูปคุณปูค่ ุณย่า
คุณตาคุณยายสมัยยังสาว ๆ หรือภาพวันแห่งความสำ�เร็จของคุณพ่อคุณแม่หรือ
ผ้สู ูงวัยมาเลา่ ใหเ้ ด็กๆ ฟงั
เด็กปฐมวัยชอบฟังเร่ืองเล่า ชอบฟังเหตุการณ์ความสนุก ชอบฟังความ
ส�ำ เร็จ เขาจะตัง้ ใจฟัง รูส้ กึ แปลกใจ สนกุ ตนื่ เตน้ ไปกบั เร่อื งเล่า ภาพถ่ายและเรอ่ื ง
เล่าเก่า ๆ น่แี หละคะ่ ทีจ่ ะเปน็ ส่ือดี สอ่ื สร้างสรรค์ทจ่ี ะเชอ่ื มโยงลูกของเราใหร้ ้สู ึกคุน้
เคยกบั ผู้สูงวยั ไดอ้ ย่างประหลาด ถึงแมว้ ่าจะยงั ไม่เคยเจอหนา้ กันกต็ าม
และท่ีสำ�คัญ...เชื่อว่าการได้น่ังรำ�ลึกความหลังยามเยาว์วัยท่ีแสนสุขแบบ
นี้...ก็เป็นความสุขของคุณพ่อคุณแม่ ช่วยเติมกำ�ลังใจให้รู้สึกชุ่มช่ืนขึ้นด้วยใช่ไหม
ล่ะคะ

2255

สรา้ งกจิ กรรมสัมพนั ธ์

การทใี่ ครสกั คนจะท�ำ ความรจู้ กั ผกู พนั กนั ไดน้ น้ั บางทตี อ้ งอาศยั การท�ำ กจิ กรรม
เชื่อมความสัมพันธ์กันค่ะ ลองหาช่วงเวลาวันหยุดชวนคุณปู่คุณย่าคุณตาคุณยายมา
ใชเ้ วลาร่วมกันกบั หลาน ๆ ค่ะ ไมต่ ้องกงั วลวา่ จะตอ้ งเดนิ ทางไปไหนไกล ใชพ้ นื้ ที่ในบ้าน
เรานีแ่ หละคะ่ ให้เป็นประโยชน์ เปดิ พืน้ ทีบ่ ้านให้เปน็ พื้นทส่ี ร้างสรรค์เช่อื มความสัมพันธ์
ระหว่างสองวัยใหแ้ นบชดิ กัน
กิจกรรมอาจเป็นได้ต้ังแต่การออกไปจ่ายตลาด ช่วยกันทำ�อาหาร ทำ�ขนม รับ
ประทานอาหารด้วยกัน นั่งคุยกันเรื่องเก่า ๆ ทำ�งานศิลปะ ประดิษฐ์ของเล่น เล่นกีฬา
เบา ๆ เล่นเกมงา่ ย ๆ ทายปัญหา เลน่ บอร์ดเกม หรือจะถา่ ยภาพเซลฟค่ี รอบครัวเก๋ ๆ ก็
ยงั ได้คะ่ ขอใหเ้ ป็นกจิ กรรมท่ที ุกคนในครอบครัวไดม้ ีส่วนร่วมทำ�ดว้ ยกัน สนกุ ด้วยกัน มี
ความสขุ ดว้ ยกนั ไมม่ ใี ครถกู ทอดทง้ิ ไวค้ นเดยี ว ทุกกจิ กรรมเปน็ เรอ่ื งดีท้ังนั้นค่ะ

26

Ideas & Tips

เรยี นรภู้ มู ปิ ัญญาไทย

ลูกเราจะเติบโตขึ้นมาอย่างมีคุณภาพได้อย่างไร หากเขาไม่เคยมีโอกาสได้เรียน
รู้ภูมิปัญญาของท้องถ่ิน ซึมซับวิถีความเป็นไทยที่บรรพบุรุษส่ังสมมาแต่ครั้งเก่าก่อน
แล้วใครหนอท่จี ะสามารถถ่ายทอดภมู ิปญั ญา รากเหงา้ ของความเปน็ ไทยไดด้ ีเท่ากับผู้
เฒ่าผู้แก่ทเี่ คยใชช้ วี ติ เรียนรู้ และสงั่ สมความรู้เหล่านั้นมาดว้ ยตวั เอง
ขนมไทย เคร่ืองดมื่ สมนุ ไพร บุหงาร�ำ ไป ดอกไมแ้ ห้ง ตน้ ไมไ้ ทย ตำ�รบั ยาโบราณ
การละเล่นเด็กไทย ของเล่นโบราณ เพลงพ้ืนบ้าน ฯลฯ ส่ิงเหล่านี้คือสิ่งลำ้�ค่าท่ีหากเรา
คนรนุ่ ใหม่ไม่ช่วยกนั สบื สานคงตกหล่นสูญหายไปอย่างนา่ เสียดาย
ลองหาเวลาวา่ ง พาลูก ๆ ตวั น้อยของเรา ไปเรียนรู้ภูมิปญั ญาไทยจากผู้สงู อายุ
ทงั้ ทอ่ี ยใู่ นครอบครวั หรอื ผสู้ งู อายทุ อี่ ยใู่ นชมุ ชน ทา่ นทง้ั หลายลว้ นเปน็ ‘ปราชญท์ อ้ งถนิ่ ’
ทพี่ รอ้ มจะสอนและถา่ ยทอดความรลู้ �ำ้ คา่ ทที่ า่ นมี ใหก้ บั เดก็ รนุ่ ใหมอ่ ยา่ งยนิ ดแี ละเตม็ ใจ
เป็นอยา่ งยิ่งแน่นอน

27

ชวนเดก็ ๆ ออกไปเรียนรคู้ วามเป็นไทย
เสริมสรา้ งภูมิดี อนุรักษ์ภูมิปญั ญา
ผ้สู งู อายุชน่ื ใจ เด็ก ๆ กห็ ัวใจชน่ื บาน

28

3Checklist

ไปโรงเรียน

คร้งั แรก

29

จะมีอะไรท่ีจะต่ืนเต้นระทึกใจในชีวิตของเด็กปฐมวัยและ
คุณพ่อคุณแม่ เท่ากับการไปโรงเรียนวันแรกของลูกเป็นไม่มีค่ะ
สารพันค�ำ ถามจะผดุ ขึ้นมาในหวั สมองคุณพ่อคณุ แม่

- ลูกเราจะรอ้ งไหไ้ หม?
- ลูกเราจะอยไู่ ดไ้ หม?
- ลูกเราจะทำ�ไดเ้ หมอื นเพือ่ นไหม?
- ลกู เราจะชว่ ยเหลอื ตวั เองไดห้ รอื เปลา่ ?

30

ร้องไหเ้ ป็นเรือ่ งธรรมชาติ

ก่อนอ่ืนต้องเข้าใจว่า สถานการณ์การต้องไปโรงเรียนวันแรกของเด็ก ๆ ก็
เปรยี บไดก้ บั การตอ้ งจากพลดั พรากสง่ิ ทตี่ วั เองรกั และคนุ้ เคยอยา่ งคณุ พอ่ คณุ แมแ่ ละ
ครอบครวั ไปในทใ่ี หม่ท่ีเด็ก ๆ ยังไม่เคยรจู้ กั เลยว่าเป็นอย่างไร ลองคดิ ดูว่าตัวเราเอง
จะรู้สกึ อยา่ งไรถา้ อยใู่ นสถานการณน์ ี้ เดก็ ๆ ก็รู้สึกแบบน้ันเชน่ เดียวกนั และดว้ ยความ
เยาว์วยั ไร้ประสบการณ์ ความรู้สึกจงึ อาจรุนแรงกวา่ น้ันมาก
การร้องไห้ จึงเป็นกลไกธรรมชาติท่ีเด็กใช้แสดงออกถึงความรู้สึกที่มีต่อการ
พลัดพราก การสูญเสยี ของรัก ของทคี่ ุน้ เคยในชีวติ ในเวลาท่ีเดก็ ๆ ยงั ไม่พร้อมทจ่ี ะรับ
ความรสู้ กึ แบบนไ้ี ด้ (บางแนวคิดจงึ เสนอวา่ เด็กๆ เหมาะทจี่ ะเข้าโรงเรียนเม่อื อายุ 7 ปี
ข้ึนไป) ถ้าคุณพ่อคุณแม่เข้าใจแบบนี้แล้ว ก็จะรู้สึกวิตกกังวลน้อยลง ไม่โทษว่ากล่าว
ลกู ไม่เห็นวา่ ลกู ตัวเองเป็นเดก็ เจา้ ปญั หา และหนั มาช่วยเตรียมพรอ้ มเดก็ ๆ ใหก้ ้าวสู่
ร้ัวโรงเรียนแรกในชีวติ ไดด้ ีข้นึ

31

อยากให้ลูกสตรอง คณุ พ่อคณุ แม่
ตอ้ งเริ่มกอ่ น

ถ้าตัดสินใจแล้วว่าจะส่งลูกน้อยของเราไปเข้าร้ัวโรงเรียน อยากให้ลูกเข้มแข็ง
ปรบั ตวั ได้ คณุ พอ่ คณุ แมต่ อ้ งสตรองและมน่ั คงในการตดั สนิ ใจนนั้ ดว้ ยนะคะ เพราะเดก็
แตล่ ะคนมกี ระบวนการปรบั ตวั เรว็ ชา้ แตกตา่ งกนั บางคนอาจจะไมร่ อ้ งเลย บางคนอาจ
จะรอ้ งเปน็ วนั หรอื บางคนกเ็ ปน็ สปั ดาห์ ไมม่ อี ะไรผดิ ปกตทิ ง้ั นน้ั คะ่ ขอเพยี งคณุ พอ่ คณุ
แมเ่ ข้าใจ ท�ำ ทกุ อยา่ งใหเ้ ป็นธรรมชาติ นง่ิ ม่ันคง กจ็ ะท�ำ ใหเ้ ด็กๆ ผ่านสถานการณน์ ี้ไป
ไดอ้ ยา่ งเรียบร้อย
ไม่ว่าลกู จะรอ้ งโยเย ออกฤทธ์เิ ดช แสดงทา่ ทางแบบไหน ขอใหค้ ณุ พ่อคุณแม่
นง่ิ และทำ�ทุกอยา่ งให้เป็นธรรมดา ไมต่ อ้ งเปรยี บเทยี บ ดวุ ่า ท�ำ โทษ พาลกู ไปโรงเรียน
ตามปกติทุกวัน ทำ�ความเข้าใจและประสานความร่วมมือกับคุณครูที่โรงเรียนให้ดีถึง
สถานการณ์ท่เี กดิ ขึ้น เด็กจะคอ่ ยๆ เรียนรูแ้ ละปรบั ตวั ได้ในที่สดุ ค่ะ

32

โรงเรียนคือบา้ นหลังใหม่

อีกวธิ ีหน่งึ ที่จะช่วยเดก็ ๆ ได้ คือการทีค่ ณุ พอ่ คุณแม่ต้องเตรียมความพร้อม
ใหก้ บั เด็ก เตรียมทัศนคตทิ ี่ดีและความคุ้นเคยในด้านบวกใหก้ บั เดก็ ๆ พยายามท�ำ ให้
เดก็ เขา้ ใจวา่ โรงเรยี นเปน็ อกี สถานทห่ี นงึ่ เปน็ พน้ื ทด่ี ีๆ เปน็ บา้ นหลงั ทส่ี องทเี่ ดก็ ๆ จะ
ชอบ ทโี่ รงเรยี นมีคณุ ครู มเี พือ่ นๆ ท่ีเด็กๆ จะได้สนุกและเรียนรูอ้ ะไรอีกมากมาย
หากมโี อกาส กอ่ นจะถงึ วันทต่ี ้องไปโรงเรียนจริง ๆ เชน่ ในวันทไ่ี ปสมคั ร ไปดู
สถานท่ี ไปจ่ายสตางคค์ า่ เลา่ เรยี นฯลฯ อาจจะพาลูกเดินเล่นรอบๆ โรงเรยี น เปน็ การ
สร้างความคนุ้ เคยใหเ้ ด็กกอ่ นก็ย่งิ ดคี ่ะ

33

Ideas & Tips

รอแม่ทเี่ ข็มนาฬิกา

เดก็ ๆ กลวั การพลดั พราก สญู เสยี เรยี กงา่ ยๆ กก็ ลวั ถกู ทง้ิ นน่ั เองคะ่ คณุ พอ่ คณุ
แม่ต้องสรา้ งความม่ันใจใหก้ ับลกู ในเรอื่ งน้ี
นพ.ประเสรฐิ ผลติ ผลการพมิ พ์ จติ แพทย์ ได้แนะน�ำ เคลด็ ลบั วา่ เด็ก ๆ ยังไมร่ ู้
จกั เวลา แต่เด็กๆ ผูกพนั กบั แม่ ให้ลองผนวกสองอยา่ งน้เี ข้าด้วยกัน โดยใชเ้ ข็มนาฬิกา
เปน็ สอื่ คะ่ ชที้ เี่ ขม็ นาฬกิ าบอกเดก็ เลยคะ่ วา่ พอเขม็ นาฬกิ าชมี้ าทเ่ี ลขนี้ๆ คณุ แมจ่ ะมารบั
วิธนี จี้ ะเหมอื นกับการย้ายสญั ลกั ษณ์ของคณุ แม่ไปไว้ท่ีเขม็ นาฬิกา เดก็ จะจอ้ งมองเข็ม
นาฬิกาเหมือนมองหาแม่ เฝ้ารอจนเขม็ นาฬกิ ามาถึงตรงที่บอก แลว้ แม่จะมารบั เขา
ส�ำ คญั ที่สดุ คือ คุณพ่อคุณแม่ต้องตรงเวลานะคะ ถงึ เวลานั้นตอ้ งมาจรงิ ๆ ถา้
ทำ�ได้แบบน้ีจะทำ�ให้เดก็ เชื่อและมัน่ ใจได้ว่าเขาจะไมถ่ ูกทง้ิ จริง ๆ ค่ะ

3344

4Checklist

เคารพกฎและกติกา

35

พกั หลัง ๆ นี้เรามักไดย้ ินเร่ืองราว วรี กรรม หรอื ความไมค่ ่อยนา่ รักของเดก็ ๆ ที่
เกดิ ขนึ้ ในทส่ี าธารณะอยบู่ อ่ ยครง้ั จนเกดิ วลี ‘ลกู คณุ ไมไ่ ดน้ า่ รกั ส�ำ หรบั ทกุ คน’ ขน้ึ ในโลก
ออนไลน์ มีคนเขา้ ไปแสดงความคิดเหน็ ทั้งคิดเหมอื นและคดิ ต่างกนั เยอะแยะมากมาย
เร่ืองน้ีเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับการปรับตัวของเด็กในการเข้าสังคมโดยตรง ตัว
เดก็ ๆ เองดว้ ยประสบการณท์ น่ี อ้ ยนกั เขายงั ไมค่ อ่ ยเขา้ ใจหรอกคะ่ วา่ ควรจะมกี ารปฏบิ ตั ิ
ตัวในสังคมให้ถูกต้องเหมาะสมอย่างไร เรื่องน้ีคุณพ่อคุณแม่และผู้ใหญ่แวดล้อมต้อง
ช่วยเตรียมใหเ้ ด็กๆ ตัง้ แตใ่ นช่วงปฐมวยั
สื่อที่ง่ายและใกล้ตัวเด็กที่สุดก็คือ การฝึกฝนเคารพกฎกติกาผ่านการใช้ชีวิต
ประจ�ำ วนั ในพน้ื ที่ของครอบครัวหรอื ในโรงเรยี นนัน่ แหละคะ่

36

ทำ�ความเขา้ ใจตรงกันกอ่ นนะคะคณุ พ่อคุณแมว่ า่ ‘กฎและกติกา’ มองในอกี
ดา้ นน้นั มคี วามหมายถงึ ‘ส่ิงควรปฏบิ ัติ’ ดว้ ย ไมไ่ ดม้ ีความหมายเพยี งแค่ ‘ข้อห้าม’

เพียงอย่างเดียว
การเรยี นรกู้ ฎกตกิ าส�ำ หรบั เดก็ เลก็ คณุ พอ่ คณุ แมต่ อ้ งใจเยน็ ตอ้ งใหเ้ วลา อยา่
ด่วนตัดสนิ เดก็ เวลาท่เี ดก็ ท�ำ ผิดกฎเกณฑต์ ่าง ๆ ควรให้ก�ำ ลงั ใจ และหนุนเสรมิ เด็กใน
ดา้ นท่ีเขาควรท�ำ ควรปฏิบตั คิ ่ะ

37

เรยี นรู้กฎกติกาตง้ั แตใ่ นบา้ น

ก่อนที่เด็กจะออกไปเรียนรู้และเคารพกฎกติกาของ
สังคมนอกบ้าน การเริ่มให้เด็กเรียนรู้และเคารพกฎกติกา
ภายในครอบครัวถือเปน็ จดุ เริ่มตน้ ท่ดี ีค่ะ เด็กจะเรียนรไู้ ดด้ ีในสิ่ง
แวดลอ้ มทมี่ ขี อบเขตชดั เจนวา่ ท�ำ อะไรไดบ้ า้ ง มหี ลกั ทคี่ วรค�ำ นงึ
เล็กน้อยในการก�ำ หนดกฎกตกิ าของบา้ น น่นั คือ

ตง้ั กฎกติกาในส่ิงที่ควรทำ�
ไม่ใช่

ต้ังกฎกตกิ าในสง่ิ ทเ่ี ป็นขอ้ ห้าม


กฎกติกาในบ้านท่ีดีต้อง
มขี อบเขตชดั เจน ไมย่ ากมากจนเกินไป
ในเดก็ โตควรเปดิ พื้นที่ใหเ้ ด็กมสี ่วนรว่ มใน

การกำ�หนดกฎกตกิ า

38

วยั ก่อนเข้าแกง๊

ถ้าให้นิยามเดก็ ปฐมวยั ในการเขา้ สงั คมกบั เพ่อื น อาจจะเรยี กได้ว่าวัยน้ีเปน็
วัยกอ่ นเขา้ แกง๊ กไ็ ด้คะ่ เด็กจะยังมคี วามกลวั ๆ กล้าๆ ตามพฒั นาการของวัย ช่วงวัย
3 ปี เดก็ จะเรมิ่ เบอ่ื ทจ่ี ะเล่นกบั ผูใ้ หญ่ แต่กย็ งั เลน่ กบั เดก็ คนอืน่ ไมค่ ่อยเปน็
เดก็ จะเริ่มจากแอบมองเดก็ คนอน่ื ก่อน แล้วค่อย ๆ พาตัวเองไปใกล้ ๆ (แต่
ยงั เลน่ คนเดียวอยู)่ จนในท่สี ุดเด็กจะคอ่ ย ๆ ปรบั ตัวเล่นกับคนอื่นได้ ซึ่งเมอ่ื เด็กได้
เข้าไปอย่ใู นกล่มุ เพอื่ นๆ ได้เมอื่ ไร เขาจะรสู้ ึกมีความสุขและสนกุ สุดๆ ไปเลยคะ่
ชว่ งวยั นค้ี ณุ พอ่ คณุ แมแ่ ละผใู้ หญท่ อ่ี ยแู่ วดลอ้ มเดก็ สามารถชว่ ยเดก็ ได้ ดว้ ย
การพยายามสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ไดม้ โี อกาสพบปะกบั เพอ่ื นวยั เดยี วกนั สอน
หรอื นำ�เด็ก ๆ ให้รูจ้ ักการเล่นดว้ ยกัน สร้างกิจกรรมสนุก ๆ ใหเ้ ดก็ ๆ สามารถเขา้ มา
มสี ่วนรว่ มด้วยกันได้
เป็นอีก 1 จุดเร่มิ ตน้ ให้เด็กรู้จกั การปรบั ตวั อย่กู บั ผู้อ่นื รวมถงึ การเรมิ่ รจู้ กั
เคารพกฎกติกาของกลุ่มไดเ้ ปน็ อย่างดคี ่ะ

39

Ideas & Tips

‘เกม-กีฬา’
สื่อดีช่วยสอนกฎกตกิ า

เด็กปฐมวัยเรียนรู้จากการเล่นค่ะ อยากให้เด็กเรียนรู้กฎกติกา ใช้การ
เล่นเกมหรือการเลน่ กฬี าเป็นสื่อดีๆ ชว่ ยสอนเดก็ ได้คะ่
ระหวา่ งการเล่นเกมและกฬี าเดก็ ๆ จะได้อะไรบ้าง

- เรียนรู้กฎกตกิ าในการเลน่
- เขา้ ใจและปฏิบตั ิตามกฎกติกาของการเล่น
- เคารพและยอมรบั ผลของกฎกตกิ า
- มีนำ้�ใจนักกฬี า ร้แู พ้ รชู้ นะ รอู้ ภัย
- เรียนรู้ความล้มเหลวและการกา้ วขา้ มผ่าน

อปุ สรรคดว้ ยตนเอง

4400

5Checklist

โกรธได้

กห็ ายได้

41

การแสดงอารมณโ์ กรธ นับเปน็ อารมณ์พน้ื ฐานท่ีเกดิ ขนึ้ บ่อยในเด็กปฐมวัย
เดก็ จะโกรธงา่ ยตามพฒั นาการของวยั แตถ่ งึ แมจ้ ะเปน็ เรอ่ื งธรรมชาติ คณุ พอ่ คณุ แม่
ก็ควรช่วยดูแลและช่วยเด็ก ให้รู้จักการควบคุมและผ่อนคลายอารมณ์โกรธ เพราะ
หากสะสมไว้นานๆ อาจบม่ เพาะให้เกดิ เป็นปญั หารนุ แรงในอนาคตได้

42

เขา้ ใจกันกอ่ น “อะไรทำ�ให้
เด็กเลก็ ๆ โกรธบา้ งนะ?”

สาเหตุของความโกรธในเดก็ ปฐมวัยแบ่งได้ 2 ช่วงวยั ค่ะ

วยั 0 - 2 ปี : โกรธงา่ ย แสดงอารมณ์โกรธเมือ่ ต้องการความรัก ความเอาใจ
ใส่ เมอื่ ไม่สามารถขยบั เขยือ้ นรา่ งกายไดต้ ามใจตอ้ งการ เมอื่ ถูกแยง่ ของเลน่ เดก็ อาจ
แสดงออกดว้ ยการร้องกรด๊ี ใช้ขาเตะถบี นอนกบั พ้ืน ทุบตี เตะสิ่งของ
วยั 3 - 5 ปี : การแสดงอารมณ์โกรธเปน็ อาวธุ ที่เด็กเอาไวใ้ ช้เวลาที่ตอ้ งการ
เอาชนะ สาเหตขุ องความโกรธมไี ดเ้ ยอะแยะมากมาย ทง้ั การถกู ขดั ใจเรอ่ื งของเลน่ การ
กิน การแต่งตัว หรอื การขัดใจกบั เพอ่ื น ๆ กบั น้อง ๆ ทเ่ี ล่นด้วย เด็กจะแสดงออกด้วย
การรอ้ งไห้ กรด๊ี กระทบื เทา้ ตี บางคนเกรง็ ตวั หรอื ท�ำ ตวั ออ่ นปวกเปยี ก บางคนท�ำ รา้ ย
ตวั เองรอ้ งเจ็บปวดครวญครางก็มี

43

ใช้ความสงบ สยบความเคลือ่ นไหว

เวลาเดก็ ๆ แสดงอาการโกรธ แยห่ นอ่ ยที่หลายคร้งั ผใู้ หญเ่ ราอดไมไ่ ด้ แสดง
อาการปรด๊ี หรอื เหวยี่ งวนี ตามเดก็ ไปดว้ ย คราวนพ้ี นื้ ทบ่ี า้ นอนั แสนสขุ ของเรา จงึ กลาย
สภาพเปน็ สมรภมู สิ งครามยอ่ ยๆ ไปเสยี อยา่ งนน้ั ซงึ่ สถานการณแ์ บบนไ้ี มด่ เี ลย เพราะ
เดก็ จะเรยี นรวู้ า่ การตอบโตอ้ ารมณร์ นุ แรง คอื การใชค้ วามรนุ แรงกวา่ ในการตอบกลบั
มีงานวิจัยพบว่า การตวาดด่าว่าเด็ก ก็ไม่ต่างกับการโบยตีเด็กจากภายนอกสักเท่าไร
เลย
ซ่ึงหากเด็กสะสมวิธีคิดหรือวิธีปฏิบัติแบบนี้ไปมาก ๆ เข้า เขาก็จะติดไปใช้ใน
การเขา้ สังคม เอาไปปฏบิ ัติกบั เพ่ือน กบั พน่ี อ้ ง กบั คนอื่น ๆ ทเี่ ขาจะเจอในอนาคต แค่
คิดก็นา่ กลวั แล้วใชไ่ หมละ่ คะ
เพราะฉะนน้ั ครง้ั หนา้ เมอ่ื เจอสถานการณท์ เี่ ปน็ ปญั หา เดก็ แสดงอาการโกรธ
เหว่ียงวีน โวยวาย คุณพ่อคุณแม่ลองหายใจลกึ ๆ ใช้ความสงบ สยบความเคลือ่ นไหว
ดคู ะ่

44

เมือ่ เกิดสถานการณท์ เ่ี ปน็ ปญั หา
1. ขอให้คุณพ่อคุณแม่หยุดกิจกรรมที่เป็น
ปัญหาน้ันก่อน เช่น การแย่งของเล่นจนทะเลาะกัน
ใหค้ ณุ พอ่ คณุ แมห่ ยดุ และอธบิ ายใหเ้ ดก็ ฟงั “แมต่ อ้ ง
เกบ็ ของเล่นนกี้ อ่ น เพราะลูกไม่ยอมแบ่งกนั เล่น”
2. จัดการปญั หาโดยเร็ว บอกสง่ิ ท่ีต้องการ
ให้ชดั เจน เช่น เมอ่ื พโี่ กรธผลกั นอ้ ง แมต่ ้องรีบเขา้ ไป
ดึงความสนใจ แล้วบอกส่ิงที่ต้องการ เช่น ให้หยุด
ผลักนอ้ ง ถา้ เด็กท�ำ ตาม ใหก้ ล่าวชนื่ ชมเด็กดว้ ย
3. ถ้าเด็กยังมีพฤติกรรมเดิมซ้ำ�ต่อ ให้
บอกเง่ือนไข เช่น “ถ้ายังผลักน้องอยู่ จะต้องเข้า
มุมสงบ 5 นาที”
4. ช่วงท่ีเด็กเข้ามุมสงบ พ่อแม่ต้องสงบ
ด้วยจริง ๆ ขอให้เปน็ เวลาสงบแลว้ ลดความสนใจ
ในตวั เด็กลง
5. เมื่อครบกำ�หนด พ่อแม่ไม่ควรพรำ่�
บน่ ถงึ ปญั หาเดมิ ตอ่ ควรหากจิ กรรมใหมใ่ หเ้ ดก็ ท�ำ
เสีย แล้วถา้ เด็กท�ำ ไดด้ ี อย่าลืมช่ืนชมและใหก้ ำ�ลัง
ใจเดก็ ดว้ ยค่ะ

45

Ideas & Tips

นิทานชว่ ยปรับพฤติกรรมได้

มนี ทิ านหลายเรอ่ื งคะ่ ทค่ี ณุ พอ่ คณุ แมส่ ามารถใชเ้ ปน็ สอ่ื ดี สอื่ สรา้ งสรรคใ์ นการ
สอนลกู ๆ เรอ่ื งของการไมใ่ ชอ้ ารมณโ์ กรธหรอื ความรนุ แรงในการแกไ้ ขปญั หา ตวั อยา่ ง
นิทานกเ็ ชน่ เรอ่ื ง มอื ไมไ่ ด้มีไว้ตี ขาไม่ไดม้ ีไว้เตะ ฟนั ไม่ไดม้ ีไวก้ ดั
นิทานแตล่ ะเร่อื งจะสอนเด็ก ๆ วา่ ทั้งมือ ขา และฟนั เปน็ อวยั วะทีม่ ีประโยชน์
ใช้ท�ำ ประโยชน์ในเชงิ บวกได้มากมาย ไม่ได้มไี ว้ทำ�รา้ ยท�ำ ลายกนั
สุนทรียะจากภาพสวยๆ เรอื่ งราวสนกุ ๆ ในหนังสอื นิทาน จะชว่ ยเปดิ หนา้ ตา่ ง
แห่งโอกาสให้เด็ก ๆ ซึมซับและเรียนรู้สิ่งที่ถูกท่ีผิด การไม่ใช้ความรุนแรงกับผู้อื่น
เป็นการปลูกฝังนิสัยท่ีดีและพฤติกรรมท่ีเหมาะสมในการเข้าสู่สังคมให้เด็กต่อไปใน
อนาคตค่ะ

46

6Checklist

เด็กดี

ไมพ่ ูดปด

47

ใคร ๆ ก็ไม่ชอบคนพูดโกหก พูดปด พูดไม่
จรงิ ใชไ่ หมล่ะคะ เพราะฉะนั้น ถา้ เราอยากจะเตรยี ม
ลูก ๆ ของเราให้เป็นพลเมืองท่ีดีมีคุณค่าในสังคม
คุณสมบัติหน่ึงท่ีไม่ควรมองข้ามคือเร่ืองของความ
ซ่ือสัตย์สุจริต โดยการไม่พูดปด หรือพูดแต่ความ
จรงิ นนั่ เองค่ะ

48

เรามักได้ยินเสมอวา่ เดก็ ๆ ไมพ่ ูดโกหก เพราะฉะน้ันการท่ี
เดก็ สกั คนหนง่ึ จะพดู โกหกหรอื พดู ปดนน้ั จะตอ้ งมสี าเหตุ ซง่ึ นแี่ หละ
คะ่ คอื สง่ิ ทค่ี ณุ พอ่ คณุ แมค่ วรใหค้ วามส�ำ คญั การพดู โกหกเปน็ เพยี ง
แคป่ ลายทาง เปน็ สัญญาณว่ามอี ะไรผิดปกติแล้วในความสัมพนั ธ์
ของครอบครวั ระหว่างคณุ กับลูก
ลองมาดกู นั คะ่ วา่ เวลาเดก็ ๆ เขาพดู ไมจ่ รงิ นน้ั เกดิ จากอะไร
ไดบ้ ้าง?

- เด็ก ๆ ตดิ อยู่ในโลกจินตนาการหรอื โลกแห่งความฝัน
- เด็ก ๆ พดู ปดเพราะไม่อยากท�ำ อะไรบางอย่าง
- เดก็ ๆ พดู ปดเพราะกลวั อะไรบางอย่าง
- เดก็ ๆ พูดปดเพราะอยากจะปกปอ้ งอะไรบางอย่าง

49


Click to View FlipBook Version